SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  51
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน<br />ข้อใดต่อไปนี้สรุปถูกต้องสำหรับการเคลื่อนที่อย่างอิสระภายใต้สนามโน้มถ่วงของโลก<br />1. พลังงานจลน์มีค่าคงที่<br />2. พลังงานศักย์มีค่าคงที่<br />3. ผลรวมของพลังงานจลน์และพลังงานศักย์มีค่าคงที่<br />4. ผลต่างของพลังงานจลน์และพลังงานศักย์มีค่าคงที่<br />มวล 2 ก้อนไม่เท่ากัน, ถูกปล่อยจากความสูง H เหนือพื้นดิน โดยมวล M1 ไถลลงตามพื้นเอียงทำมุม 30° กับแนวราบและไม่มีแรงเสียดทาน มวล M2 ไถลลงตามพื้นเอียงทำมุม 45° กับแนวราบไม่มีแรงเสียดทานเช่นกัน ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง<br />1. M1 จะถึงพื้นหลัง M2 และอัตราเร็วก่อนถึงพื้นของ M1 น้อยกว่าของ M2<br />2. M1 และ M2 จะถึงพื้นพร้อมกันด้วยอัตราเร็วเท่ากัน<br />3. M1 จะถึงพื้นหลัง M2 แต่อัตราเร็วของทั้งสองมวลก่อนถึงพื้นมีค่าเท่ากัน<br />4. ไม่มีข้อที่ถูกต้อง<br />ในการปล่อยวัตถุจากที่สูงลงมายังพื้นดิน ข้อใดสรุปได้ถูกต้อง<br />1. พลังงานศักย์โน้มถ่วงเพิ่มขึ้นแต่พลังงานจลน์ลดลง<br />2. พลังงานศักย์ ณ จุดต่ำสุดมีค้าเท่ากับพลังงานจลน์ ณ จุดสูงสุด<br />3. พลังงานศักย์โน้มถ่วงลดลงแต่พลังงานจลน์เพิ่มขึ้น<br />4. พลังงานศักย์โน้มถ่วงมากเป็น 2 เท่าของพลังงานจลน์ ณ จุดสูงสุด<br />ถ้านำลูกปืนเหล็กใส่เข้าไปในกระบอกปืนเด็กเล่น ซึ่งวางในแนวดิ่ง ปรากฏว่าสปริงภายในกระบอกปืนหดสั้นไปจากเดิมครึ่งหนึ่ง อยากทราบว่าพลังงานรวมของระบบซึ่งประกอบด้วยลูกปืนเหล็กและสปริงภายหลังจากสปริงหดตัวแล้วมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เมื่อแรงเสียดทานและมวลของสปริงน้อยมาก<br />1. ลดลงเนื่องจากลูกปืนเหล็กสูญเสียพลังงานศักย์<br />2. ลดลงเนื่องจากพลังงานรวมของระบบไม่คงที่<br />3. เท่าเดิมเนื่องจากสอดคล้องกับกฎอนุรักษ์พลังงาน<br />4. เพิ่มขึ้นมากกว่าเดิมเนื่องจากสปริงมีพลังงานศักย์เพิ่มขึ้น<br />ถ้า A เป็นระดับพื้นห้อง B อยู่สูงจากพื้นห้อง 4 เมตร C อยู่สูงจากพื้นห้อง 6 เมตร ชนิดานำวัตถุมวล 2 กิโลกรัม เดิมอยู่ที่ A ต่อมานำไปวางที่ B และ C ตามลำดับ (พลังงานศักย์โน้มถ่วงจะคิดเทียบกับระดับอ้างอิง) จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้<br />ก. ที่ระดับ A วัตถุมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์<br />ข. ที่ระดับ B วัตถุมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็น 80 จูล<br />ค. ที่ระดับ C วัตถุมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็น 120 จูล<br />ง. เมื่ออยู่ที่ระดับ C วัตถุมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงมากกว่าเมื่ออยู่ที่ระดับ B 40 จูล<br />ข้อใดถูกต้อง<br />1. ข้อ ก เท่านั้น2. ข้อ ข เท่านั้น3. ข้อ ค และ ง 4. ถูกทุกข้อ<br />การทำงานในข้อใดไม่สูญเสียพลังงาน<br />1. เครื่องกลมีประสิทธิภาพ 100%<br />2. เครื่องกลมีประสิทธิภาพ 80%<br />3. เครื่องกลมีประสิทธิภาพ 60%<br />4. เครื่องกลมีประสิทธิภาพน้อย ๆ <br />4000500456565เมื่อออกแรงยืดสปริง A และ B ปรากฏว่าความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับระยะยืดเป็นไปตามกราฟดังรูป สามารถวิเคราะห์ได้ว่า<br />1. สปริง A มีค่านิจมากกว่าสปริง B<br />2. สปริง A ยืดหดมากกว่าสปริง B เมื่อแรงกระทำเท่ากัน<br />3. เมื่อออกแรงกระทำเท่ากัน สปริง A มีพลังงานศักย์น้อยกว่าสปริง B<br />4. เมื่อสปริงยืดเท่ากัน สปริง A มีพลังงานศักย์มากกว่าสปริง B<br />มาสเตอร์อ้นออกแรงเพื่อทำกิจกรรมต่าง ๆ แรงของมาสเตอร์อ้นในข้อใดที่ทำให้เกิดงานตามความหมายของงานในทางฟิสิกส์<br />ก. ว่ายน้ำข้ามคลอง<br />ข. เปลี่ยนอิริยาบถจากนั่งพับเพียบแล้วลุกขึ้นยืนร้องเพลงดอกไม้กับหัวใจ<br />ค. ไต่เชือกลงจากหน้าผาอย่างช้า ๆ<br />ง. โหนตัวข้ามคลองด้วยเชือกเส้นเดียวที่วางตัวในแนวระดับ<br />ข้อใดถูก<br />1. ก และ ค2. ข และ ง3. ก, ข และ ค4. ถูกทั้ง ก, ข, ค และ ง<br />ข้อใดไม่ถูกต้อง<br />1. หน่วยของงานเป็นนิวตัน เมตร<br />2. ยกของจากโต๊ะวางไว้บนพื้นไม่เกิดงาน<br />3. แจกันตกจากโต๊ะถือว่าเกิดงาน<br />4. หิ้วถังน้ำมวล 20 กิโลกรัม เดินไปบนพื้นราบ ถือว่าไม่เกิดงานในการหิ้วถัง<br />กระโดดค้ำถ่อ มีการเปลี่ยนพลังงานใดบ้าง<br />1. พลังงานจลน์ พลังงานศักย์ยืดหยุ่น            พลังงานศักย์โน้มถ่วง           <br />2. พลังงานศักย์โน้มถ่วง              พลังงานศักย์ยืดหยุ่น<br />3. พลังงานจลน์              พลังงานศักย์ยืดหยุ่น<br />4. พลังงานศักย์ยืดหยุ่น            พลังงานจลน์<br />ข้อใดให้ความหมายของงานได้ถูกต้อง<br />1. เมื่อแรงลัพธ์ไม่เป็นศูนย์ มีงานเกิดขึ้นเสมอ<br />2. แรงคูณด้วยระยะทางที่ตั้งฉากกับแนวแรง<br />3. งานจะมีค่ามากที่สุด เมื่อแรงและการกระจัดมีทิศเดียวกัน<br />4. งานเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทิศเดียวกับแรง<br />สปริง A และ B มีค่านิจของสปริงไม่เท่ากัน ถ้าถูกกดด้วยแรงที่เท่ากันข้อความใดสรุปได้ถูกต้องที่สุด<br />1. สปริงที่มีค่านิจมากจะถูกใช้งานมากกว่า2. สปริงที่มีค่านิจน้อยจะถูกใช้งานมากกว่า<br />3. สปริงทั้งคู่จะถูกใช้งานเท่า ๆ กัน4. ไม่มีคำตอบในข้อ 1 – 3<br />นาย ก ออกแรงเพื่อทำกิจกรรมต่าง ๆ แรงของนาย ก ในข้อใดที่ทำให้เกิดงานตามความหมายของงานในทางฟิสิกส์<br />ก. ว่ายน้ำข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา<br />ข. เปลี่ยนอิริยาบถจากนั่งพับเพียบเป็นลุกขึ้นยืน<br />ค. ไต่เชือกลงจากหน้าผาอย่างช้า ๆ<br />ง. โหนตัวข้ามคลองด้วยเชือกเส้นเดียวที่วางตัวในแนวระดับ<br />ข้อที่ถูกคือ<br />1. ก, ค2. ข, ง3. ก, ข, ค4. ก, ข, ค, ง<br />3543300294640วัตถุมวล 1 กิโลกรัมวางไว้ดังรูป เมื่อปล่อยวัตถุตกลงมา จงหาอัตราเร็วของวัตถุขณะกระทบสปริงมีค่าเท่าใด<br />กำหนดให้ g = 10 เมตร/วินาที21. 18.0 เมตรต่อวินาที2. 9.0 เมตรต่อวินาที<br />3. 4.2 เมตรต่อวินาที4. 3.5 เมตรต่อวินาที<br />จากโจทย์ข้อที่ 14 ถ้าสปริงมีค่า k = 10,000 นิวตันต่อเมตร สปริงจะถูกกดลงไปเท่าใด<br />1. ถูกกดจนสุด2. 9.0 เซนติเมตร3. 4.2 เซนติเมตร4. 3.5 เซนติเมตร<br />ออกแรงในแนวระดับ F ขนาด 8 นิวตัน เพื่อทำให้วัตถุมวล 2 กิโลกรัม ที่กำลังเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงบนพื้นราบลื่นในแนวระดับ ทำให้วัตถุมีอัตราเร็วลดลงจากเดิม 4 เมตร/วินาที ในระยะกระจัด 5 เมตร จงคำนวณหาอัตราเร็วของวัตถุก่อนที่มีแรง F มากระทำ<br />1. 7 เมตร/วินาที2. 6 เมตร/วินาที3. 4 เมตร/วินาที4. 3 เมตร/วินาที<br />2400300589915จากรูปกำหนดให้วัตถุ A มีมวล 25 kg สปริงมีค่านิจเท่ากับ 1.2 X 103 N/m และสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานระหว่างพื้นกับวัตถุ A เป็น 0.3 ถ้าดึงวัตถุ W ให้เคลื่อนที่ลงด้วยความเร็วคงที่เป็นระยะทาง 50 cm จงหาขนาดของงานที่วัตถุ W ทำได้<br />1. 187.5J2. 150.0J<br />3. 142.5J4. 127.0J<br />วัตถุก้อนหนึ่งถูกคนค่อย ๆ วางบนสปริงซึ่งตั้งอยู่ในแนวดิ่ง เมื่ออยู่ในสภาพนิ่ง สปริงหดตัวไป 15 cm แต่ถ้าปล่อยให้วัตถุตกลงมาเองจากปลายบนสุดของสปริง สปริงจะถูกกดเป็นระยะทางมากที่สุดกี่เซนติเมตร<br />1. 18 cm2. 22 cm3. 25 cm4. 30 cm<br />ถ้าจะยิงลูกกระสุนมวล 30 กรัม ด้วยหนังสติ๊กให้ขึ้นไปได้สูง 15 เมตรในแนวดิ่ง จะต้องใช้แรงดึงก่อนปล่อยเท่าใด ถ้าการยืดของหนังสติ๊กเป็นแบบสปริง และยืดออก 20 เซนติเมตร<br />1. 30 นิวตัน2. 45 นิวตัน3. 60 นิวตัน4. 120 นิวตัน<br />ในขณะที่ฝนตกนั้น พื้นถนนระดับราบแห่งหนึ่ง มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานลดลงเป็นหนึ่งในสี่ของเมื่อถนนแห้ง จงหาว่าอัตราเร็วของรถขณะที่ขับฝ่าสายฝนจะเป็นเท่าใด ถ้าสามารถเบรกให้หยุดได้ในระยะทางเดียวกันเมื่อขับรถบนถนนแห้งด้วยอัตราเร็ว 50 เมตรต่อวินาที<br />1. 25 m/s2. 30 m/s3. 35 m/s4. 40 m/s<br />1943100752475วัตถุมวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่ลงจากพื้นเอียงด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที พื้นเอียงทำมุม 37 องศากับแนวราบสูง 3 เมตร มีสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน 0.2 วัตถุเคลื่อนที่ลงชนสปริงจนหยุดนิ่ง เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 4 เมตร สปริงหดเข้าไปกี่เมตร ถ้าสปริงมีค่านิจสปริง 1,081.60 นิวตันต่อเมตร<br />1. 0.26<br />2. 0.50<br />3. 0.60<br />4. 1.00<br />วัตถุมวล 2 กก. กดอัดสปริงที่มีค่า k = 400 N/m ทำให้สปริงยุบเป็นระยะ 0.18 เมตร เมื่อมวลถูกปล่อยจึงถูกสปริงดันให้ขึ้นไปตามพื้นเอียงลื่น ทำมุม 37° กับแนวราบ จงหา <br />ก. เมื่อมวลถูกผลักจากสปริงจะมีความเร็วสูงสุดเท่าไร<br />ข. มวล 2 กก. จะขึ้นไปได้สูงเท่าไรจากพื้นก่อนที่จะไถลกลับ<br />2933700156210<br />34290018415<br />2857500495300เชือกยาว 1 เมตร ปลายหนึ่งผูกมวล 4 กิโลกรัม ดึงมวลออกมาทางขวามือ จนกระทั่วเชือกทำมุม 60 กับแนวดิ่งแล้วปล่อย วัตถุเคลื่อนที่ผ่านจุดต่ำสุด แล้วขึ้นไปได้สูงสุดทางซ้ายมือเป็นระยะ 0.25 เมตร พลังงานที่สูญเสียไปเนื่องจากต้านเป็นกี่จูล<br />1. 102. 20<br />3. 304. 40<br />ทิ้งมวล 10 กิโลกรัม ณ ที่สูง 10 เมตร จากพื้นดิน หลังจากกระทบดินแล้ว มวลจมลงไปในดิน 10 เซนติเมตร จงหาแรงต้านเฉลี่ยของดิน<br />1. 1,000N2. 10,000N3.10,100N4.11,000N<br />ลูกปืนมวล 40g ถูกยิงออกจากลำกล้องปืนด้วยความเร็ว 300 m/s ทะลุแผ่นไม้หนา 4 cm ทำให้ความเร็วลูกปืนขณะหลุดออกจากแผ่นไม้อีกด้านหนึ่งเหลือเพียง 100 m/s ให้หาขนาดแรงเฉลี่ยที่แผ่นไม้กระทำต่อลูกปืน<br />1. 4 X 1022. 4 X 1043. 4 X 1054. 4 X 106<br />1714500661035สปริงตัวหนึ่งยาว 20 เซนติเมตร มีค่านิจของสปริง 20,000 นิวตัน/เมตร วางอยู่บนพื้นเอียง ดังรูป ถ้าเรากดกล่องมวล 100 กรัม อัดสปริงจนหดเป็นระยะ 5 เซนติเมตรแล้วปล่อย กล่องเคลื่อนที่ลงมาถึงปลายพื้นเอียง มีความเร็วเท่าใดขณะวัตถุอยู่ที่ปลายพื้นเอียง ถ้าพื้นเอียงยาว 40 เมตร 15 เซนติเมตร  1. 20 m/s<br />2. 30 m/s<br />3. 40 m/s<br />4. 50 m/s<br />นายขาวทำการทดลองการตกอิสระของวัตถุมวล m บนดาวดวงหนึ่งซึ่งมีอัตราเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงคงที่ a โดยปล่อยให้วัตถุลงมาจากที่สูงแล้ววัดพลังงานจลน์สุดท้าย (EK) กับเวลา (t) ในการตก ซึ่งสามารถเขียนกราฟระหว่าง EK กับ t2 ได้ดังรูป ค่าความชันของกราฟเป็นเท่าใด<br />685800109855<br />2628900457200วัตถุมวล 0.2 กิโลกรัมพลัดตกจากที่สูง 20 เมตร วัตถุก้อนนั้นจะกระทบพื้นด้วยอัตราเร็วเท่าใด ถ้าแรงต้านการเคลื่อนที่ของอากาศเป็นไปตามกราฟที่กำหนดให้ โดย S คือระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่<br />1. 8 m/s2. 10 m/s<br />3. 15 m/s 4. 20 m/s<br />กดวัตถุมวล 0.2 กิโลกรัม เข้าสัมผัสกับสปริงที่จัดไว้บนพื้นเอียงเกลี้ยง มุม 30 องศา โดยยึดอีกปลายข้างหนึ่งของสปริงไว้ ดังรูปเมื่อสปริงหดเข้าไป 0.1 เมตร แล้วปล่อย จงหาอัตราเร็วของวัตถุขณะที่เคลื่อนที่ไปตามพื้นเอียงได้ไกล 4 เมตร (กำหนดให้ค่านิจของสปริงเท่ากับ 100 นิวตันต่อเมตร)<br />2171700444501. 3√5 เมตร/วินาที<br />2. 4√5 เมตร/วินาที<br />3. 5√3 เมตร/วินาที<br />4. √85 เมตร/วินาที<br />3086100500380จากรูป เชือกและรอกเบามีแรง 50 นิวตัน ดึงปลายเชือกเพื่อให้มวล 10 กิโลกรัมเคลื่อนที่ไปตามพื้นเอียง ซึ่งมีสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานจลน์เป็น 0.5 จงหาความเร็วของมวลนี้ เมื่อเคลื่อนที่ไปตามพื้นเอียงได้ 2 เมตร<br />1. 4 เมตร/วินาที2. 6 เมตร/วินาที<br />3. 8 เมตร/วินาที4. 10 เมตร/วินาที<br />1828800521970วัตถุมวล 10 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที จากจุด A ไปตามรางเกลี้ยงเมื่อเคลื่อนที่มาถึงจุด B วัตถุมีความเร็วขนาดเท่าใดในหน่วยเมตร/วินาที<br />1. 11.4<br />2. 17.3<br />3. 17.6<br />4. 20.0<br />ในกรณีที่วัตถุตกลงมาจากที่สูง กราฟความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจลน์ของวัตถุ (Ek) และเวลา (t2) ควรจะเป็นไปตามกราฟรูปใด<br />45720063500<br />2857500457200ปล่อยวัตถุจากจุด A ซึ่งสูงจากพื้นดิน 10 เมตร ระหว่าง A และ B มี Loop (วงกลม) 2 วง รัศมี = 2 เมตร = 1 เมตร ถ้ากำหนดให้มวลก้อนนี้มีขนาด 2 kg พื้น AB ลื่น พื้น BC มี สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์เป็น 0.5 จงหาระยะ BC ที่วัตถุนี้จะไปหยุด<br />1. 20 เมตร <br />2. 15 เมตร <br />3. 