SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  36
ภารกิจการเรียนรู้ กลุ่ม โรงเรียนอนุบาลขอนแก่น
ภารกิจที่  1 กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร    และสิ่งใดเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ดังกล่าว
ตอบภารกิจที่  1 เป็นวิธีการคิดอย่างเป็นกระบวนการ เพื่อหาวิธีการในการออกแบบรูปแบบการสอนให้มีความเหมาะสมและดีขึ้นกว่าวิธีการสอนแบบเดิมๆซึ่งการออกแบบการสอนนี้จะนำไปสู่ความเป็นเลิศและทันต่อการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน
ตอบภารกิจที่  1 ,[object Object],[object Object],[object Object]
ภารกิจที่  2 พื้นฐานทฤษฏีการเรียนรู้ที่สำคัญในการออกแบบการสอนมีอะไรบ้างและมีสาระสำคัญอย่างไรมีความแตกต่างกันอย่างไร  ?
ตอบภารกิจที่  2   การเรียนรู้คือกระบวนการที่ทำให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรียนได้จากการได้ยินการสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยีการเรียนรู้จะเกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่ผู้สอนนำเสนอ โดยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผู้สอนจะเป็นผู้ที่สร้างบรรยากาศทางจิตวิทยาที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้  ดังนั้น ผู้สอนจะต้องพิจารณาเลือกรูปแบบการสอน รวมทั้งการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน
ตอบภารกิจที่  2 เป็นกระบวนการการออกแบบการสอนเป็นการพัฒนาด้านการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบโดยการนำทฤษฎี การเรียนรู้และการสอนมาใช้เพื่อประกันเกี่ยวกับคุณภาพด้านการเรียนการสอนเป็นกระบวนการ ทั้งหมดของการวิเคราะห์ความต้องการของการเรียน เป้าหมายของการเรียนรู้ และการพัฒนา
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำคัญสามารถแบ่งได้ เป็นกลุ่มใหญ่ๆได้  3  กลุ่ม
การออกแบบการสอนตามกลุ่มพฤติกรรมนิยม ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรมนิยม มุ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า  ( Stimulus)  กับการตอบสนอง  ( Response) หรือพฤติกรรมที่แสดงออกมาซึ่งจะให้ความสนใจกับพฤติกรรมที่สามารถวัดและสังเกตจากภายนอกได้และเน้นความสำคัญของสิ่งแวดล้อมเพราะเชื่อว่าสิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวที่กำหนดพฤติกรรม
กฎเกณฑ์ของผู้สอนเกี่ยวกับพฤติกรรมนิยม ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรมนิยม การตอบสนองของการเรียนรู้ ขึ้นอยู่กับครูผู้สอน สิ่งเหล่านี้คือ สภาพแวดล้อมที่ผู้สอนจัดขึ้น    ผู้สอนเป็นคนกำหนดจัดทำและควบคุมสภาพแวดล้อมต่อผู้เรียน    การเรียนรู้จึงเป็นการคิดขึ้นมา โดยผู้สอนที่เน้นไปที่พฤติกรรมการเสริมแรง    เมื่อใช้เทคนิควิธีการในสภาพเช่นนี้ จุดประสงค์การเรียนรู้จึงเป็นพฤติกรรมของผู้เรียน    ที่ได้มีการจัดเตรียมไว้ , การให้รางวัล ,  และการให้ความสำคัญในวิธีเช่นนี้ ก็คือ    การเสริมแรงพฤติกรรม
วิธีการเรียนการสอนที่ใช้กับกลุ่มพฤติกรมนิยม   ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรมนิยม 1.  การสอนตรง ๆ    หรือการแสดงให้ดู  2.  การให้ทำแบบฝึกหัดและปฏิบัติ หรือการทำซ้ำ ๆ 3.  การสอนเกมต่างๆ  
