SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
Télécharger pour lire hors ligne
Turner’s syndrome
               สมาชิก

น.ส. ทิพชรัตน์ ประทุมคา          เลขที่ 7
น.ส. วีรวรรณ พามี              เลขที่18
นาย ชัยธวัช      สุดประเสริฐ   เลขที่20
นาย สมภพ        ไก่แก้ว         เลขที่21
น.ส.ขนิษฐา     เจริญพร         เลขที่22
น.ส. จิราภรณ์ โสภา              เลขที่24
Turner’s syndrome
      เมื่อปีค.ศ. 1938 โดยนายแพทย์ Henry Turner มีการค้นพบโรคทางพันธุกรรม
ชนิดหนึ่งที่ชื่อว่า “โรคเทอร์เนอร์ซินโดรม“ ซึ่งในขณะนั้นเป็นโรคที่พบได้บ่อย
พอสมควรโดยพบประมาณ 1 ต่อ 2,000 ของเด็กเพศหญิงแรกเกิด แต่ในยุคนั้นไม่มี
ใครทราบว่าโรคนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร จนถึงปี ค.ศ.1959 ฟอร์ด (Ford) จึงพบว่าคนที่
เป็นกลุ่มอาการนี้มีสาเหตุมาจากโครโมโซมเพศเป็น X ตัวเดียวซึ่งขาดหายไป 1
โครโมโซม จึงมีคารีโอไทป์เป็น 45, XO (monosomie ของโครโมโซม -x) แต่ใน
ปัจจุบันนี้มีการพบประมาณ 1 ต่อ 5,000 อาจทั้งเพศชายและหญิง
อาการของโรค
    ลั กษณะของผู้ป่วยโรคนี้คือ รูปร่างเตี้ ย
คอสั้นและเป็นแผ่นกว้าง คล้ายปีกจากต้นคอ
มาจรดที่หัวไหล่ หน้าอกกว้าง หัวนมเล็ก
และห่างกัน ใบหูมีรูปร่างผิดปกติ มีนาดใหญ่
และอยู่ ต่ า ไม่ มี ป ระจ่ า เดื อ น เป็ น หมั น
มดลู ก ขนาดเล็ ก และรั ง ไข่ ฝ่ อ ผลิ ต ไข่ ไ ม่ ไ ด้
เป็นปัญญาอ่อน มีอายุยืนเท่ากับคนปกติใน
วัยแรกเกิดอาจจะมีความผิดปกติของระบบ
หั ว ใจและหลอดเลื อ ด ความผิ ด ปกติ ข อง
ระบบไตและทางเดินปัสสาวะร่วมด้วย
สาเหตุ
• เกิดจากความผิดปกติหรือการ
  เปลี่ยนแปลงของโครโมโซม คือเกิดการ
  ลดจ่านวนชุดของโครโมโซม ท่าให้มี
  โครโมโซมเป็น 44 + XO ซึ่งเกิดจาก
  ความผิดพลาดในระหว่างการแบ่งเซลล์
  และส่งผลต่อลักษณะฟีโนไทป์ของคน
การรักษา
•         ในลักษณะของโรคนี้คือขึ้น ตัวเตี้ย
    และไม่มีอาการแสดงของการเข้าสู่วัย
    สาวได้แก่ ไม่มีการพัฒนาของเต้านม ไม่
    มีประจ่าเดือน เป็นต้น ซึ่งมีเหตุ
    เนื่องมาจากมีการฝ่อไปของรังไข่นั่นเอง
    การรักษาคือจ่าเป็นต้องให้ ฮอร์โมน
    ผู้หญิงทดแทน และยังมีการฉีดฮอร์โมน
    การเจริญเติบโตให้อีกด้วยเพราะ
    เนื่องจากเด็กเหล่านี้มีลักษณะที่เตี้ยมาก
วิธป้องกัน
                                      ี