10√2 เมตร<br />4. 5√3 เมตร<br />2514600364490ปล่อยมวลให้เคลื่อนที่จากเดิมอยู่นิ่งและสปริงยังไม่ยืดหรือหด จงหาว่ามวล 10 กิโลกรัม เข้าชนพื้นระดับด้วยความเร็วเท่าไร (พื้นเอียงลื่น)<br />1. 4.5 เมตร/วินาที<br />2. 6.4 เมตร/วินาที<br />3. 7.8 เมตร/วินาที<br />4. 9.0 เมตร/วินาที<br />2400300386080ปล่อยตุ้มน้ำหนักขนาดมวล m กิโลกรัม ผูกด้วยเชือกยาว L เมตร จากตำแหน่งที่เชือกทำมุม 53° กับแนวดิ่ง ให้หาว่าขณะที่เชือกทำมุม 37° กับแนวดิ่ง ดังรูป วัตถุจะมีความเร็วเท่าใด (m/s) <br />กำหนดให้ g = 10 m/s2<br />1. √2L<br />2. 2√L<br />3. √2mL<br />4. 2√mL<br />เด็กคนหนึ่งออกแรงผลักกล่องของเล่นมวล 3 kg ซึ่งวางนิ่งอยู่บนพื้นราบด้วยแรงขนาด 20 N ในทิศกดลง ทำมุม 37° กับแนวระดับ ให้เคลื่อนที่เป็นระยะทาง 10 m ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างพื้นกับกล่องเท่ากับ 0.1 อยากทราบว่างานของแรงลัพธ์ที่เกิดบนวัตถุเป็นกี่จูล<br />1. 2022. 118<br />3. 1064. 74<br />จากรูป สปริงทั้งสองเส้นมีความปกติ จากนั้นดันมวล 1 กิโลกรัม จาก A ไป B แล้วปล่อยให้เคลื่อนที่บนพื้นระดับราบลื่น มวลนี้จะมีความเร็วเท่าไรขณะผ่าน A<br />2400300-38101. 0.5 เมตร/วินาที<br />2. 0.6 เมตร/วินาที<br />3. 0.7 เมตร/วินาที<br />4. 0.8 เมตร/วินาที<br />2171700342900จากรูป วัตถุมวล 0.5 kg ถูกปล่อยให้ไถลลงมาตามรางโค้ง AB รัศมี 1 m ถ้าที่ตำแหน่งต่ำสุด วัตถุมีอัตราเร็ว 3 m/s จงหางานเนื่องจากแรงเสียดทานระหว่างวัตถุกับรางโค้ง<br />1. 1.75 J<br />2. 2.75 J<br />3. 3.75 J<br />4. 4.75 J<br />มวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่ในแนวราบบนพื้นที่มีแรงเสียดทาน 8 นิวตัน เข้าชนสปริงด้วยความเร็ว 2 เมตร/วินาที ทำให้สปริงหดตัว 10 เซนติเมตร ค่าคงตัวของสปริงเป็นเท่าใดในหน่วยนิวตัน/เมตร<br />1714500444501. 420 นิวตัน/เมตร<br />2. 540 นิวตัน/เมตร<br />3. 640 นิวตัน/เมตร<br />4. 840 นิวตัน/เมตร<br />19812001042035จากรูป เป็นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าพลังงานของลูกบอลที่ถูกเตะให้เคลื่อนที่ขึ้นไปแนวดิ่งและเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ โดย A เป็นค่าพลังงานศักย์โน้มถ่วง (Ep) ณ ตำแหน่งสูงสุดของลูกบอลและ ณ เวลา 1 วินาทีเดียวกันนี้ลูกบอลมีพลังงานศักย์โน้มถ่วง (Ep) เท่ากับ B อยากทราบว่า ณ เวลา 1 วินาที ลูกบอลมีพลังงานจลน์ (Ek) เท่ากับ C ซึ่งมีค่าตรงกับข้อใดต่อไปนี้<br />1. 3(A + B)/4<br />2. (A + B)/4<br />3. 4(A – B)/3<br />4. (A – B)<br />18288001002030เมื่อใช้แรงอัดสปริงตัวหนึ่งให้หดสั้นลงต้องใช้แรงเปลี่ยนแปลงตามกราฟที่กำหนดให้ ขณะที่สปริงถูกอัดเข้าไปเป็นระยะ 0.2 เมตร นำวัตถุมวล 2.0 kg มาติดไว้กับปลายสปริงนี้ แล้วปล่อยบนพื้นลื่นสปริงจะดันวัตถุออกมา จงหาอัตราเร็วของมวลนี้เมื่อสปริงเคลื่อนที่มาถึงตำแหน่ง 0.1 เมตร จากตำแหน่งถูกอัดสูงสุด<br />1. 2 m/s<br />2. √3 m/s<br />3. √2  m/s<br />4. 1.2 m/s<br />2895600685800ในการทดลองเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงานจลน์ได้ผลความสัมพันธ์ระหว่างงาน (F • s) กับความเร็วสุดท้ายของรถทดลองยกกำลังสอง (V2) ดังรูป ถ้า ณ เวลาหนึ่งความเร็วของรถทดลองเป็น 0.8 เมตรต่อวินาที รถทดลองจะมีพลังงานจลน์ ณ ขณะนั้นเป็นกี่จูล<br />1. 1.55 X 10-1 J<br />2. 1.75 X 10-1 J<br />3. 1.95 X 10-1 J<br />4. 2.13 X 10-1 J<br />เมื่อปล่อยให้วัตถุมวล 0.5 กิโลกรัม ดังรูปตกลงมาได้ 80 เซนติเมตร วัตถุนี้มีความเร็ว 30 เซนติเมตรต่อวินาที แรงเสียดทานที่พื้นราบกระทำต่อมวล 2.0 กิโลกรัม มีค่าเท่าใด<br />1524000-19051. 1.2 N<br />2. 2.3 N<br />3. 3.4 N<br />4. 3.9 N <br />2514600180340วัตถุมวล 2 kg ถูกปล่อยให้เคลื่อนที่ลงมา ขณะที่เส้นเชือกทำมุม 30 องศากับแนวระดับ ถ้าเส้นเชือกยาว 2 m จงหาความเร็วของวัตถุที่จุดต่ำสุด<br />1. 2.47 m/s<br />2. 3.47 m/s<br />3. 4.47 m/s<br />4. 5.47 m/s<br />เฮลิคอปเตอร์ลำหนึ่งขณะลอยนิ่งเหนือหมู่บ้านหนึ่งที่ถูกน้ำท่วมทางภาคเหนือ ได้ทิ้งถุงเสบียงอาหารลงไป พบว่าเมื่อพลังงานศักย์ลดลง 3,000 จูล ถุงเสบียงจะมีความเร็ว 20 เมตรต่อวินาที จงหาว่าถุงเสบียงมีมวลเท่าใด<br />1. 5 กิโลกรัม2. 10 กิโลกรัม3. 15 กิโลกรัม4. 20 กิโลกรัม<br />228600506730อนุภาคเคลื่อนที่จากจุดหยุดนิ่ง P ไปตามผิวเกลี้ยงของครึ่งทรงกลมรัศมี R อยากทราบว่าอัตราเร็วของอนุภาคขณะหลุดจากผิวครึ่งทรงกลมที่จุด Q (ดังรูป) เป็นดังข้อใด<br /> <br />1714500723900วัตถุมวล 1.0 kg ผูกติดกับสปริงซึ่งมีค่านิจเท่ากับ 50 N/m เมื่อออกแรงดึงวัตถุไปทางขวาจนสปริงยืดออกจากตำแหน่งสมดุลเดิมเป็นระยะ 10 cm จึงปล่อยวัตถุและสปริงเคลื่อนที่ ถ้าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานเท่ากับ 0.1 จงหาความเร็วของวัตถุเมื่อเคลื่อนที่ผ่านตำแหน่งสมดุลเดิม<br />1. 0.55 m/s<br />2. 0.65 m/s<br />3. 0.78 m/s<br />4. 0.89 m/s<br />2514600496570สปริงอันหนึ่งวางนิ่งอยู่บนพื้นราบ ปลายข้างหนึ่งยืดกับผนังห้อง ออกแรงดึงสปริงให้ยืดออกจากเดิมเป็นระยะ A เขียนกราฟระหว่างแรงที่ดึงและระยะที่สปริงยืดได้ดังรูป งานที่ทำให้สปริงยืดเป็นระยะ A จะเป็นกี่เท่าของงานที่ทำให้สปริงยืดเป็นระยะ <br />1. 1.5 เท่า<br />2. 2 เท่า<br />3. 3 เท่า<br />4. 4 เท่า<br />ขว้างวัตถุลงมาตรง ๆ ในแนวดิ่งด้วยความเร็ว 20 m/s จากสะพานสูงจากพื้น 25 m เมื่อวัตถุตกกระทบพื้นแล้วจึงกระเด้งกลับขึ้นไปทันที จงหาว่าวัตถุจะกระเด้งขึ้นไปได้สูงจากพื้นเป็นระยะเท่าไร<br />1. 20 m2. 25 m<br />3. 35 m4. 45 m<br />จากรูป สปริงมีค่าคงที่ 10 N/m ผูกติดกับวัตถุมวล 500 g วางอยู่บนพื้นราบเกลี้ยง เมื่อดันวัตถุให้อัดสปริงให้หดจากตำแหน่งสมดุล 15 cm อยากทราบความเร็วของวัตถุเป็นกี่ m/s ขณะที่วัตถุถูกสปริงผลักให้อยู่ ณ ตำแหน่ง 10 cm ห่างจากตำแหน่งสมดุล<br />2743200336551. 0.5<br />2. 1.0<br />3. 1.5<br />4. 2.2 <br />3086100178435ปล่อยวัตถุมวล 5 kg ให้ตกลงมาจากเดิมอยู่นิ่ง และสปริงไม่ยืดหรือหดขณะเริ่มปล่อย จงหาระยะ d ที่มวล 5 kg ตกลงมาได้ไกลที่สุด ใช้ g = 10 m/s<br />1. 30/k<br />2. 40/k<br />3. 50/k<br />4. 60/k<br />2699385228600ในการยกวัตถุมวล 72 กิโลกรัม โดยใช้รอกเดี่ยวที่เบามาก ดังรูป ประสิทธิภาพของรอกเท่ากับ 90% จะต้องออกแรงดึงเชือกอย่างน้อยกี่นิวตัน<br />1. 80<br />2. 360<br />3. 400<br />4. 800<br />2628900242570ในการยิงลูกหินมวล 50 กรัม โดยการออกแรงดึงยางของหนังสติ๊กให้ยืดกับระยะยืด เขียนเป็นกราฟได้ดังรูป เมื่อปล่อยลูกหินจากตำแหน่งที่ยืดออกมา 10 เซนติเมตร ลูกหินจะมีพลังงานจลน์เท่าไร<br />1. 1.5 จูล<br />2. 1.7 จูล<br />3. 1.9 จูล<br />4. 2.1 จูล<br />นายดำเข็นรถยนต์มวล 500 kg ให้เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยแรงคงที่ 50 N เขาสังเกตได้ว่า เมื่อผ่านตำแหน่ง A รถมีความเร็ว 4 m/s และเมื่อผ่านตำแหน่ง B เขาใช้กำลังเป็น 1¼ เท่าของกำลังที่ใช้เมื่อผ่านตำแหน่ง A อยากทราบว่างานในการเข็นรถจาก A ถึง B เป็นเท่าไร<br />1. 3,000 J<br />2. 2,750 J<br />3. 2,500 J<br />4. 2,250 J<br />เครื่องกำเนิดไฟฟ้าเครื่องหนึ่งมีประสิทธิภาพ 80% จะให้งานที่เป็นประโยชน์ออกมาในอัตรากี่วัตต์ เมื่อใส่กำลังให้แก่เครื่อง 0.4 กำลังม้า (1 H.P.=750W)<br />1. 240 <br />2. 300<br />3. 375<br />4. 600<br />1714500394970หินก้อนหนึ่งมวล 20 กิโลกรัม ไถลลงตามเนินเอียง ถ้าก้อนหินมีอัตราเร็ว 1 เมตร/วินาที ที่จุด A และ 4 เมตร/วินาทีที่จุด B จงหางานของแรงเสียดทานที่กระทำต่อก้อนหินในช่วงการเคลื่อนที่จาก A ไป B<br />1. 320 จูล<br />2. 460 จูล<br />3. 650 จูล<br />4. 810 จูล<br />1828800342900ชายคนหนึ่งสาวน้ำเต็มถังมวล 2 กิโลกรัม ขึ้นจากบ่อซึ่งลึก 20 เมตร ด้วยความเร่งสม่ำเสมอ ถึงปากบ่อภายในเวลา 20 วินาที จงคำนวณค่างานที่ชายคนนั้นทำ<br />1. 101<br />2. 202<br />3. 303<br />4. 404<br />ปั๊มน้ำสามารถสูบน้ำขึ้นไปเก็บไว้ในถังซึ่งสูงขึ้นไป 10 m ในอัตรา 10 m3/sec จงหางานที่ทำในเวลา 1 ชั่วโมงของปั๊มนี้ ถ้าความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ 103 kg/m3<br />1. 3.6 X 106 J2. 3.6 X 107 J3. 3.6 X 108 J4. 3.6 X 109 J<br />วัตถุมวล m วางห่างจากสปริงในแนวดิ่ง h เมื่อทิ้งวัตถุลงมากระทบสปริง ปรากฏว่าสปริงหดเป็นระยะ x แสดงว่าค่านิจของสปริง k มีค่าเท่ากับ<br />114300-2540<br />2971800179070รถมวล 1,000 kg เคลื่อนที่จากจุด A ในรูป ไปยังจุด B และจุด C จงหาพลังงานศักย์ที่จุด B และที่จุด C เมื่อเทียบกับจุด A<br />1. +1 X 105 J และ -1.5 X 105 J<br />2. +2 X 105 J และ -2.5 X 105 J<br />3. -1 X 103 J และ +1.5 X 103 J<br />4. -2 X 103 J และ +2.5 X 103 J<br />2400300132715จงหาความเร็วอย่างน้อยที่นักกระโดดสูงจะต้องมีในการกระโดดค้ำถ่อ ให้พ้นระดับ 5 m ถ้านักกระโดดสูงมีมวล 70 kg และมีจุดศูนย์ถ่วงจากพื้น 90 cm<br />1. 6.06 m/s<br />2. 7.06 m/s<br />3. 8.06 m/s<br />4. 9.06 m/s<br />2628900530225มวล 1 กิโลกรัม วางบนพื้นลื่น เมื่อใช้แรง P1, P2, P3 ขนาด 10 นิวตัน กระทำต่อมวลในทิศทำมุม 90°, 37°, 0 องศา ตามลำดับ มีผลทำให้มวลเคลื่อนที่ได้ทาง 10 เมตร ผลของงานที่เกิดจากแรงทั้งสามควรเป็นดังข้อใด<br />1. งานของ P2 = ½ ของงาน P1 < งานของ P3<br />2. งานของ P1 > ของงาน P2 > งานของ P3<br />3. งานของ P1 = ของงาน P3 > งานของ P2<br />4. งานของ P1 < ของงาน P2 < งานของ P3<br />2057400516255ออกแรง 10 N ในแนวระดับกระทำต่อวัตถุมวล 5 kg ที่วางบนพื้นเอียงซึ่งทำมุม 53° กับแนวระดับเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ลงเป็นระยะทาง 4 m ดังรูป ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของพื้นเอียงมีค่า 0.5 อยากทราบว่างานของแรง 10 N เป็นกี่จูล<br />1. 32<br />2. 24<br />3. -24<br />4. -32<br />2628900500380วัตถุหนัก 10 นิวตัน วางสัมผัสกับสปริงพอดีเมื่อปล่อยวัตถุลงมาจะกดสปริงให้หดลง ถ้าค่านิจของสปริงมีค่า 100 นิวตัน/เมตร จงหาแรงที่สปริงกระทำต่อวัตถุมากที่สุด<br />1. 10 นิวตัน<br />2. 20 นิวตัน<br />3. 50 นิวตัน<br />3. 100 นิวตัน<br />2286000704850จากรูป พื้นมีแรงเสียดทาน 2 นิวตัน วัตถุมีมวล 5 กิโลกรัม วางอยู่บนพื้น ถูกดึงด้วยแรง F ผ่านรอกเกลี้ยง เอียงทำมุม 37° กับแนวราบ ดังรูป ถ้าเดิมวัตถุหยุดนิ่ง ออกแรง F ขนาด 20 N นาน 2 วินาที จงหางานที่แรง F นี้กระทำ<br />1. 144.0 J<br />2. 115.2 J<br />3. 112.0 J<br />4. 89.6 J<br />สมมติว่าเมื่อผู้ขับห้ามล้อรถยนต์แล้วมีแรงเสียดทานคงตัวไปกระทำกับล้อรถข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง<br />1. รถยนต์สูญเสียพลังงานจลน์ด้วยอัตราคงตัว<br />2. ระยะทางที่รถยนต์เคลื่อนที่ได้ก่อนหยุดจะเป็นสัดส่วนกับอัตราเร็วของรถยนต์ก่อนการห้ามล้อ<br />3. ระยะทางที่รถยนต์เคลื่อนที่ได้ก่อนหยุดจะเป็นสัดส่วนกับ (อัตราเร็ว)2 ของรถยนต์ก่อนการห้ามล้อ<br />4. ค่าความชันของกราฟมีขนาดเท่ากับขนาดของมวลรถทดลอง<br />3886200342265จากการทดลองการเคลื่อนที่ของมวลรถทดลอง เมื่อเขียนกราฟระหว่างงาน (W) กับอัตราเร็วสุดท้ายกำลังสอง (V2) จะได้ดังรูป พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดผิด<br />1. งานที่ทำเพิ่มขึ้นทำให้พลังงานจลน์เพิ่มขึ้น<br />2. แรงเสียดทานทำให้เส้นกราฟไม่ผ่านจุดกำเนิด<br />3. ค่าความชันของกราฟมีหน่วยเดียวกับหน่วยของมวล<br />4. ค่าความชันของกราฟมีขนาดเท่ากับขนาดของมวลรถทดลอง<br />ปล่อยวัตถุก้อนหนึ่งมวล m กิโลกรัม ซึ่งอยู่สูง h เมตร ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก ไม่มีแรงต้านอากาศอยากทราบว่าหลังจากปล่อยวัตถุตกลงมาเป็นเวลานานกี่วินาที จึงจะทำให้วัตถุมีพลังงานจลน์เป็น 3/7 เท่าของพลังงานศักย์เดิมตอนแรก (กำหนดให้ g = 10 m/s2)<br />22860043180<br />3086100408940จากรูป รอกทุกตัวเบาและเกลี้ยง เมื่อออกแรง F ดึงเชือกทำให้งานของแรง F เป็น 200 จูล จงหางานของน้ำหนัก 200 N<br />1. 200 จูล<br />2. 100 จูล<br />3. 50 จูล<br />4. หาไม่ได้ เพราะข้อมูลไม่เพียงพอ<br />สปริงอันหนึ่งเมื่อได้รับแรง 10 N จะยืดออก 5 cm ถ้าออกแรงกดสปริงนี้ 20 N จากตำแหน่งสมดุลสปริงจะหดกี่เซนติเมตร และขณะนั้นสปริงมีพลังงานศักย์เท่าไร<br />1. 0.5 cm และ 0.5 J2. 0.5 cm และ 1.0 J<br />3. 1.0 cm และ 0.5 J4. 