เมื่อไรจะใช้แนวกลุ่มพฤติกรรมนิยม ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรมนิยม 1)   ผู้เรียนไม่มีประสบการณ์หรือมีแต่น้อยมาก หรือไม่มีองค์ความรู้แรก ๆของวิชานั้น   2)   การระลึกถึงจดจำข้อเท็จจริงพื้นฐาน หรือการตอบสนองอย่างอัตโนมัติที่ต้องการให้เกิด   3)   ภาระงานที่ต้องการเสร็จสมบูรณ์เพียงเล็กน้อย  ( ภาระงานเล็กๆ )   ซึ่งไม่เบี่ยงเบนไปจากมาตรฐานการ ปฏิบัติการ   (Performance    standard)
4)   ผู้เรียนจะได้ความรอบรู้มาโดยการเสริมแรงอย่างต่อเนื่องในพฤติกรรมที่ต้องการ    5)   ต้องการความถูกต้องและความรวดเร็วซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างมาก       6)   การเรียนการสอนต้องการให้เกิดผลสำเร็จภายในช่วงระยะเวลาอันสั้น ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรมนิยม เมื่อไรจะใช้แนวกลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรมนิยม ทักษะที่ควรได้รับการเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม 1)     ชนิดของข้อมูลสารสนเทศพื้นฐาน หรือข้อมูลที่จะนำเข้า  2)     การทดสอบการทดลองพื้นฐาน หรือวิธีการเบื้องต้น  3)    การเปลี่ยนน้ำมันในเครื่องยนต์ ( ทักษะพื้นฐานง่ายๆ ) 4)     การสะกดคำหรือการเรียนรู้ตารางสูตรคูณ    ( ทักษะพื้นฐาน ) 5)  การพูดด้วยเจตนาที่จะช่วยเหลือ จากถ้อยคำที่จัดเรียงลำดับอย่างเป็นระเบียบ  ( ทักษะพื้นฐาน )
ทฤษฏีกลุ่มพุทธิปัญญานิยม การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณและด้านคุณภาพ คือนอกจากผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว    ยังสามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ    และสามารถถ่ายโยงความรู้และทักษะเดิม    หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล้ว ไปสู่บริบทและปัญหาใหม่
ทฤษฏีกลุ่มพุทธิปัญญานิยม วิธีการจัดการเรียนการสอนที่ใช้กับแนวคิดกระบวนการประมวลข้อมูลสารสนเทศทางปัญญา  ( CIP)   มีดังนี้ 1)   การจัดให้โต้เถียงอภิปรายและการให้เหตุผล  2)   การให้แก้ปัญหาและจัดทำโครงงานที่ยุ่งยากลำบาก 3)  การเปรียบเทียบ  ( อุปมา )  หรือ ถ้อยคำ สำนวนอุปมา อุปมัย  4)   การจำแยกแยะหรือการให้ทำงานเป็นชิ้นเป็นอันของข้อมูลสารสนเทศภายใต้การให้เหตุผลของกลุ่มผู้เรียน  5)   การให้เขียนสำนวนหรือคำประพันธ์สั้น ๆ  ( การย่อหรือข้อความที่ช่วยให้ผู้เรียนจำได้ )
ทฤษฏีกลุ่มพุทธิปัญญานิยม ทักษะต่าง ๆ ที่ควรได้รับการเรียนรู้จากกระบวนการประมวลผลทางปัญญา  ( CIP) 1)     ความสามารถพื้นฐานคอมพิวเตอร์ที่มีความยุ่งยาก หรือปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวด้วยเครื่องจักร 2)     การจัดจำแนกแยกแยะความเสียหาย     อันตรายที่จะเกิดขึ้นที่มีจำนวนมากมาย  3)    อธิบายและจำแนกวัตถุต่างๆ    ที่มีความเสี่ยงภัย อันตรายและการเก็บรักษาอย่างถูกต้องและการเคลื่อนย้าย  4)     การกะประมาณเวลาของการออกคำสั่งการเดินเรือ