1.0 cm และ 1.0 J<br />วัตถุมวล 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นราบ ซึ่งมีแรงเสียดทาน 6 นิวตัน เข้าชนสปริงด้วยความเร็ว 4 เมตร/วินาที สปริงจะหดเข้าไปมากที่สุดเท่าไร ถ้าสปริงมีค่านิจ 40 นิวตัน/เมตร<br />1. 0.1 เมตร2. 0.3 เมตร<br />3. 0.5 เมตร4. 0.7 เมตร<br />มอเตอร์ไฟฟ้าของปั๊มจั่นเครื่องหนึ่งสามารถดึงมวล 200 กิโลกรัม ขึ้นไปในแนวดิ่งได้สูง 50 เมตร ในเวลา 2 นาที ถ้ามอเตอร์ไฟฟ้ามีกำลัง 1 กิโลวัตต์ พลังงานที่สูญเสียไปเป็นความร้อนในการทำงานเป็นกี่จูล<br />1. 2.5 X 1032. 5.0 X 1033. 2.0 X 1044. 12.5 X 103<br />จงหางานที่ทำในการสูบน้ำจากคลองไปไว้ในถังน้ำรูปลูกบาศก์ ยาวด้านละ 1 เมตร วางบนฐานสูง 10 เมตร จากระดับน้ำจนเต็มถังพอดี มีค่ากี่กิโลจูล<br />1. 1102. 1053. 1004. 90<br />แขวนวัตถุมวล 100 g กับสปริงในแนวดิ่งซึ่งมีค่าคงที่ของสปริงเท่ากับ 10 N/m เมื่อปล่อยให้วัตถุลงในแนวดิ่ง อยากทราบความเร็วของวัตถุเป็นกี่ m/s ขณะวัตถุอยู่ต่ำกว่าตำแหน่งสมดุลของสปริง 10 cm<br />1. 12. 23. 34. 4<br />2743200340995งานของแรง F ซึ่งกระทำบนวัตถุหนึ่งมีความสัมพันธ์กับระยะทาง s ดังกราฟ โดยใช้เวลาทำงาน 5 วินาที ตัวเลือกใดถูกต้อง<br />1. งานของแรง F เท่ากับ 40 J<br />2. กำลังของแรง F เท่ากับ 8 J<br />3. ความเร่งของวัตถุคงตัวตลอดเวลา<br />4. ข้อ 1, 2 ถูก แต่ข้อ 3 ผิด<br />2971800466090วัตถุมวล 2 kg เดิมหยุดนิ่ง วางอยู่บนพื้นราบ เมื่อออกแรงดันวัตถุไปตามพื้นราบ เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับระยะทางได้ดังรูป จงหาอัตราเร็วของวัตถุเมื่อเคลื่อนที่ไปได้ระยะทาง 8 m<br />1. 4.36 m/s<br />2. 6.36 m/s<br />3. 8.36 m/s <br />4. 10.36 m/s<br />ออกแรง F ดึงกล่อง 20 kg ในแนวระดับซึ่งหยุดนิ่งให้เคลื่อนที่ไปบนพื้นราบด้วยความเร่ง 1 m/s2 เป็นเวลา 10 s ถ้าพื้นมีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน = 0.5 อยากทราบว่างานที่กระทำด้วยแรง F เป็นกี่จูล<br />1. 1,0002. 2,000<br />3. 4,0004. 6,000<br />1828800419100นักเรียนคนหนึ่งแบกของหนัก 50 kg ขึ้นไปบนตึกของโรงเรียน โดยเริ่มต้นที่จุด O แล้วเดินขึ้นไปตามทาง OABC ถึงจุดหมายที่ C จงหางานที่นักเรียนกระทำเป็นกี่จูล (กำหนดค่า g = 10 m/s2)<br />1. 1.0 X 103<br />2. 1.5 X 103<br />3. 1.0 X 104<br />4. 2.5 X 104<br />บันไดเลื่อนสามารถยกคนได้ 36 คนต่อนาที ขึ้นสูง 10 m ถ้ามวลของแต่ละคนเฉลี่ยเท่ากับ 60 kg ประสิทธิภาพของบันไดเลื่อนจะมีค่ากี่เปอร์เซ็นต์ เมื่อต้องให้กำลังไฟฟ้าแก่มอเตอร์ของบันได 4.5 kW<br />1. 60%2. 70%3. 80%4. 90%<br />จากรูป สปริงมีค่าคงที่ 10 N/m ขณะที่มวล m อยู่ที่ตำแหน่งดังรูป สปริงยืดอยู่ก่อนแล้ว 0.5 m ถ้าดึงมวล m เคลื่อนที่มาทำให้สปริงยืดเป็น 3 m จงหางานจากแรงดึงกลับของสปริง<br />27432001136651. +38.75 J<br />2. -38.75 J<br />3. +43.75 J<br />4. -43.75 J<br />สมมติว่านักกีฬากระโดดค้ำถ่อ สามารถเปลี่ยนพลังงานจลน์เป็นพลังงานศักย์ได้หมด ถ้าอัตราเร็วของนักกีฬาก่อนที่จะปักไม้ค้ำลงพื้นเท่ากับ v นักกีฬาคนนี้กระโดดได้สูงเท่าใด<br />1. v/2g2. 2g/v23. v2/2g4.     2 vg <br />2400300225425หางานที่มีค่าน้อยที่สุดเป็นกี่จูลในการนำกล่องเหมือนกัน 2 ใบ (ดังรูป) มาวางซ้อนกันบนพื้น โดยกล่องทั้งสองตั้งซ้อนกันในลักษณะเดียวกัน<br />1. 120<br />2. 150<br />3. 180<br />4. 240<br />วัตถุก้อนหนึ่งมีอัตราเร็ว 5 เมตร/วินาที เคลื่อนที่ลงในสนามโน้มถ่วงอย่างอิสระ ขณะที่อัตราเร็ว 15 เมตร/วินาที พลังงานศักย์ลดลง 500 จูล มวลของวัตถุนั้นเท่ากับ<br />1. 5 กิโลกรัม2. 10 กิโลกรัม3. 15 กิโลกรัม4. 50 กิโลกรัม<br />เครื่องจักรเครื่องหนึ่งมีประสิทธิภาพของเครื่องกล 75% เมื่อใช้เครื่องจักรนี้ยกวัตถุมวล 100 กิโลกรัม ขึ้นไปได้ระยะทางสูง 15 เมตรจากพื้น จงหางานที่ให้แก่เครื่องจักรกลนี้<br />1. 2.0 X 104 จูล2. 1.50 X 104 จูล3. 1.125 X 104 จูล4. 1.0 X 104 จูล<br />จากรูป วัตถุหนัก W ผูกติดอยู่กับเชือกยาว l เมื่อออกแรง F ค่อย ๆ ดึงวัตถุไปตามแนวระดับช้า ๆ จงหางานของแรง F ขณะเส้นเชือกเอียงทำมุม θ  กันแนวดิ่ง<br />21717001193801. Wl cos θ<br />2. Wl sin θ<br />3. W(l – l cos θ)<br />4. W(l – l sin θ)<br />ปาวัตถุก้อนหนึ่งขึ้นไปในแนวดิ่ง ถ้าไม่คิดแรงต้านของอากาศ กราฟพลังงานจลน์ (EK) และระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ขึ้น (Y) ของวัตถุ จะเป็นกราฟในข้อใด<br />356870136525<br />2171700250190จากรูป วัตถุมวล 20 กิโลกรัม ติดสปริง 2 ตัว มีค่านิจ 100, 300 นิวตัน/เมตร จงหาว่าสปริงทั้งสองยืดออกกี่เมตร, ถ้าสปริงยืดเท่ากัน<br />1. 0.25<br />2. 0.50<br />3. 0.75<br />4. 1.00<br />วัตถุมวล 20 กิโลกรัม ถูกขว้างขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็ว 30 เมตร/วินาที ถ้าไม่คิดแรงต้านของอากาศ วัตถุเคลื่อนขึ้นไปได้สูงกี่เมตร วัตถุจึงมีพลังงานจลน์เท่ากับพลังงานศักย์เทียบกับจุดโยน<br />1. 12.5<br />2. 25.0<br />3. 22.5<br />4. 45.0<br />เครื่องสูบน้ำเครื่องหนึ่งสามารถสูบน้ำมวล 240 kg/min ขึ้นไปได้สูง 10 m ถ้าน้ำพุ่งออกไปจากปลายท่อสูบด้วยความเร็ว 20 m/s กำลังของเครื่องสูบน้ำเป็นกี่ kW<br />1. 72<br />2. 24<br />3. 1.2<br />4. 1.0<br />เฉลยตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน<br />1. เฉลยข้อ 3<br />2. แนวคิด*มวล M2 อยู่บนพื้นเอียงซึ่งชันมากกว่า, จึงลงมาถึงพื้นก่อน M1<br />*ทั้งสองก้อนถึงพื้นด้วยอัตราเร็วเท่ากัน<br />91440038100<br />เฉลยข้อ 3<br />3. เฉลยข้อ 34. เฉลยข้อ 3 <br />5. แนวคิด<br />723900128270<br />เฉลยข้อ 4<br />6. เฉลยข้อ 17. เฉลยข้อ 28. เฉลยข้อ 39. เฉลยข้อ2<br />10. เฉลยข้อ 111. เฉลยข้อ 312. เฉลยข้อ 2<br />13. แนวคิดก. ต้องออกแรงสู้แรงต้านน้ำข. ต้องออกแรงสู้แรงโน้มถ่วง<br />ค. ต้องออกแรงสู้แรงโน้มถ่วงง. ต้องออกแรงสู้แรงเสียดทานของเส้นเชือก<br />เฉลยข้อ 4<br />114300037465<br />14. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 3<br />914400015. แนวคิด<br />1485900532130เฉลยข้อ 3<br />16. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />11430013589017. แนวคิด<br />914400259080<br />18. แนวคิด<br />1181100157480เฉลยข้อ 4<br />19. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 2<br />10426708763020. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />08191521. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />914400-11430022. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />11430002159023. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />24. แนวคิดงานที่ดินต้าน= mgh<br />FS= mg(h + S)<br />F X 0.1= 10 X 10(10 + 0.1)<br />F= 10,000N<br />เฉลยข้อ 3<br />46672526035025. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 2<br />57150013144526. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 2<br />952522860027. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />2381256921528. แนวคิด <br />เฉลยข้อ 2<br />-11430014224029. แนวคิด <br />เฉลยข้อ 1<br />23431517653030. แนวคิด <br />เฉลยข้อ 2<br />234315-22860031. แนวคิด <br />เฉลยข้อ 4<br />22860074295<br />32. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />9525190533. แนวคิด <br />เฉลยข้อ 1<br />68580016954534. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />234315-5715035. แนวคิด <br />เฉลยข้อ 2<br />36. แนวคิด<br />2343153810<br />เฉลยข้อ 2<br />1257300-11430037. แนวคิด<br />1257300205105<br />เฉลยข้อ 3<br />91440020447038. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 2<br />800100-2540039. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 3<br />40. แนวคิด<br />114300064135<br />เฉลยข้อ 4<br />585470508041. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />234315-3810042. แนวคิด <br />เฉลยข้อ 4<br />11430009334543. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 2<br />44. แนวคิด<br />68580016510<br />เฉลยข้อ 3<br />1600200045. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 3<br />04318046. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 2<br />34290014795547. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />91440019748548. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />160020015621049. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />-114300050. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />11430003048051. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />148590020447052. แนวคิด<br />920115133985เฉลยข้อ 3<br />53. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 2<br />2286005651554. แนวคิด <br />เฉลยข้อ 4<br />14859008318555. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />1371600056. แนวคิด<br />685800123190เฉลยข้อ 3<br />57. แนวคิด <br />เฉลยข้อ 4<br />58. แนวคิดW= mgh<br />= p(Rt)gh<br />= 103(10 X 3,600)10 X 10 จูล<br />= 3.6 X 109 จูลเฉลยข้อ 4<br />914400-17335559. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />571500213995<br />60. แนวคิด จุดB, EB= mghB<br />= 1,000 X 10 X 10 = 1 X 105<br />C, EC= mghC<br />= 1,000 X 10 X (-15)<br />= -1.5 X 105เฉลยข้อ 1<br />8001006667561. แนวคิด<br />v2= u2 + 2gh<br />0= u2 – 2 X 10(5 – 0.9)<br />u= 9.06 m/sเฉลยข้อ 4<br />62. แนวคิด<br />0202565<br />งาน W = FS cos θ      …..มุมเล็ก ๆ ค่า cos θ จะมาก,<br />cos 0°  >  cos θ2  > cos 90°เฉลยข้อ 4<br />63. แนวคิด<br />685800128905<br />*แรงดันขึ้น แต่วัตถุไหลลงมา (เพราะหนักมาก)<br />W= FS cos θ<br />= 10 X 4 cos(180° - 53°) จูล<br />= -24 จูลเฉลยข้อ 3<br />125730045720<br />64. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 2<br />342900266065<br />65. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />10287001143066. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 3<br />145732515621067. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />1028700-2349568. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 3<br />102870011430069. แนวคิด<br />พลังงานไม่สูญหาย<br />∴ งานของน้ำหนัก 200 N= งานของแรง F <br />= 200 จูล<br />เฉลยข้อ 1<br />125730014478070. แนวคิด<br />1257300145415เฉลยข้อ 4<br />71. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 3<br />72. แนวคิดQ= Pt – mgh<br />= 103(2 X 60) – (200)(10)(50) จูล<br />= 2 X 104 จูลเฉลยข้อ 3<br />91440025527073. แนวคิด<br />W= mgh= 103 X 10 X 10.5 จูล<br />= 105 กิโลจูล <br />เฉลยข้อ 2<br />914400-11430074. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />75. แนวคิด<br />685800635<br />เฉลยข้อ 4<br />76. แนวคิด<br />234315100330<br />เฉลยข้อ 3<br />09017077. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />57150026987578. แนวคิด<br />W= mgh= 500 X 20<br />= 10,000 จูล<br />เฉลยข้อ 3<br />10287008318579. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 3<br />22860025463580. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />17145007239081. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 3<br />12573002857582. แนวคิด<br />W= mgh= 3 X 10 X 5<br />= 150 จูล<br />เฉลยข้อ 2<br />148590012827083. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />137160010096584. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />1409700-11430085. แนวคิด<br />W= mht<br />= mg(l – l cos θ)<br />เฉลยข้อ 3<br />3429006731086. แนวคิด<br />EK + EP= ค่าคงที่<br />          EK= -mgh + C<br />          EK= -ky + C<br />กราฟเส้นตรง, เฉียงลงเฉลยข้อ 2<br />34290012509587. แนวคิด<br />k1x +  k2x= mg<br />(100 + 300)x= 20 X 10<br />     x= 0.5 m<br />เฉลยข้อ 2<br />800100381088. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 3<br />แนวคิด<br />5715004445<br />เฉลยข้อ 3<br />
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน

Contenu connexe

Tendances

04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นrumpin
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงApinya Phuadsing
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560krulef1805
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่นthanakit553
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาWijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 

Tendances (20)

สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
 
เฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงานเฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงาน
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสง
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 

En vedette

02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงานWijitta DevilTeacher
 
ข้อสอบฟิสิกส์+เฉลย By:eduzones
ข้อสอบฟิสิกส์+เฉลย By:eduzonesข้อสอบฟิสิกส์+เฉลย By:eduzones
ข้อสอบฟิสิกส์+เฉลย By:eduzonesflimgold
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer  พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไขปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer  พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไขกิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานthanakit553
 

En vedette (12)

02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน
 
ข้อสอบฟิสิกส์+เฉลย By:eduzones
ข้อสอบฟิสิกส์+เฉลย By:eduzonesข้อสอบฟิสิกส์+เฉลย By:eduzones
ข้อสอบฟิสิกส์+เฉลย By:eduzones
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer  พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไขปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer  พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
 
ค้างชำระ 5.1 (55)
ค้างชำระ 5.1 (55)ค้างชำระ 5.1 (55)
ค้างชำระ 5.1 (55)
 
ลงทะเบียนไม่ได้
ลงทะเบียนไม่ได้ลงทะเบียนไม่ได้
ลงทะเบียนไม่ได้
 
Kmutnb
KmutnbKmutnb
Kmutnb
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
 
เฉลย14สมบัติเชิงกลของสาร
เฉลย14สมบัติเชิงกลของสารเฉลย14สมบัติเชิงกลของสาร
เฉลย14สมบัติเชิงกลของสาร
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
 
08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน
 

Similaire à ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน

ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2aatjima
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงานAon Sujeeporn
 
ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48Unity' Aing
 
โมเมนตัมและพลังงาน3
โมเมนตัมและพลังงาน3โมเมนตัมและพลังงาน3
โมเมนตัมและพลังงาน3Papang Rakchanoke
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53noeiinoii
 
วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53shanesha
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53Sp Play'now
 

Similaire à ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน (20)

123
123123
123
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
Physics test 1
Physics test 1Physics test 1
Physics test 1
 
Quota cmu 56 part2
Quota cmu 56 part2Quota cmu 56 part2
Quota cmu 56 part2
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 
ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48
 