ทฤษฏีกลุ่มการสร้างสรรค์องค์ความรู้ด้วยปัญญา ความรู้เกิดจากประสบการณ์   และกระบวนการในการสร้างความรู้ หรือเกิดจากการกระทำ โดยที่ผู้เรียนสร้างเสริมความรู้ผ่านกระบวนการทางจิตวิทยาด้วยตนเอง ครูผู้สอนสามารถช่วยให้ผู้เรียนปรับขยายโครงสร้างทางปัญญา โดยการจัดสภาพการณ์ที่ทำให้เกิดภาวะ เสียสมดุล หรือก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญาขึ้น ซึ่งก็คือสภาวะที่โครงสร้างทางปัญญาเดิมใช้ไม่ได้ต้องมีการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องประสบการณ์มากขึ้นหรือเกิดโครงสร้างทางปัญญาใหม่ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ทฤษฏีกลุ่มการสร้างสรรค์องค์ความรู้ด้วยปัญญา วิธีการจัดการเรียนการสอนเมื่อใช้แนวคิดของ  Consturctivism 1)    กรณีศึกษา  ( case   studies)  หรือการแก้ปัญหาเพื่อการเรียนรู้    2)     การนำเสนอผลงาน / ชิ้นงานให้ปรากฏแก่สายตาหลายด้าน หลาย มิติหรือการจัดทำสื่อแนะแนวทาง                                  3)     การกำกับดูแลหรือการฝึกงาน 4)    การเรียนรู้ร่วมกัน  ( collaborative learning)            5)    การเรียนรู้โดยการสืบค้น  ( Discovery learning)     6)     การเรียนรู้โดยการกำหนดสถานการณ์
ความแตกต่างของทฤษฏีการเรียนรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object]
ภารกิจที่  3 ให้วิเคราะห์และวิพากษ์จุดเด่นและจุดด้อยของการออกแบบการสอนที่มีพื้นฐานจากทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม พุทธิปัญญานิยมและคอนสตรัคติวิสต์
ตอบภารกิจที่  3 ข้อดี ข้อด้อย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตอบภารกิจที่  3 ข้อดี ข้อด้อย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตอบภารกิจที่  3 ข้อดี ข้อด้อย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ภารกิจที่  4 จากสิ่งที่กำหนดต่อไปนี้ให้ท่านจำแนกประเภทตามลักษณะการออกแบบโดยระบุเกณฑ์และเหตุผลที่ใช้ในการจำแนกด้วย ชุดการสอน ชุดสร้างความรู้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ บทเรียนโปรแกรม เว็บเพื่อการสอน สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย การเรียนแบบ ร่วมมือกันเรียนรู้
ตอบภารกิจที่  4 จำแนกประเภทตามลักษณะการออกแบบ บทเรียนโปรแกรม เว็บเพื่อการสอนสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ ประเภทที่  1 ชุดการสอน ชุดสร้างความรู้ ประเภทที่  2 ประเภทที่  3 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ตอบภารกิจที่  4 เกณฑ์และเหตุผลที่ใช้ในการจำแนก ประเภทที่  1 ประเภทที่  2 เป็นกระบวนการจัดเนื้อหาวิชาให้แก่ผู้เรียนอย่างมีระบบ เช่น รูปภาพ สไลด์เทป ภาพยนตร์ แผ่นคำบรรยาย วัสดุอุปกรณ์ เป็นโปรแกรมช่วยสอน คอมพิวเตอร์สามารถโต้ตอบกับนักเรียนได้
ตอบภารกิจที่  4 ประเภทที่  3 -  เครื่องมือทางการศึกษาอย่างหนึ่งซึ่งสามารถทำให้นักเรียนคนหนึ่งรับรู้ประสบการณ์ที่จัดไว้เป็นอนุกรมตามลำดับขั้น -  เป็นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยี ปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน -  เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนตั้งแต่สองคนขึ้นไป เกณฑ์และเหตุผลที่ใช้ในการจำแนก
ตอบภารกิจที่  4 ชุดการสอน หมายถึง กระบวนการจัดเนื้อหาวิชาให้แก่ผู้เรียนอย่างมีระบบประกอบด้วยเนื้อหา ซึ่งอยู่ในรูปของสื่อการสอนประเภทต่างๆ ส่วนมากบรรจุไว้ในกล่อง และนำเคลื่อนย้ายไปในที่ต่างๆ ได้  ( พงษ์ศักดิ์ ปัญจพรผล , 2518)
ตอบภารกิจที่  4 ชุดสร้างความรู้ หมายถึง การวางแผนการเรียนโดยใช้สื่อผสมที่ผลิตขึ้นอย่างเป็นระบบ ที่ช่วยให้ผู้เรียนจัดรูปแบบของความรู้ความเข้าใจ หรือกระบวนการคิดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตอบภารกิจที่  4 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือสื่อที่ใช้ในการเรียนการสอนอันหนึ่ง  CAI  คล้ายกับสื่อการสอนอื่น ๆ เช่น วิดีโอช่วยสอน บัตรคำช่วยสอน โปสเตอร์ แต่คอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะดีกว่าตรงที่ตัวสื่อการสอน ซึ่งก็คือคอมพิวเตอร์นั้น สามารถโต้ตอบกับนักเรียนได้ ไม่ว่าจะเป็นการรับคำสั่งเพื่อมาปฏิบัติ ตอบคำถามหรือไม่เช่นนั้นคอมพิวเตอร์ก็จะเป็นฝ่ายป้อนคำถาม  ( นัยนา เอกบูรณวัฒน์ , 2539)
มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ คือ สื่อประสมที่พัฒนาให้สอดคล้องตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นการใช้สื่อในหลายรูปแบบไม่ว่าจะเป็น ข้อความ เสียง รูปภาพ หรือ ภาพเคลื่อนไหว สำหรับให้ข้อมูลความรู้หรือให้ความสำราญต่อผู้ชม เป็นสื่อที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนแก้ปัญหาจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจำวันและสร้างองค์ความรู้ขึ้นเอง โดยมีครูเป็นผู้คอยให้ความช่วยเหลือ
ตอบภารกิจที่  4 บทเรียนโปรแกรม คือ เครื่องมือทางการศึกษาอย่างหนึ่งซึ่งสามารถทำให้นักเรียนคนหนึ่งรับรู้ประสบการณ์ที่จัดไว้เป็นอนุกรมตามลำดับขั้น ตามที่ผู้จัดทำบทเรียนเชื่อว่าจะนำนักเรียนไปสู่ขีดความสามารถที่ต้องการให้เกิดขึ้น คือ การเขียนตำราวิธีหนึ่งที่แตกต่างออกไปจากตำราที่ใช้กันอยู่ทั่วไปข้อแตกต่างอยู่ที่การจัดเรียงลำดับเนื้อเรื่อง โดยแบ่งหน่วยและลำดับขั้นย่อย ๆ ที่เรียกว่า เฟรม  ( Frame)  แต่ละหน่วยมีคำตอบที่ถูกต้องไว้ให้ตรวจสอบได้
ตอบภารกิจที่  4 เว็บเพื่อการสอนสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย เป็นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยี ปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนรู้และแก้ปัญหาในเรื่องข้อจำกัดทางด้านสถานที่และเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกต์ใช้คุณสมบัติ และทรัพยากรของเวิลด์ ไวด์ เว็บ ในการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผ่านเว็บนี้ อาจเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียนการสอนก็ได้
ตอบภารกิจที่  4 การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนตั้งแต่สองคนขึ้นไปหรือโดยการแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อยๆ ส่งเสริมให้ผู้เรียนทำกิจกรรมร่วมกัน โดยในกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกที่มีความสามารถแตกต่างกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือพึ่งพากัน มีความรับผิดชอบร่วมกัน ทั้งในส่วนตนและส่วนรวม เพื่อให้ตนเองและสมาชิกทุกคนในกลุ่มประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งตรงข้ามกับการเรียนที่เน้นการแข่งขันและการเรียนตามลำพัง
สมาชิก โรงเรียนอนุบาลขอนแก่น 1.  นายปลาย  งามจิตร  503050357-5  2.  นางสาวธิดาวรรณ  กุลโฮง  503050350-9 3.  นางสาวจิราภรณ์  ตลับเพชร  503050576-3 4.  นางสาวจุฑารัตน์  แควภูเขียว  503050577-1 5.  นางสาวพรทิพย์  เกตุเวียง  503050583-6