โมเมนตัมและพลังงาน3
โมเมนตัมและพลังงาน3โมเมนตัมและพลังงาน3
โมเมนตัมและพลังงาน3
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
 
วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
 
โมเมนตัม
โมเมนตัมโมเมนตัม
โมเมนตัม
 
ข้อสอบวิชาฟิสิกส์
ข้อสอบวิชาฟิสิกส์ข้อสอบวิชาฟิสิกส์
ข้อสอบวิชาฟิสิกส์
 

Plus de กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ

ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer  พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไขปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer  พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไขกิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 

Plus de กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ (16)

Kmutnb
KmutnbKmutnb
Kmutnb
 
Kmutnb
KmutnbKmutnb
Kmutnb
 
Planict2552 2556
Planict2552 2556Planict2552 2556
Planict2552 2556
 
ดร.พฤฒิพล
ดร.พฤฒิพลดร.พฤฒิพล
ดร.พฤฒิพล
 
รศ.มานัส
รศ.มานัสรศ.มานัส
รศ.มานัส
 
ดร.พฤฒิพล
ดร.พฤฒิพลดร.พฤฒิพล
ดร.พฤฒิพล
 
เด็กดีมีที่เรียน
เด็กดีมีที่เรียนเด็กดีมีที่เรียน
เด็กดีมีที่เรียน
 
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer  พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไขปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer  พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
 
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer 2555
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer 2555ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer 2555
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer 2555
 
กราฟคะแนน
กราฟคะแนนกราฟคะแนน
กราฟคะแนน
 
เฉลย09การชนและโมเมนตัม
เฉลย09การชนและโมเมนตัมเฉลย09การชนและโมเมนตัม
เฉลย09การชนและโมเมนตัม
 
เฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกลเฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกล
 
12การชนและโมเมนตัม
12การชนและโมเมนตัม12การชนและโมเมนตัม
12การชนและโมเมนตัม
 
07สมดุลกล
07สมดุลกล07สมดุลกล
07สมดุลกล
 
ประกาศเรียนปิดเทอม 1
 ประกาศเรียนปิดเทอม 1 ประกาศเรียนปิดเทอม 1
ประกาศเรียนปิดเทอม 1
 