Contenu connexe

Tendances

สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมpimporn454
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11nilobon66
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
ทฤษฎีการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการออกแบบการสอนทฤษฎีการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการออกแบบการสอนdeathnote04011
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์jariya221
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางNampeung Kero
 
โครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerโครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerUnity' Aing
 
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้าการสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้าDueansc
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมUraiwan Chankan
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมNut Kung
 
ทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอนทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอนPornpichit55
 

Tendances (18)

สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
ทฤษฎีการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการออกแบบการสอนทฤษฎีการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการออกแบบการสอน
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
Instdev
InstdevInstdev
Instdev
 
โครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerโครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart ruller
 
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้าการสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
 
ทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอนทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอน
 

En vedette

ใบความรู้ที่2 การจัดการซีน
ใบความรู้ที่2 การจัดการซีนใบความรู้ที่2 การจัดการซีน
ใบความรู้ที่2 การจัดการซีนKomkai Pawuttanon
 
เทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้น
เทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้นเทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้น
เทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้นJintana_may
 
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทยคู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทยNara Tuntratisthan
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นSuphol Sutthiyutthasenee
 
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน  อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน  อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...Atita Rmutsv
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Teerasak Nantasan
 
6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ
6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ
6 4-เทคนิคการถ่ายภาพpatmalya
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาคีตะบลู รักคำภีร์
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 
บทที่ 6 การรีทัชภาพ
บทที่ 6 การรีทัชภาพบทที่ 6 การรีทัชภาพ
บทที่ 6 การรีทัชภาพtonta01
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นแบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นChamp Woy
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPipit Sitthisak
 
ภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นWorapon Masee
 
การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ StoryboardKrongkaew kumpet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลAtiwat Patsarathorn
 

En vedette (20)

ใบความรู้ที่2 การจัดการซีน
ใบความรู้ที่2 การจัดการซีนใบความรู้ที่2 การจัดการซีน
ใบความรู้ที่2 การจัดการซีน
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
เทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้น
เทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้นเทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้น
เทคนิคการถ้ายภาพเบื้อต้น
 
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทยคู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน  อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน  อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ
6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ
6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 6 การรีทัชภาพ
บทที่ 6 การรีทัชภาพบทที่ 6 การรีทัชภาพ
บทที่ 6 การรีทัชภาพ
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
 
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นแบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
 
ภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้น
 
การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ Storyboard
 
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
 

Similaire à Kku5

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 

Similaire à Kku5 (20)