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
 

ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน

  • 1. ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน<br />ข้อใดต่อไปนี้สรุปถูกต้องสำหรับการเคลื่อนที่อย่างอิสระภายใต้สนามโน้มถ่วงของโลก<br />1. พลังงานจลน์มีค่าคงที่<br />2. พลังงานศักย์มีค่าคงที่<br />3. ผลรวมของพลังงานจลน์และพลังงานศักย์มีค่าคงที่<br />4. ผลต่างของพลังงานจลน์และพลังงานศักย์มีค่าคงที่<br />มวล 2 ก้อนไม่เท่ากัน, ถูกปล่อยจากความสูง H เหนือพื้นดิน โดยมวล M1 ไถลลงตามพื้นเอียงทำมุม 30° กับแนวราบและไม่มีแรงเสียดทาน มวล M2 ไถลลงตามพื้นเอียงทำมุม 45° กับแนวราบไม่มีแรงเสียดทานเช่นกัน ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง<br />1. M1 จะถึงพื้นหลัง M2 และอัตราเร็วก่อนถึงพื้นของ M1 น้อยกว่าของ M2<br />2. M1 และ M2 จะถึงพื้นพร้อมกันด้วยอัตราเร็วเท่ากัน<br />3. M1 จะถึงพื้นหลัง M2 แต่อัตราเร็วของทั้งสองมวลก่อนถึงพื้นมีค่าเท่ากัน<br />4. ไม่มีข้อที่ถูกต้อง<br />ในการปล่อยวัตถุจากที่สูงลงมายังพื้นดิน ข้อใดสรุปได้ถูกต้อง<br />1. พลังงานศักย์โน้มถ่วงเพิ่มขึ้นแต่พลังงานจลน์ลดลง<br />2. พลังงานศักย์ ณ จุดต่ำสุดมีค้าเท่ากับพลังงานจลน์ ณ จุดสูงสุด<br />3. พลังงานศักย์โน้มถ่วงลดลงแต่พลังงานจลน์เพิ่มขึ้น<br />4. พลังงานศักย์โน้มถ่วงมากเป็น 2 เท่าของพลังงานจลน์ ณ จุดสูงสุด<br />ถ้านำลูกปืนเหล็กใส่เข้าไปในกระบอกปืนเด็กเล่น ซึ่งวางในแนวดิ่ง ปรากฏว่าสปริงภายในกระบอกปืนหดสั้นไปจากเดิมครึ่งหนึ่ง อยากทราบว่าพลังงานรวมของระบบซึ่งประกอบด้วยลูกปืนเหล็กและสปริงภายหลังจากสปริงหดตัวแล้วมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เมื่อแรงเสียดทานและมวลของสปริงน้อยมาก<br />1. ลดลงเนื่องจากลูกปืนเหล็กสูญเสียพลังงานศักย์<br />2. ลดลงเนื่องจากพลังงานรวมของระบบไม่คงที่<br />3. เท่าเดิมเนื่องจากสอดคล้องกับกฎอนุรักษ์พลังงาน<br />4. เพิ่มขึ้นมากกว่าเดิมเนื่องจากสปริงมีพลังงานศักย์เพิ่มขึ้น<br />ถ้า A เป็นระดับพื้นห้อง B อยู่สูงจากพื้นห้อง 4 เมตร C อยู่สูงจากพื้นห้อง 6 เมตร ชนิดานำวัตถุมวล 2 กิโลกรัม เดิมอยู่ที่ A ต่อมานำไปวางที่ B และ C ตามลำดับ (พลังงานศักย์โน้มถ่วงจะคิดเทียบกับระดับอ้างอิง) จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้<br />ก. ที่ระดับ A วัตถุมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์<br />ข. ที่ระดับ B วัตถุมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็น 80 จูล<br />ค. ที่ระดับ C วัตถุมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็น 120 จูล<br />ง. เมื่ออยู่ที่ระดับ C วัตถุมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงมากกว่าเมื่ออยู่ที่ระดับ B 40 จูล<br />ข้อใดถูกต้อง<br />1. ข้อ ก เท่านั้น2. ข้อ ข เท่านั้น3. ข้อ ค และ ง 4. ถูกทุกข้อ<br />การทำงานในข้อใดไม่สูญเสียพลังงาน<br />1. เครื่องกลมีประสิทธิภาพ 100%<br />2. เครื่องกลมีประสิทธิภาพ 80%<br />3. เครื่องกลมีประสิทธิภาพ 60%<br />4. เครื่องกลมีประสิทธิภาพน้อย ๆ <br />4000500456565เมื่อออกแรงยืดสปริง A และ B ปรากฏว่าความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับระยะยืดเป็นไปตามกราฟดังรูป สามารถวิเคราะห์ได้ว่า<br />1. สปริง A มีค่านิจมากกว่าสปริง B<br />2. สปริง A ยืดหดมากกว่าสปริง B เมื่อแรงกระทำเท่ากัน<br />3. เมื่อออกแรงกระทำเท่ากัน สปริง A มีพลังงานศักย์น้อยกว่าสปริง B<br />4. เมื่อสปริงยืดเท่ากัน สปริง A มีพลังงานศักย์มากกว่าสปริง B<br />มาสเตอร์อ้นออกแรงเพื่อทำกิจกรรมต่าง ๆ แรงของมาสเตอร์อ้นในข้อใดที่ทำให้เกิดงานตามความหมายของงานในทางฟิสิกส์<br />ก. ว่ายน้ำข้ามคลอง<br />ข. เปลี่ยนอิริยาบถจากนั่งพับเพียบแล้วลุกขึ้นยืนร้องเพลงดอกไม้กับหัวใจ<br />ค. ไต่เชือกลงจากหน้าผาอย่างช้า ๆ<br />ง. โหนตัวข้ามคลองด้วยเชือกเส้นเดียวที่วางตัวในแนวระดับ<br />ข้อใดถูก<br />1. ก และ ค2. ข และ ง3. ก, ข และ ค4. ถูกทั้ง ก, ข, ค และ ง<br />ข้อใดไม่ถูกต้อง<br />1. หน่วยของงานเป็นนิวตัน เมตร<br />2. ยกของจากโต๊ะวางไว้บนพื้นไม่เกิดงาน<br />3. แจกันตกจากโต๊ะถือว่าเกิดงาน<br />4. หิ้วถังน้ำมวล 20 กิโลกรัม เดินไปบนพื้นราบ ถือว่าไม่เกิดงานในการหิ้วถัง<br />กระโดดค้ำถ่อ มีการเปลี่ยนพลังงานใดบ้าง<br />1. พลังงานจลน์ พลังงานศักย์ยืดหยุ่น พลังงานศักย์โน้มถ่วง <br />2. พลังงานศักย์โน้มถ่วง พลังงานศักย์ยืดหยุ่น<br />3. พลังงานจลน์ พลังงานศักย์ยืดหยุ่น<br />4. พลังงานศักย์ยืดหยุ่น พลังงานจลน์<br />ข้อใดให้ความหมายของงานได้ถูกต้อง<br />1. เมื่อแรงลัพธ์ไม่เป็นศูนย์ มีงานเกิดขึ้นเสมอ<br />2. แรงคูณด้วยระยะทางที่ตั้งฉากกับแนวแรง<br />3. งานจะมีค่ามากที่สุด เมื่อแรงและการกระจัดมีทิศเดียวกัน<br />4. งานเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทิศเดียวกับแรง<br />สปริง A และ B มีค่านิจของสปริงไม่เท่ากัน ถ้าถูกกดด้วยแรงที่เท่ากันข้อความใดสรุปได้ถูกต้องที่สุด<br />1. สปริงที่มีค่านิจมากจะถูกใช้งานมากกว่า2. สปริงที่มีค่านิจน้อยจะถูกใช้งานมากกว่า<br />3. สปริงทั้งคู่จะถูกใช้งานเท่า ๆ กัน4. ไม่มีคำตอบในข้อ 1 – 3<br />นาย ก ออกแรงเพื่อทำกิจกรรมต่าง ๆ แรงของนาย ก ในข้อใดที่ทำให้เกิดงานตามความหมายของงานในทางฟิสิกส์<br />ก. ว่ายน้ำข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา<br />ข. เปลี่ยนอิริยาบถจากนั่งพับเพียบเป็นลุกขึ้นยืน<br />ค. ไต่เชือกลงจากหน้าผาอย่างช้า ๆ<br />ง. โหนตัวข้ามคลองด้วยเชือกเส้นเดียวที่วางตัวในแนวระดับ<br />ข้อที่ถูกคือ<br />1. ก, ค2. ข, ง3. ก, ข, ค4. ก, ข, ค, ง<br />3543300294640วัตถุมวล 1 กิโลกรัมวางไว้ดังรูป เมื่อปล่อยวัตถุตกลงมา จงหาอัตราเร็วของวัตถุขณะกระทบสปริงมีค่าเท่าใด<br />กำหนดให้ g = 10 เมตร/วินาที21. 18.0 เมตรต่อวินาที2. 9.0 เมตรต่อวินาที<br />3. 4.2 เมตรต่อวินาที4. 3.5 เมตรต่อวินาที<br />จากโจทย์ข้อที่ 14 ถ้าสปริงมีค่า k = 10,000 นิวตันต่อเมตร สปริงจะถูกกดลงไปเท่าใด<br />1. ถูกกดจนสุด2. 9.0 เซนติเมตร3. 4.2 เซนติเมตร4. 3.5 เซนติเมตร<br />ออกแรงในแนวระดับ F ขนาด 8 นิวตัน เพื่อทำให้วัตถุมวล 2 กิโลกรัม ที่กำลังเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงบนพื้นราบลื่นในแนวระดับ ทำให้วัตถุมีอัตราเร็วลดลงจากเดิม 4 เมตร/วินาที ในระยะกระจัด 5 เมตร จงคำนวณหาอัตราเร็วของวัตถุก่อนที่มีแรง F มากระทำ<br />1. 7 เมตร/วินาที2. 6 เมตร/วินาที3. 4 เมตร/วินาที4. 3 เมตร/วินาที<br />2400300589915จากรูปกำหนดให้วัตถุ A มีมวล 25 kg สปริงมีค่านิจเท่ากับ 1.2 X 103 N/m และสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานระหว่างพื้นกับวัตถุ A เป็น 0.3 ถ้าดึงวัตถุ W ให้เคลื่อนที่ลงด้วยความเร็วคงที่เป็นระยะทาง 50 cm จงหาขนาดของงานที่วัตถุ W ทำได้<br />1. 187.5J2. 150.0J<br />3. 142.5J4. 127.0J<br />วัตถุก้อนหนึ่งถูกคนค่อย ๆ วางบนสปริงซึ่งตั้งอยู่ในแนวดิ่ง เมื่ออยู่ในสภาพนิ่ง สปริงหดตัวไป 15 cm แต่ถ้าปล่อยให้วัตถุตกลงมาเองจากปลายบนสุดของสปริง สปริงจะถูกกดเป็นระยะทางมากที่สุดกี่เซนติเมตร<br />1. 18 cm2. 22 cm3. 25 cm4. 30 cm<br />ถ้าจะยิงลูกกระสุนมวล 30 กรัม ด้วยหนังสติ๊กให้ขึ้นไปได้สูง 15 เมตรในแนวดิ่ง จะต้องใช้แรงดึงก่อนปล่อยเท่าใด ถ้าการยืดของหนังสติ๊กเป็นแบบสปริง และยืดออก 20 เซนติเมตร<br />1. 30 นิวตัน2. 45 นิวตัน3. 60 นิวตัน4. 120 นิวตัน<br />ในขณะที่ฝนตกนั้น พื้นถนนระดับราบแห่งหนึ่ง มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานลดลงเป็นหนึ่งในสี่ของเมื่อถนนแห้ง จงหาว่าอัตราเร็วของรถขณะที่ขับฝ่าสายฝนจะเป็นเท่าใด ถ้าสามารถเบรกให้หยุดได้ในระยะทางเดียวกันเมื่อขับรถบนถนนแห้งด้วยอัตราเร็ว 50 เมตรต่อวินาที<br />1. 25 m/s2. 30 m/s3. 35 m/s4. 40 m/s<br />1943100752475วัตถุมวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่ลงจากพื้นเอียงด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที พื้นเอียงทำมุม 37 องศากับแนวราบสูง 3 เมตร มีสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน 0.2 วัตถุเคลื่อนที่ลงชนสปริงจนหยุดนิ่ง เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 4 เมตร สปริงหดเข้าไปกี่เมตร ถ้าสปริงมีค่านิจสปริง 1,081.60 นิวตันต่อเมตร<br />1. 0.26<br />2. 0.50<br />3. 0.60<br />4. 1.00<br />วัตถุมวล 2 กก. กดอัดสปริงที่มีค่า k = 400 N/m ทำให้สปริงยุบเป็นระยะ 0.18 เมตร เมื่อมวลถูกปล่อยจึงถูกสปริงดันให้ขึ้นไปตามพื้นเอียงลื่น ทำมุม 37° กับแนวราบ จงหา <br />ก. เมื่อมวลถูกผลักจากสปริงจะมีความเร็วสูงสุดเท่าไร<br />ข. มวล 2 กก. จะขึ้นไปได้สูงเท่าไรจากพื้นก่อนที่จะไถลกลับ<br />2933700156210<br />34290018415<br />2857500495300เชือกยาว 1 เมตร ปลายหนึ่งผูกมวล 4 กิโลกรัม ดึงมวลออกมาทางขวามือ จนกระทั่วเชือกทำมุม 60 กับแนวดิ่งแล้วปล่อย วัตถุเคลื่อนที่ผ่านจุดต่ำสุด แล้วขึ้นไปได้สูงสุดทางซ้ายมือเป็นระยะ 0.25 เมตร พลังงานที่สูญเสียไปเนื่องจากต้านเป็นกี่จูล<br />1. 102. 20<br />3. 304. 40<br />ทิ้งมวล 10 กิโลกรัม ณ ที่สูง 10 เมตร จากพื้นดิน หลังจากกระทบดินแล้ว มวลจมลงไปในดิน 10 เซนติเมตร จงหาแรงต้านเฉลี่ยของดิน<br />1. 1,000N2. 10,000N3.10,100N4.11,000N<br />ลูกปืนมวล 40g ถูกยิงออกจากลำกล้องปืนด้วยความเร็ว 300 m/s ทะลุแผ่นไม้หนา 4 cm ทำให้ความเร็วลูกปืนขณะหลุดออกจากแผ่นไม้อีกด้านหนึ่งเหลือเพียง 100 m/s ให้หาขนาดแรงเฉลี่ยที่แผ่นไม้กระทำต่อลูกปืน<br />1. 4 X 1022. 4 X 1043. 4 X 1054. 4 X 106<br />1714500661035สปริงตัวหนึ่งยาว 20 เซนติเมตร มีค่านิจของสปริง 20,000 นิวตัน/เมตร วางอยู่บนพื้นเอียง ดังรูป ถ้าเรากดกล่องมวล 100 กรัม อัดสปริงจนหดเป็นระยะ 5 เซนติเมตรแล้วปล่อย กล่องเคลื่อนที่ลงมาถึงปลายพื้นเอียง มีความเร็วเท่าใดขณะวัตถุอยู่ที่ปลายพื้นเอียง ถ้าพื้นเอียงยาว 40 เมตร 15 เซนติเมตร 1. 20 m/s<br />2. 30 m/s<br />3. 40 m/s<br />4. 50 m/s<br />นายขาวทำการทดลองการตกอิสระของวัตถุมวล m บนดาวดวงหนึ่งซึ่งมีอัตราเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงคงที่ a โดยปล่อยให้วัตถุลงมาจากที่สูงแล้ววัดพลังงานจลน์สุดท้าย (EK) กับเวลา (t) ในการตก ซึ่งสามารถเขียนกราฟระหว่าง EK กับ t2 ได้ดังรูป ค่าความชันของกราฟเป็นเท่าใด<br />685800109855<br />2628900457200วัตถุมวล 0.2 กิโลกรัมพลัดตกจากที่สูง 20 เมตร วัตถุก้อนนั้นจะกระทบพื้นด้วยอัตราเร็วเท่าใด ถ้าแรงต้านการเคลื่อนที่ของอากาศเป็นไปตามกราฟที่กำหนดให้ โดย S คือระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่<br />1. 8 m/s2. 10 m/s<br />3. 15 m/s 4. 20 m/s<br />กดวัตถุมวล 0.2 กิโลกรัม เข้าสัมผัสกับสปริงที่จัดไว้บนพื้นเอียงเกลี้ยง มุม 30 องศา โดยยึดอีกปลายข้างหนึ่งของสปริงไว้ ดังรูปเมื่อสปริงหดเข้าไป 0.1 เมตร แล้วปล่อย จงหาอัตราเร็วของวัตถุขณะที่เคลื่อนที่ไปตามพื้นเอียงได้ไกล 4 เมตร (กำหนดให้ค่านิจของสปริงเท่ากับ 100 นิวตันต่อเมตร)<br />2171700444501. 3√5 เมตร/วินาที<br />2. 4√5 เมตร/วินาที<br />3. 5√3 เมตร/วินาที<br />4. √85 เมตร/วินาที<br />3086100500380จากรูป เชือกและรอกเบามีแรง 50 นิวตัน ดึงปลายเชือกเพื่อให้มวล 10 กิโลกรัมเคลื่อนที่ไปตามพื้นเอียง ซึ่งมีสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานจลน์เป็น 0.5 จงหาความเร็วของมวลนี้ เมื่อเคลื่อนที่ไปตามพื้นเอียงได้ 2 เมตร<br />1. 4 เมตร/วินาที2. 6 เมตร/วินาที<br />3. 8 เมตร/วินาที4. 10 เมตร/วินาที<br />1828800521970วัตถุมวล 10 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที จากจุด A ไปตามรางเกลี้ยงเมื่อเคลื่อนที่มาถึงจุด B วัตถุมีความเร็วขนาดเท่าใดในหน่วยเมตร/วินาที<br />1. 11.4<br />2. 17.3<br />3. 17.6<br />4. 20.0<br />ในกรณีที่วัตถุตกลงมาจากที่สูง กราฟความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจลน์ของวัตถุ (Ek) และเวลา (t2) ควรจะเป็นไปตามกราฟรูปใด<br />45720063500<br />2857500457200ปล่อยวัตถุจากจุด A ซึ่งสูงจากพื้นดิน 10 เมตร ระหว่าง A และ B มี Loop (วงกลม) 2 วง รัศมี = 2 เมตร = 1 เมตร ถ้ากำหนดให้มวลก้อนนี้มีขนาด 2 kg พื้น AB ลื่น พื้น BC มี สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์เป็น 0.5 จงหาระยะ BC ที่วัตถุนี้จะไปหยุด<br />1. 20 เมตร <br />2. 15 เมตร <br />3. 10√2 เมตร<br />4. 5√3 เมตร<br />2514600364490ปล่อยมวลให้เคลื่อนที่จากเดิมอยู่นิ่งและสปริงยังไม่ยืดหรือหด จงหาว่ามวล 10 กิโลกรัม เข้าชนพื้นระดับด้วยความเร็วเท่าไร (พื้นเอียงลื่น)<br />1. 4.5 เมตร/วินาที<br />2. 6.4 เมตร/วินาที<br />3. 7.8 เมตร/วินาที<br />4. 9.0 เมตร/วินาที<br />2400300386080ปล่อยตุ้มน้ำหนักขนาดมวล m กิโลกรัม ผูกด้วยเชือกยาว L เมตร จากตำแหน่งที่เชือกทำมุม 53° กับแนวดิ่ง ให้หาว่าขณะที่เชือกทำมุม 37° กับแนวดิ่ง ดังรูป วัตถุจะมีความเร็วเท่าใด (m/s) <br />กำหนดให้ g = 10 m/s2<br />1. √2L<br />2. 2√L<br />3. √2mL<br />4. 2√mL<br />เด็กคนหนึ่งออกแรงผลักกล่องของเล่นมวล 3 kg ซึ่งวางนิ่งอยู่บนพื้นราบด้วยแรงขนาด 20 N ในทิศกดลง ทำมุม 37° กับแนวระดับ ให้เคลื่อนที่เป็นระยะทาง 10 m ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างพื้นกับกล่องเท่ากับ 0.1 อยากทราบว่างานของแรงลัพธ์ที่เกิดบนวัตถุเป็นกี่จูล<br />1. 2022. 118<br />3. 1064. 74<br />จากรูป สปริงทั้งสองเส้นมีความปกติ จากนั้นดันมวล 1 กิโลกรัม จาก A ไป B แล้วปล่อยให้เคลื่อนที่บนพื้นระดับราบลื่น มวลนี้จะมีความเร็วเท่าไรขณะผ่าน A<br />2400300-38101. 0.5 เมตร/วินาที<br />2. 0.6 เมตร/วินาที<br />3. 0.7 เมตร/วินาที<br />4. 0.8 เมตร/วินาที<br />2171700342900จากรูป วัตถุมวล 0.5 kg ถูกปล่อยให้ไถลลงมาตามรางโค้ง AB รัศมี 1 m ถ้าที่ตำแหน่งต่ำสุด วัตถุมีอัตราเร็ว 3 m/s จงหางานเนื่องจากแรงเสียดทานระหว่างวัตถุกับรางโค้ง<br />1. 1.75 J<br />2. 2.75 J<br />3. 3.75 J<br />4. 4.75 J<br />มวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่ในแนวราบบนพื้นที่มีแรงเสียดทาน 8 นิวตัน เข้าชนสปริงด้วยความเร็ว 2 เมตร/วินาที ทำให้สปริงหดตัว 10 เซนติเมตร ค่าคงตัวของสปริงเป็นเท่าใดในหน่วยนิวตัน/เมตร<br />1714500444501. 420 นิวตัน/เมตร<br />2. 540 นิวตัน/เมตร<br />3. 640 นิวตัน/เมตร<br />4. 840 นิวตัน/เมตร<br />19812001042035จากรูป เป็นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าพลังงานของลูกบอลที่ถูกเตะให้เคลื่อนที่ขึ้นไปแนวดิ่งและเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ โดย A เป็นค่าพลังงานศักย์โน้มถ่วง (Ep) ณ ตำแหน่งสูงสุดของลูกบอลและ ณ เวลา 1 วินาทีเดียวกันนี้ลูกบอลมีพลังงานศักย์โน้มถ่วง (Ep) เท่ากับ B อยากทราบว่า ณ เวลา 1 วินาที ลูกบอลมีพลังงานจลน์ (Ek) เท่ากับ C ซึ่งมีค่าตรงกับข้อใดต่อไปนี้<br />1. 3(A + B)/4<br />2. (A + B)/4<br />3. 4(A – B)/3<br />4. (A – B)<br />18288001002030เมื่อใช้แรงอัดสปริงตัวหนึ่งให้หดสั้นลงต้องใช้แรงเปลี่ยนแปลงตามกราฟที่กำหนดให้ ขณะที่สปริงถูกอัดเข้าไปเป็นระยะ 0.2 เมตร นำวัตถุมวล 2.0 kg มาติดไว้กับปลายสปริงนี้ แล้วปล่อยบนพื้นลื่นสปริงจะดันวัตถุออกมา จงหาอัตราเร็วของมวลนี้เมื่อสปริงเคลื่อนที่มาถึงตำแหน่ง 0.1 เมตร จากตำแหน่งถูกอัดสูงสุด<br />1. 2 m/s<br />2. √3 m/s<br />3. √2 m/s<br />4. 1.2 m/s<br />2895600685800ในการทดลองเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงานจลน์ได้ผลความสัมพันธ์ระหว่างงาน (F • s) กับความเร็วสุดท้ายของรถทดลองยกกำลังสอง (V2) ดังรูป ถ้า ณ เวลาหนึ่งความเร็วของรถทดลองเป็น 0.8 เมตรต่อวินาที รถทดลองจะมีพลังงานจลน์ ณ ขณะนั้นเป็นกี่จูล<br />1. 1.55 X 10-1 J<br />2. 1.75 X 10-1 J<br />3. 1.95 X 10-1 J<br />4. 2.13 X 10-1 J<br />เมื่อปล่อยให้วัตถุมวล 0.5 กิโลกรัม ดังรูปตกลงมาได้ 80 เซนติเมตร วัตถุนี้มีความเร็ว 30 เซนติเมตรต่อวินาที แรงเสียดทานที่พื้นราบกระทำต่อมวล 2.0 กิโลกรัม มีค่าเท่าใด<br />1524000-19051. 1.2 N<br />2. 2.3 N<br />3. 3.4 N<br />4. 3.9 N <br />2514600180340วัตถุมวล 2 kg ถูกปล่อยให้เคลื่อนที่ลงมา ขณะที่เส้นเชือกทำมุม 30 องศากับแนวระดับ ถ้าเส้นเชือกยาว 2 m จงหาความเร็วของวัตถุที่จุดต่ำสุด<br />1. 2.47 m/s<br />2. 3.47 m/s<br />3. 4.47 m/s<br />4. 5.47 m/s<br />เฮลิคอปเตอร์ลำหนึ่งขณะลอยนิ่งเหนือหมู่บ้านหนึ่งที่ถูกน้ำท่วมทางภาคเหนือ ได้ทิ้งถุงเสบียงอาหารลงไป พบว่าเมื่อพลังงานศักย์ลดลง 3,000 จูล ถุงเสบียงจะมีความเร็ว 20 เมตรต่อวินาที จงหาว่าถุงเสบียงมีมวลเท่าใด<br />1. 5 กิโลกรัม2. 10 กิโลกรัม3. 15 กิโลกรัม4. 20 กิโลกรัม<br />228600506730อนุภาคเคลื่อนที่จากจุดหยุดนิ่ง P ไปตามผิวเกลี้ยงของครึ่งทรงกลมรัศมี R อยากทราบว่าอัตราเร็วของอนุภาคขณะหลุดจากผิวครึ่งทรงกลมที่จุด Q (ดังรูป) เป็นดังข้อใด<br /> <br />1714500723900วัตถุมวล 1.0 kg ผูกติดกับสปริงซึ่งมีค่านิจเท่ากับ 50 N/m เมื่อออกแรงดึงวัตถุไปทางขวาจนสปริงยืดออกจากตำแหน่งสมดุลเดิมเป็นระยะ 10 cm จึงปล่อยวัตถุและสปริงเคลื่อนที่ ถ้าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานเท่ากับ 0.1 จงหาความเร็วของวัตถุเมื่อเคลื่อนที่ผ่านตำแหน่งสมดุลเดิม<br />1. 0.55 m/s<br />2. 0.65 m/s<br />3. 0.78 m/s<br />4. 0.89 m/s<br />2514600496570สปริงอันหนึ่งวางนิ่งอยู่บนพื้นราบ ปลายข้างหนึ่งยืดกับผนังห้อง ออกแรงดึงสปริงให้ยืดออกจากเดิมเป็นระยะ A เขียนกราฟระหว่างแรงที่ดึงและระยะที่สปริงยืดได้ดังรูป งานที่ทำให้สปริงยืดเป็นระยะ A จะเป็นกี่เท่าของงานที่ทำให้สปริงยืดเป็นระยะ <br />1. 1.5 เท่า<br />2. 2 เท่า<br />3. 3 เท่า<br />4. 4 เท่า<br />ขว้างวัตถุลงมาตรง ๆ ในแนวดิ่งด้วยความเร็ว 20 m/s จากสะพานสูงจากพื้น 25 m เมื่อวัตถุตกกระทบพื้นแล้วจึงกระเด้งกลับขึ้นไปทันที จงหาว่าวัตถุจะกระเด้งขึ้นไปได้สูงจากพื้นเป็นระยะเท่าไร<br />1. 20 m2. 25 m<br />3. 35 m4. 45 m<br />จากรูป สปริงมีค่าคงที่ 10 N/m ผูกติดกับวัตถุมวล 500 g วางอยู่บนพื้นราบเกลี้ยง เมื่อดันวัตถุให้อัดสปริงให้หดจากตำแหน่งสมดุล 15 cm อยากทราบความเร็วของวัตถุเป็นกี่ m/s ขณะที่วัตถุถูกสปริงผลักให้อยู่ ณ ตำแหน่ง 10 cm ห่างจากตำแหน่งสมดุล<br />2743200336551. 0.5<br />2. 1.0<br />3. 1.5<br />4. 2.2 <br />3086100178435ปล่อยวัตถุมวล 5 kg ให้ตกลงมาจากเดิมอยู่นิ่ง และสปริงไม่ยืดหรือหดขณะเริ่มปล่อย จงหาระยะ d ที่มวล 5 kg ตกลงมาได้ไกลที่สุด ใช้ g = 10 m/s<br />1. 30/k<br />2. 40/k<br />3. 50/k<br />4. 60/k<br />2699385228600ในการยกวัตถุมวล 72 กิโลกรัม โดยใช้รอกเดี่ยวที่เบามาก ดังรูป ประสิทธิภาพของรอกเท่ากับ 90% จะต้องออกแรงดึงเชือกอย่างน้อยกี่นิวตัน<br />1. 80<br />2. 360<br />3. 400<br />4. 800<br />2628900242570ในการยิงลูกหินมวล 50 กรัม โดยการออกแรงดึงยางของหนังสติ๊กให้ยืดกับระยะยืด เขียนเป็นกราฟได้ดังรูป เมื่อปล่อยลูกหินจากตำแหน่งที่ยืดออกมา 10 เซนติเมตร ลูกหินจะมีพลังงานจลน์เท่าไร<br />1. 1.5 จูล<br />2. 1.7 จูล<br />3. 1.9 จูล<br />4. 2.1 จูล<br />นายดำเข็นรถยนต์มวล 500 kg ให้เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยแรงคงที่ 50 N เขาสังเกตได้ว่า เมื่อผ่านตำแหน่ง A รถมีความเร็ว 4 m/s และเมื่อผ่านตำแหน่ง B เขาใช้กำลังเป็น 1¼ เท่าของกำลังที่ใช้เมื่อผ่านตำแหน่ง A อยากทราบว่างานในการเข็นรถจาก A ถึง B เป็นเท่าไร<br />1. 3,000 J<br />2. 2,750 J<br />3. 2,500 J<br />4. 2,250 J<br />เครื่องกำเนิดไฟฟ้าเครื่องหนึ่งมีประสิทธิภาพ 80% จะให้งานที่เป็นประโยชน์ออกมาในอัตรากี่วัตต์ เมื่อใส่กำลังให้แก่เครื่อง 0.4 กำลังม้า (1 H.P.=750W)<br />1. 240 <br />2. 300<br />3. 375<br />4. 600<br />1714500394970หินก้อนหนึ่งมวล 20 กิโลกรัม ไถลลงตามเนินเอียง ถ้าก้อนหินมีอัตราเร็ว 1 เมตร/วินาที ที่จุด A และ 4 เมตร/วินาทีที่จุด B จงหางานของแรงเสียดทานที่กระทำต่อก้อนหินในช่วงการเคลื่อนที่จาก A ไป B<br />1. 320 จูล<br />2. 460 จูล<br />3. 650 จูล<br />4. 810 จูล<br />1828800342900ชายคนหนึ่งสาวน้ำเต็มถังมวล 2 กิโลกรัม ขึ้นจากบ่อซึ่งลึก 20 เมตร ด้วยความเร่งสม่ำเสมอ ถึงปากบ่อภายในเวลา 20 วินาที จงคำนวณค่างานที่ชายคนนั้นทำ<br />1. 101<br />2. 202<br />3. 303<br />4. 404<br />ปั๊มน้ำสามารถสูบน้ำขึ้นไปเก็บไว้ในถังซึ่งสูงขึ้นไป 10 m ในอัตรา 10 m3/sec จงหางานที่ทำในเวลา 1 ชั่วโมงของปั๊มนี้ ถ้าความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ 103 kg/m3<br />1. 3.6 X 106 J2. 3.6 X 107 J3. 3.6 X 108 J4. 3.6 X 109 J<br />วัตถุมวล m วางห่างจากสปริงในแนวดิ่ง h เมื่อทิ้งวัตถุลงมากระทบสปริง ปรากฏว่าสปริงหดเป็นระยะ x แสดงว่าค่านิจของสปริง k มีค่าเท่ากับ<br />114300-2540<br />2971800179070รถมวล 1,000 kg เคลื่อนที่จากจุด A ในรูป ไปยังจุด B และจุด C จงหาพลังงานศักย์ที่จุด B และที่จุด C เมื่อเทียบกับจุด A<br />1. +1 X 105 J และ -1.5 X 105 J<br />2. +2 X 105 J และ -2.5 X 105 J<br />3. -1 X 103 J และ +1.5 X 103 J<br />4. -2 X 103 J และ +2.5 X 103 J<br />2400300132715จงหาความเร็วอย่างน้อยที่นักกระโดดสูงจะต้องมีในการกระโดดค้ำถ่อ ให้พ้นระดับ 5 m ถ้านักกระโดดสูงมีมวล 70 kg และมีจุดศูนย์ถ่วงจากพื้น 90 cm<br />1. 6.06 m/s<br />2. 7.06 m/s<br />3. 8.06 m/s<br />4. 9.06 m/s<br />2628900530225มวล 1 กิโลกรัม วางบนพื้นลื่น เมื่อใช้แรง P1, P2, P3 ขนาด 10 นิวตัน กระทำต่อมวลในทิศทำมุม 90°, 37°, 0 องศา ตามลำดับ มีผลทำให้มวลเคลื่อนที่ได้ทาง 10 เมตร ผลของงานที่เกิดจากแรงทั้งสามควรเป็นดังข้อใด<br />1. งานของ P2 = ½ ของงาน P1 < งานของ P3<br />2. งานของ P1 > ของงาน P2 > งานของ P3<br />3. งานของ P1 = ของงาน P3 > งานของ P2<br />4. งานของ P1 < ของงาน P2 < งานของ P3<br />2057400516255ออกแรง 10 N ในแนวระดับกระทำต่อวัตถุมวล 5 kg ที่วางบนพื้นเอียงซึ่งทำมุม 53° กับแนวระดับเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ลงเป็นระยะทาง 4 m ดังรูป ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของพื้นเอียงมีค่า 0.5 อยากทราบว่างานของแรง 10 N เป็นกี่จูล<br />1. 32<br />2. 24<br />3. -24<br />4. -32<br />2628900500380วัตถุหนัก 10 นิวตัน วางสัมผัสกับสปริงพอดีเมื่อปล่อยวัตถุลงมาจะกดสปริงให้หดลง ถ้าค่านิจของสปริงมีค่า 100 นิวตัน/เมตร จงหาแรงที่สปริงกระทำต่อวัตถุมากที่สุด<br />1. 10 นิวตัน<br />2. 20 นิวตัน<br />3. 50 นิวตัน<br />3. 100 นิวตัน<br />2286000704850จากรูป พื้นมีแรงเสียดทาน 2 นิวตัน วัตถุมีมวล 5 กิโลกรัม วางอยู่บนพื้น ถูกดึงด้วยแรง F ผ่านรอกเกลี้ยง เอียงทำมุม 37° กับแนวราบ ดังรูป ถ้าเดิมวัตถุหยุดนิ่ง ออกแรง F ขนาด 20 N นาน 2 วินาที จงหางานที่แรง F นี้กระทำ<br />1. 144.0 J<br />2. 115.2 J<br />3. 112.0 J<br />4. 89.6 J<br />สมมติว่าเมื่อผู้ขับห้ามล้อรถยนต์แล้วมีแรงเสียดทานคงตัวไปกระทำกับล้อรถข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง<br />1. รถยนต์สูญเสียพลังงานจลน์ด้วยอัตราคงตัว<br />2. ระยะทางที่รถยนต์เคลื่อนที่ได้ก่อนหยุดจะเป็นสัดส่วนกับอัตราเร็วของรถยนต์ก่อนการห้ามล้อ<br />3. ระยะทางที่รถยนต์เคลื่อนที่ได้ก่อนหยุดจะเป็นสัดส่วนกับ (อัตราเร็ว)2 ของรถยนต์ก่อนการห้ามล้อ<br />4. ค่าความชันของกราฟมีขนาดเท่ากับขนาดของมวลรถทดลอง<br />3886200342265จากการทดลองการเคลื่อนที่ของมวลรถทดลอง เมื่อเขียนกราฟระหว่างงาน (W) กับอัตราเร็วสุดท้ายกำลังสอง (V2) จะได้ดังรูป พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดผิด<br />1. งานที่ทำเพิ่มขึ้นทำให้พลังงานจลน์เพิ่มขึ้น<br />2. แรงเสียดทานทำให้เส้นกราฟไม่ผ่านจุดกำเนิด<br />3. ค่าความชันของกราฟมีหน่วยเดียวกับหน่วยของมวล<br />4. ค่าความชันของกราฟมีขนาดเท่ากับขนาดของมวลรถทดลอง<br />ปล่อยวัตถุก้อนหนึ่งมวล m กิโลกรัม ซึ่งอยู่สูง h เมตร ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก ไม่มีแรงต้านอากาศอยากทราบว่าหลังจากปล่อยวัตถุตกลงมาเป็นเวลานานกี่วินาที จึงจะทำให้วัตถุมีพลังงานจลน์เป็น 3/7 เท่าของพลังงานศักย์เดิมตอนแรก (กำหนดให้ g = 10 m/s2)<br />22860043180<br />3086100408940จากรูป รอกทุกตัวเบาและเกลี้ยง เมื่อออกแรง F ดึงเชือกทำให้งานของแรง F เป็น 200 จูล จงหางานของน้ำหนัก 200 N<br />1. 200 จูล<br />2. 100 จูล<br />3. 50 จูล<br />4. หาไม่ได้ เพราะข้อมูลไม่เพียงพอ<br />สปริงอันหนึ่งเมื่อได้รับแรง 10 N จะยืดออก 5 cm ถ้าออกแรงกดสปริงนี้ 20 N จากตำแหน่งสมดุลสปริงจะหดกี่เซนติเมตร และขณะนั้นสปริงมีพลังงานศักย์เท่าไร<br />1. 0.5 cm และ 0.5 J2. 0.5 cm และ 1.0 J<br />3. 