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 

Kku5

  • 2. ภารกิจที่ 1 กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร   และสิ่งใดเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ดังกล่าว
  • 3. ตอบภารกิจที่ 1 เป็นวิธีการคิดอย่างเป็นกระบวนการ เพื่อหาวิธีการในการออกแบบรูปแบบการสอนให้มีความเหมาะสมและดีขึ้นกว่าวิธีการสอนแบบเดิมๆซึ่งการออกแบบการสอนนี้จะนำไปสู่ความเป็นเลิศและทันต่อการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน
  • 4.
  • 5. ภารกิจที่ 2 พื้นฐานทฤษฏีการเรียนรู้ที่สำคัญในการออกแบบการสอนมีอะไรบ้างและมีสาระสำคัญอย่างไรมีความแตกต่างกันอย่างไร ?
  • 6. ตอบภารกิจที่ 2 การเรียนรู้คือกระบวนการที่ทำให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรียนได้จากการได้ยินการสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยีการเรียนรู้จะเกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่ผู้สอนนำเสนอ โดยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผู้สอนจะเป็นผู้ที่สร้างบรรยากาศทางจิตวิทยาที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ ดังนั้น ผู้สอนจะต้องพิจารณาเลือกรูปแบบการสอน รวมทั้งการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน
  • 7. ตอบภารกิจที่ 2 เป็นกระบวนการการออกแบบการสอนเป็นการพัฒนาด้านการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบโดยการนำทฤษฎี การเรียนรู้และการสอนมาใช้เพื่อประกันเกี่ยวกับคุณภาพด้านการเรียนการสอนเป็นกระบวนการ ทั้งหมดของการวิเคราะห์ความต้องการของการเรียน เป้าหมายของการเรียนรู้ และการพัฒนา
  • 9. การออกแบบการสอนตามกลุ่มพฤติกรรมนิยม ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรมนิยม มุ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า ( Stimulus) กับการตอบสนอง ( Response) หรือพฤติกรรมที่แสดงออกมาซึ่งจะให้ความสนใจกับพฤติกรรมที่สามารถวัดและสังเกตจากภายนอกได้และเน้นความสำคัญของสิ่งแวดล้อมเพราะเชื่อว่าสิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวที่กำหนดพฤติกรรม
  • 10. กฎเกณฑ์ของผู้สอนเกี่ยวกับพฤติกรรมนิยม ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรมนิยม การตอบสนองของการเรียนรู้ ขึ้นอยู่กับครูผู้สอน สิ่งเหล่านี้คือ สภาพแวดล้อมที่ผู้สอนจัดขึ้น   ผู้สอนเป็นคนกำหนดจัดทำและควบคุมสภาพแวดล้อมต่อผู้เรียน   การเรียนรู้จึงเป็นการคิดขึ้นมา โดยผู้สอนที่เน้นไปที่พฤติกรรมการเสริมแรง   เมื่อใช้เทคนิควิธีการในสภาพเช่นนี้ จุดประสงค์การเรียนรู้จึงเป็นพฤติกรรมของผู้เรียน   ที่ได้มีการจัดเตรียมไว้ , การให้รางวัล , และการให้ความสำคัญในวิธีเช่นนี้ ก็คือ   การเสริมแรงพฤติกรรม
  • 11. วิธีการเรียนการสอนที่ใช้กับกลุ่มพฤติกรมนิยม   ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรมนิยม 1. การสอนตรง ๆ   หรือการแสดงให้ดู 2. การให้ทำแบบฝึกหัดและปฏิบัติ หรือการทำซ้ำ ๆ 3. การสอนเกมต่างๆ  
  • 12. เมื่อไรจะใช้แนวกลุ่มพฤติกรรมนิยม ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรมนิยม 1)   ผู้เรียนไม่มีประสบการณ์หรือมีแต่น้อยมาก หรือไม่มีองค์ความรู้แรก ๆของวิชานั้น 2)   การระลึกถึงจดจำข้อเท็จจริงพื้นฐาน หรือการตอบสนองอย่างอัตโนมัติที่ต้องการให้เกิด 3)   ภาระงานที่ต้องการเสร็จสมบูรณ์เพียงเล็กน้อย ( ภาระงานเล็กๆ )   ซึ่งไม่เบี่ยงเบนไปจากมาตรฐานการ ปฏิบัติการ   (Performance  standard)
  • 13. 4)   ผู้เรียนจะได้ความรอบรู้มาโดยการเสริมแรงอย่างต่อเนื่องในพฤติกรรมที่ต้องการ 5)   ต้องการความถูกต้องและความรวดเร็วซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างมาก   6)   การเรียนการสอนต้องการให้เกิดผลสำเร็จภายในช่วงระยะเวลาอันสั้น ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรมนิยม เมื่อไรจะใช้แนวกลุ่มพฤติกรรมนิยม
  • 14. ทฤษฏีกลุ่มพฤติกรรมนิยม ทักษะที่ควรได้รับการเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม 1)   ชนิดของข้อมูลสารสนเทศพื้นฐาน หรือข้อมูลที่จะนำเข้า 2)   การทดสอบการทดลองพื้นฐาน หรือวิธีการเบื้องต้น 3)   การเปลี่ยนน้ำมันในเครื่องยนต์ ( ทักษะพื้นฐานง่ายๆ ) 4)   การสะกดคำหรือการเรียนรู้ตารางสูตรคูณ   ( ทักษะพื้นฐาน ) 5) การพูดด้วยเจตนาที่จะช่วยเหลือ จากถ้อยคำที่จัดเรียงลำดับอย่างเป็นระเบียบ ( ทักษะพื้นฐาน )
  • 15. ทฤษฏีกลุ่มพุทธิปัญญานิยม การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณและด้านคุณภาพ คือนอกจากผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว   ยังสามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ   และสามารถถ่ายโยงความรู้และทักษะเดิม   หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล้ว ไปสู่บริบทและปัญหาใหม่
  • 16. ทฤษฏีกลุ่มพุทธิปัญญานิยม วิธีการจัดการเรียนการสอนที่ใช้กับแนวคิดกระบวนการประมวลข้อมูลสารสนเทศทางปัญญา ( CIP)  มีดังนี้ 1)   การจัดให้โต้เถียงอภิปรายและการให้เหตุผล 2)   การให้แก้ปัญหาและจัดทำโครงงานที่ยุ่งยากลำบาก 3) การเปรียบเทียบ ( อุปมา ) หรือ ถ้อยคำ สำนวนอุปมา อุปมัย 4) การจำแยกแยะหรือการให้ทำงานเป็นชิ้นเป็นอันของข้อมูลสารสนเทศภายใต้การให้เหตุผลของกลุ่มผู้เรียน 5)   การให้เขียนสำนวนหรือคำประพันธ์สั้น ๆ ( การย่อหรือข้อความที่ช่วยให้ผู้เรียนจำได้ )
  • 17. ทฤษฏีกลุ่มพุทธิปัญญานิยม ทักษะต่าง ๆ ที่ควรได้รับการเรียนรู้จากกระบวนการประมวลผลทางปัญญา ( CIP) 1)    ความสามารถพื้นฐานคอมพิวเตอร์ที่มีความยุ่งยาก หรือปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวด้วยเครื่องจักร 2)   การจัดจำแนกแยกแยะความเสียหาย    อันตรายที่จะเกิดขึ้นที่มีจำนวนมากมาย 3)   อธิบายและจำแนกวัตถุต่างๆ   ที่มีความเสี่ยงภัย อันตรายและการเก็บรักษาอย่างถูกต้องและการเคลื่อนย้าย 4)   การกะประมาณเวลาของการออกคำสั่งการเดินเรือ
  • 18. ทฤษฏีกลุ่มการสร้างสรรค์องค์ความรู้ด้วยปัญญา ความรู้เกิดจากประสบการณ์   และกระบวนการในการสร้างความรู้ หรือเกิดจากการกระทำ โดยที่ผู้เรียนสร้างเสริมความรู้ผ่านกระบวนการทางจิตวิทยาด้วยตนเอง ครูผู้สอนสามารถช่วยให้ผู้เรียนปรับขยายโครงสร้างทางปัญญา โดยการจัดสภาพการณ์ที่ทำให้เกิดภาวะ เสียสมดุล หรือก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญาขึ้น ซึ่งก็คือสภาวะที่โครงสร้างทางปัญญาเดิมใช้ไม่ได้ต้องมีการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องประสบการณ์มากขึ้นหรือเกิดโครงสร้างทางปัญญาใหม่ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
  • 19. ทฤษฏีกลุ่มการสร้างสรรค์องค์ความรู้ด้วยปัญญา วิธีการจัดการเรียนการสอนเมื่อใช้แนวคิดของ Consturctivism 1)   กรณีศึกษา ( case studies) หรือการแก้ปัญหาเพื่อการเรียนรู้ 2)   การนำเสนอผลงาน / ชิ้นงานให้ปรากฏแก่สายตาหลายด้าน หลาย มิติหรือการจัดทำสื่อแนะแนวทาง                                 3)   การกำกับดูแลหรือการฝึกงาน 4)   การเรียนรู้ร่วมกัน ( collaborative learning)        5)   การเรียนรู้โดยการสืบค้น ( Discovery learning) 6)   การเรียนรู้โดยการกำหนดสถานการณ์
  • 20.
  • 21. ภารกิจที่ 3 ให้วิเคราะห์และวิพากษ์จุดเด่นและจุดด้อยของการออกแบบการสอนที่มีพื้นฐานจากทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม พุทธิปัญญานิยมและคอนสตรัคติวิสต์
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25. ภารกิจที่ 4 จากสิ่งที่กำหนดต่อไปนี้ให้ท่านจำแนกประเภทตามลักษณะการออกแบบโดยระบุเกณฑ์และเหตุผลที่ใช้ในการจำแนกด้วย ชุดการสอน ชุดสร้างความรู้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ บทเรียนโปรแกรม เว็บเพื่อการสอน สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย การเรียนแบบ ร่วมมือกันเรียนรู้
  • 26. ตอบภารกิจที่ 4 จำแนกประเภทตามลักษณะการออกแบบ บทเรียนโปรแกรม เว็บเพื่อการสอนสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ ประเภทที่ 1 ชุดการสอน ชุดสร้างความรู้ ประเภทที่ 2 ประเภทที่ 3 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
  • 27. ตอบภารกิจที่ 4 เกณฑ์และเหตุผลที่ใช้ในการจำแนก ประเภทที่ 1 ประเภทที่ 2 เป็นกระบวนการจัดเนื้อหาวิชาให้แก่ผู้เรียนอย่างมีระบบ เช่น รูปภาพ สไลด์เทป ภาพยนตร์ แผ่นคำบรรยาย วัสดุอุปกรณ์ เป็นโปรแกรมช่วยสอน คอมพิวเตอร์สามารถโต้ตอบกับนักเรียนได้