1.0 cm และ 0.5 J4. 1.0 cm และ 1.0 J<br />วัตถุมวล 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นราบ ซึ่งมีแรงเสียดทาน 6 นิวตัน เข้าชนสปริงด้วยความเร็ว 4 เมตร/วินาที สปริงจะหดเข้าไปมากที่สุดเท่าไร ถ้าสปริงมีค่านิจ 40 นิวตัน/เมตร<br />1. 0.1 เมตร2. 0.3 เมตร<br />3. 0.5 เมตร4. 0.7 เมตร<br />มอเตอร์ไฟฟ้าของปั๊มจั่นเครื่องหนึ่งสามารถดึงมวล 200 กิโลกรัม ขึ้นไปในแนวดิ่งได้สูง 50 เมตร ในเวลา 2 นาที ถ้ามอเตอร์ไฟฟ้ามีกำลัง 1 กิโลวัตต์ พลังงานที่สูญเสียไปเป็นความร้อนในการทำงานเป็นกี่จูล<br />1. 2.5 X 1032. 5.0 X 1033. 2.0 X 1044. 12.5 X 103<br />จงหางานที่ทำในการสูบน้ำจากคลองไปไว้ในถังน้ำรูปลูกบาศก์ ยาวด้านละ 1 เมตร วางบนฐานสูง 10 เมตร จากระดับน้ำจนเต็มถังพอดี มีค่ากี่กิโลจูล<br />1. 1102. 1053. 1004. 90<br />แขวนวัตถุมวล 100 g กับสปริงในแนวดิ่งซึ่งมีค่าคงที่ของสปริงเท่ากับ 10 N/m เมื่อปล่อยให้วัตถุลงในแนวดิ่ง อยากทราบความเร็วของวัตถุเป็นกี่ m/s ขณะวัตถุอยู่ต่ำกว่าตำแหน่งสมดุลของสปริง 10 cm<br />1. 12. 23. 34. 4<br />2743200340995งานของแรง F ซึ่งกระทำบนวัตถุหนึ่งมีความสัมพันธ์กับระยะทาง s ดังกราฟ โดยใช้เวลาทำงาน 5 วินาที ตัวเลือกใดถูกต้อง<br />1. งานของแรง F เท่ากับ 40 J<br />2. กำลังของแรง F เท่ากับ 8 J<br />3. ความเร่งของวัตถุคงตัวตลอดเวลา<br />4. ข้อ 1, 2 ถูก แต่ข้อ 3 ผิด<br />2971800466090วัตถุมวล 2 kg เดิมหยุดนิ่ง วางอยู่บนพื้นราบ เมื่อออกแรงดันวัตถุไปตามพื้นราบ เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับระยะทางได้ดังรูป จงหาอัตราเร็วของวัตถุเมื่อเคลื่อนที่ไปได้ระยะทาง 8 m<br />1. 4.36 m/s<br />2. 6.36 m/s<br />3. 8.36 m/s <br />4. 10.36 m/s<br />ออกแรง F ดึงกล่อง 20 kg ในแนวระดับซึ่งหยุดนิ่งให้เคลื่อนที่ไปบนพื้นราบด้วยความเร่ง 1 m/s2 เป็นเวลา 10 s ถ้าพื้นมีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน = 0.5 อยากทราบว่างานที่กระทำด้วยแรง F เป็นกี่จูล<br />1. 1,0002. 2,000<br />3. 4,0004. 6,000<br />1828800419100นักเรียนคนหนึ่งแบกของหนัก 50 kg ขึ้นไปบนตึกของโรงเรียน โดยเริ่มต้นที่จุด O แล้วเดินขึ้นไปตามทาง OABC ถึงจุดหมายที่ C จงหางานที่นักเรียนกระทำเป็นกี่จูล (กำหนดค่า g = 10 m/s2)<br />1. 1.0 X 103<br />2. 1.5 X 103<br />3. 1.0 X 104<br />4. 2.5 X 104<br />บันไดเลื่อนสามารถยกคนได้ 36 คนต่อนาที ขึ้นสูง 10 m ถ้ามวลของแต่ละคนเฉลี่ยเท่ากับ 60 kg ประสิทธิภาพของบันไดเลื่อนจะมีค่ากี่เปอร์เซ็นต์ เมื่อต้องให้กำลังไฟฟ้าแก่มอเตอร์ของบันได 4.5 kW<br />1. 60%2. 70%3. 80%4. 90%<br />จากรูป สปริงมีค่าคงที่ 10 N/m ขณะที่มวล m อยู่ที่ตำแหน่งดังรูป สปริงยืดอยู่ก่อนแล้ว 0.5 m ถ้าดึงมวล m เคลื่อนที่มาทำให้สปริงยืดเป็น 3 m จงหางานจากแรงดึงกลับของสปริง<br />27432001136651. +38.75 J<br />2. -38.75 J<br />3. +43.75 J<br />4. -43.75 J<br />สมมติว่านักกีฬากระโดดค้ำถ่อ สามารถเปลี่ยนพลังงานจลน์เป็นพลังงานศักย์ได้หมด ถ้าอัตราเร็วของนักกีฬาก่อนที่จะปักไม้ค้ำลงพื้นเท่ากับ v นักกีฬาคนนี้กระโดดได้สูงเท่าใด<br />1. v/2g2. 2g/v23. v2/2g4. 2 vg <br />2400300225425หางานที่มีค่าน้อยที่สุดเป็นกี่จูลในการนำกล่องเหมือนกัน 2 ใบ (ดังรูป) มาวางซ้อนกันบนพื้น โดยกล่องทั้งสองตั้งซ้อนกันในลักษณะเดียวกัน<br />1. 120<br />2. 150<br />3. 180<br />4. 240<br />วัตถุก้อนหนึ่งมีอัตราเร็ว 5 เมตร/วินาที เคลื่อนที่ลงในสนามโน้มถ่วงอย่างอิสระ ขณะที่อัตราเร็ว 15 เมตร/วินาที พลังงานศักย์ลดลง 500 จูล มวลของวัตถุนั้นเท่ากับ<br />1. 5 กิโลกรัม2. 10 กิโลกรัม3. 15 กิโลกรัม4. 50 กิโลกรัม<br />เครื่องจักรเครื่องหนึ่งมีประสิทธิภาพของเครื่องกล 75% เมื่อใช้เครื่องจักรนี้ยกวัตถุมวล 100 กิโลกรัม ขึ้นไปได้ระยะทางสูง 15 เมตรจากพื้น จงหางานที่ให้แก่เครื่องจักรกลนี้<br />1. 2.0 X 104 จูล2. 1.50 X 104 จูล3. 1.125 X 104 จูล4. 1.0 X 104 จูล<br />จากรูป วัตถุหนัก W ผูกติดอยู่กับเชือกยาว l เมื่อออกแรง F ค่อย ๆ ดึงวัตถุไปตามแนวระดับช้า ๆ จงหางานของแรง F ขณะเส้นเชือกเอียงทำมุม θ กันแนวดิ่ง<br />21717001193801. Wl cos θ<br />2. Wl sin θ<br />3. W(l – l cos θ)<br />4. W(l – l sin θ)<br />ปาวัตถุก้อนหนึ่งขึ้นไปในแนวดิ่ง ถ้าไม่คิดแรงต้านของอากาศ กราฟพลังงานจลน์ (EK) และระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ขึ้น (Y) ของวัตถุ จะเป็นกราฟในข้อใด<br />356870136525<br />2171700250190จากรูป วัตถุมวล 20 กิโลกรัม ติดสปริง 2 ตัว มีค่านิจ 100, 300 นิวตัน/เมตร จงหาว่าสปริงทั้งสองยืดออกกี่เมตร, ถ้าสปริงยืดเท่ากัน<br />1. 0.25<br />2. 0.50<br />3. 0.75<br />4. 1.00<br />วัตถุมวล 20 กิโลกรัม ถูกขว้างขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็ว 30 เมตร/วินาที ถ้าไม่คิดแรงต้านของอากาศ วัตถุเคลื่อนขึ้นไปได้สูงกี่เมตร วัตถุจึงมีพลังงานจลน์เท่ากับพลังงานศักย์เทียบกับจุดโยน<br />1. 12.5<br />2. 25.0<br />3. 22.5<br />4. 45.0<br />เครื่องสูบน้ำเครื่องหนึ่งสามารถสูบน้ำมวล 240 kg/min ขึ้นไปได้สูง 10 m ถ้าน้ำพุ่งออกไปจากปลายท่อสูบด้วยความเร็ว 20 m/s กำลังของเครื่องสูบน้ำเป็นกี่ kW<br />1. 72<br />2. 24<br />3. 1.2<br />4. 1.0<br />เฉลยตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน<br />1. เฉลยข้อ 3<br />2. แนวคิด*มวล M2 อยู่บนพื้นเอียงซึ่งชันมากกว่า, จึงลงมาถึงพื้นก่อน M1<br />*ทั้งสองก้อนถึงพื้นด้วยอัตราเร็วเท่ากัน<br />91440038100<br />เฉลยข้อ 3<br />3. เฉลยข้อ 34. เฉลยข้อ 3 <br />5. แนวคิด<br />723900128270<br />เฉลยข้อ 4<br />6. เฉลยข้อ 17. เฉลยข้อ 28. เฉลยข้อ 39. เฉลยข้อ2<br />10. เฉลยข้อ 111. เฉลยข้อ 312. เฉลยข้อ 2<br />13. แนวคิดก. ต้องออกแรงสู้แรงต้านน้ำข. ต้องออกแรงสู้แรงโน้มถ่วง<br />ค. ต้องออกแรงสู้แรงโน้มถ่วงง. ต้องออกแรงสู้แรงเสียดทานของเส้นเชือก<br />เฉลยข้อ 4<br />114300037465<br />14. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 3<br />914400015. แนวคิด<br />1485900532130เฉลยข้อ 3<br />16. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />11430013589017. แนวคิด<br />914400259080<br />18. แนวคิด<br />1181100157480เฉลยข้อ 4<br />19. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 2<br />10426708763020. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />08191521. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />914400-11430022. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />11430002159023. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />24. แนวคิดงานที่ดินต้าน= mgh<br />FS= mg(h + S)<br />F X 0.1= 10 X 10(10 + 0.1)<br />F= 10,000N<br />เฉลยข้อ 3<br />46672526035025. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 2<br />57150013144526. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 2<br />952522860027. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />2381256921528. แนวคิด <br />เฉลยข้อ 2<br />-11430014224029. แนวคิด <br />เฉลยข้อ 1<br />23431517653030. แนวคิด <br />เฉลยข้อ 2<br />234315-22860031. แนวคิด <br />เฉลยข้อ 4<br />22860074295<br />32. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />9525190533. แนวคิด <br />เฉลยข้อ 1<br />68580016954534. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />234315-5715035. แนวคิด <br />เฉลยข้อ 2<br />36. แนวคิด<br />2343153810<br />เฉลยข้อ 2<br />1257300-11430037. แนวคิด<br />1257300205105<br />เฉลยข้อ 3<br />91440020447038. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 2<br />800100-2540039. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 3<br />40. แนวคิด<br />114300064135<br />เฉลยข้อ 4<br />585470508041. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />234315-3810042. แนวคิด <br />เฉลยข้อ 4<br />11430009334543. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 2<br />44. แนวคิด<br />68580016510<br />เฉลยข้อ 3<br />1600200045. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 3<br />04318046. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 2<br />34290014795547. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />91440019748548. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />160020015621049. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />-114300050. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />11430003048051. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />148590020447052. แนวคิด<br />920115133985เฉลยข้อ 3<br />53. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 2<br />2286005651554. แนวคิด <br />เฉลยข้อ 4<br />14859008318555. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />1371600056. แนวคิด<br />685800123190เฉลยข้อ 3<br />57. แนวคิด <br />เฉลยข้อ 4<br />58. แนวคิดW= mgh<br />= p(Rt)gh<br />= 103(10 X 3,600)10 X 10 จูล<br />= 3.6 X 109 จูลเฉลยข้อ 4<br />914400-17335559. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />571500213995<br />60. แนวคิด จุดB, EB= mghB<br />= 1,000 X 10 X 10 = 1 X 105<br />C, EC= mghC<br />= 1,000 X 10 X (-15)<br />= -1.5 X 105เฉลยข้อ 1<br />8001006667561. แนวคิด<br />v2= u2 + 2gh<br />0= u2 – 2 X 10(5 – 0.9)<br />u= 9.06 m/sเฉลยข้อ 4<br />62. แนวคิด<br />0202565<br />งาน W = FS cos θ …..มุมเล็ก ๆ ค่า cos θ จะมาก,<br />cos 0° > cos θ2 > cos 90°เฉลยข้อ 4<br />63. แนวคิด<br />685800128905<br />*แรงดันขึ้น แต่วัตถุไหลลงมา (เพราะหนักมาก)<br />W= FS cos θ<br />= 10 X 4 cos(180° - 53°) จูล<br />= -24 จูลเฉลยข้อ 3<br />125730045720<br />64. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 2<br />342900266065<br />65. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />10287001143066. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 3<br />145732515621067. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />1028700-2349568. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 3<br />102870011430069. แนวคิด<br />พลังงานไม่สูญหาย<br />∴ งานของน้ำหนัก 200 N= งานของแรง F <br />= 200 จูล<br />เฉลยข้อ 1<br />125730014478070. แนวคิด<br />1257300145415เฉลยข้อ 4<br />71. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 3<br />72. แนวคิดQ= Pt – mgh<br />= 103(2 X 60) – (200)(10)(50) จูล<br />= 2 X 104 จูลเฉลยข้อ 3<br />91440025527073. แนวคิด<br />W= mgh= 103 X 10 X 10.5 จูล<br />= 105 กิโลจูล <br />เฉลยข้อ 2<br />914400-11430074. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />75. แนวคิด<br />685800635<br />เฉลยข้อ 4<br />76. แนวคิด<br />234315100330<br />เฉลยข้อ 3<br />09017077. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />57150026987578. แนวคิด<br />W= mgh= 500 X 20<br />= 10,000 จูล<br />เฉลยข้อ 3<br />10287008318579. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 3<br />22860025463580. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 4<br />17145007239081. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 3<br />12573002857582. แนวคิด<br />W= mgh= 3 X 10 X 5<br />= 150 จูล<br />เฉลยข้อ 2<br />148590012827083. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />137160010096584. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 1<br />1409700-11430085. แนวคิด<br />W= mht<br />= mg(l – l cos θ)<br />เฉลยข้อ 3<br />3429006731086. แนวคิด<br />EK + EP= ค่าคงที่<br /> EK= -mgh + C<br /> EK= -ky + C<br />กราฟเส้นตรง, เฉียงลงเฉลยข้อ 2<br />34290012509587. แนวคิด<br />k1x + k2x= mg<br />(100 + 300)x= 20 X 10<br /> x= 0.5 m<br />เฉลยข้อ 2<br />800100381088. แนวคิด<br />เฉลยข้อ 3<br />แนวคิด<br />5715004445<br />เฉลยข้อ 3<br />