  • 28. ตอบภารกิจที่ 4 ประเภทที่ 3 - เครื่องมือทางการศึกษาอย่างหนึ่งซึ่งสามารถทำให้นักเรียนคนหนึ่งรับรู้ประสบการณ์ที่จัดไว้เป็นอนุกรมตามลำดับขั้น - เป็นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยี ปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน - เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนตั้งแต่สองคนขึ้นไป เกณฑ์และเหตุผลที่ใช้ในการจำแนก
  • 29. ตอบภารกิจที่ 4 ชุดการสอน หมายถึง กระบวนการจัดเนื้อหาวิชาให้แก่ผู้เรียนอย่างมีระบบประกอบด้วยเนื้อหา ซึ่งอยู่ในรูปของสื่อการสอนประเภทต่างๆ ส่วนมากบรรจุไว้ในกล่อง และนำเคลื่อนย้ายไปในที่ต่างๆ ได้ ( พงษ์ศักดิ์ ปัญจพรผล , 2518)
  • 30. ตอบภารกิจที่ 4 ชุดสร้างความรู้ หมายถึง การวางแผนการเรียนโดยใช้สื่อผสมที่ผลิตขึ้นอย่างเป็นระบบ ที่ช่วยให้ผู้เรียนจัดรูปแบบของความรู้ความเข้าใจ หรือกระบวนการคิดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 31. ตอบภารกิจที่ 4 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือสื่อที่ใช้ในการเรียนการสอนอันหนึ่ง CAI คล้ายกับสื่อการสอนอื่น ๆ เช่น วิดีโอช่วยสอน บัตรคำช่วยสอน โปสเตอร์ แต่คอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะดีกว่าตรงที่ตัวสื่อการสอน ซึ่งก็คือคอมพิวเตอร์นั้น สามารถโต้ตอบกับนักเรียนได้ ไม่ว่าจะเป็นการรับคำสั่งเพื่อมาปฏิบัติ ตอบคำถามหรือไม่เช่นนั้นคอมพิวเตอร์ก็จะเป็นฝ่ายป้อนคำถาม ( นัยนา เอกบูรณวัฒน์ , 2539)
  • 32. มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ คือ สื่อประสมที่พัฒนาให้สอดคล้องตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นการใช้สื่อในหลายรูปแบบไม่ว่าจะเป็น ข้อความ เสียง รูปภาพ หรือ ภาพเคลื่อนไหว สำหรับให้ข้อมูลความรู้หรือให้ความสำราญต่อผู้ชม เป็นสื่อที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนแก้ปัญหาจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจำวันและสร้างองค์ความรู้ขึ้นเอง โดยมีครูเป็นผู้คอยให้ความช่วยเหลือ
  • 33. ตอบภารกิจที่ 4 บทเรียนโปรแกรม คือ เครื่องมือทางการศึกษาอย่างหนึ่งซึ่งสามารถทำให้นักเรียนคนหนึ่งรับรู้ประสบการณ์ที่จัดไว้เป็นอนุกรมตามลำดับขั้น ตามที่ผู้จัดทำบทเรียนเชื่อว่าจะนำนักเรียนไปสู่ขีดความสามารถที่ต้องการให้เกิดขึ้น คือ การเขียนตำราวิธีหนึ่งที่แตกต่างออกไปจากตำราที่ใช้กันอยู่ทั่วไปข้อแตกต่างอยู่ที่การจัดเรียงลำดับเนื้อเรื่อง โดยแบ่งหน่วยและลำดับขั้นย่อย ๆ ที่เรียกว่า เฟรม ( Frame) แต่ละหน่วยมีคำตอบที่ถูกต้องไว้ให้ตรวจสอบได้
  • 34. ตอบภารกิจที่ 4 เว็บเพื่อการสอนสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย เป็นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยี ปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนรู้และแก้ปัญหาในเรื่องข้อจำกัดทางด้านสถานที่และเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกต์ใช้คุณสมบัติ และทรัพยากรของเวิลด์ ไวด์ เว็บ ในการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผ่านเว็บนี้ อาจเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียนการสอนก็ได้
  • 35. ตอบภารกิจที่ 4 การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนตั้งแต่สองคนขึ้นไปหรือโดยการแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อยๆ ส่งเสริมให้ผู้เรียนทำกิจกรรมร่วมกัน โดยในกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกที่มีความสามารถแตกต่างกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือพึ่งพากัน มีความรับผิดชอบร่วมกัน ทั้งในส่วนตนและส่วนรวม เพื่อให้ตนเองและสมาชิกทุกคนในกลุ่มประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งตรงข้ามกับการเรียนที่เน้นการแข่งขันและการเรียนตามลำพัง
  • 36. สมาชิก โรงเรียนอนุบาลขอนแก่น 1. นายปลาย งามจิตร 503050357-5  2. นางสาวธิดาวรรณ กุลโฮง 503050350-9 3. นางสาวจิราภรณ์ ตลับเพชร 503050576-3 4. นางสาวจุฑารัตน์ แควภูเขียว 503050577-1 5. นางสาวพรทิพย์ เกตุเวียง 503050583-6