•        สามารถตรวจได้ตั้งแต่เป็นทารกในครรภ์ หรือเกิดมาแล้วค่อยตรวจก็ได้ค่ะ ขึ้นอยู่ว่า
    จะตรวจเพื่ออะไร เช่น ตรวจเพื่อดูว่าลูกหรือทารก จะเป็นโรคที่รุนแรงอย่างที่คนใน
    ครอบครัวเคยมีประวัติหรือไม่ ซึ่งอาจพิจารณาตรวจตั้งแต่ลูกอยู่ในครรภ์โดยเจาะน้่าคร่่า
    หรือน้่าชิ้นรกออกมาตรวจ ถ้าตอนอายุครรภ์ 3-4 เดือน ตรวจแล้วพบว่าเป็นโรคที่
    รุนแรง ก็ต้องพิจารณาว่าพ่อแม่คิดอย่างไร และจะท่าอย่างไร หากมีสมาชิกในครอบครัว
    เป็นโรคทางพันธุกรรม ก็ไม่ต้องรอจนตั้งครรภ์แล้วค่อยมาตรวจ แต่วิธีที่ดีที่สุดคือให้มา
    ปรึกษาแพทย์เพื่อวางแผนก่อนตั้งครรภ์
บรรณานุกรม
• http://www.biology.iupui.edu
• http://www.clinicrak.com/article/disarticle.php?no=245
• http://www.snr.ac.th/elearning/siriporn/sec05p
• http://www.krucherdpua.com/wp-
content/uploads/2008/stuweb/813/Picture/turnersyndrome1.jpg&I mgrefurl
• http://www.bioarunya.th.gs

Contenu connexe

Tendances

นิ้ง ป๊อบ3
นิ้ง  ป๊อบ3นิ้ง  ป๊อบ3
นิ้ง ป๊อบ3supphawan
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมAnny Na Sonsawan
 
ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์passaraporn
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมfainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมfainaja
 
ภาวะมีบุตรยากA
ภาวะมีบุตรยากAภาวะมีบุตรยากA
ภาวะมีบุตรยากAOnprapa Wannasut
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนKornnicha Wonglai
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรSasithon Charoenchai
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากfainaja
 
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมพราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมpias002
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 

Tendances (16)

นิ้ง ป๊อบ3
นิ้ง  ป๊อบ3นิ้ง  ป๊อบ3
นิ้ง ป๊อบ3
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
 
ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
 
ภาวะมีบุตรยากA
ภาวะมีบุตรยากAภาวะมีบุตรยากA
ภาวะมีบุตรยากA
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
 
Dwarfism (Poster)
Dwarfism (Poster)Dwarfism (Poster)
Dwarfism (Poster)
 
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมพราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
 
Teenage pregnancy
Teenage pregnancyTeenage pregnancy
Teenage pregnancy
 
โรค
โรค โรค
โรค
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 

Similaire à โรคทางพันธุกรรม

บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมAnny Na Sonsawan
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
Health today _may_12
Health today _may_12Health today _may_12
Health today _may_12sms_msn_
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ssuser48f3f3
 
โรคมะเร็ง
โรคมะเร็งโรคมะเร็ง
โรคมะเร็งsantti2055
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1tanyapornrattanapan
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
ให้ความรู้สู้โรคเบาหวาน
ให้ความรู้สู้โรคเบาหวานให้ความรู้สู้โรคเบาหวาน
ให้ความรู้สู้โรคเบาหวานMay Pasapun
 
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)ไทเก็ก นครสวรรค์
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
poster_Tatsida_154_No5
poster_Tatsida_154_No5poster_Tatsida_154_No5
poster_Tatsida_154_No5ssuser6586c7
 

Similaire à โรคทางพันธุกรรม (20)

Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
Health today _may_12
Health today _may_12Health today _may_12
Health today _may_12
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
กลุ่ม 1
กลุ่ม 1กลุ่ม 1
กลุ่ม 1
 
Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011
 
โรคมะเร็ง
โรคมะเร็งโรคมะเร็ง
โรคมะเร็ง
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34
 
ให้ความรู้สู้โรคเบาหวาน
ให้ความรู้สู้โรคเบาหวานให้ความรู้สู้โรคเบาหวาน
ให้ความรู้สู้โรคเบาหวาน
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
poster_Tatsida_154_No5
poster_Tatsida_154_No5poster_Tatsida_154_No5
poster_Tatsida_154_No5
 

โรคทางพันธุกรรม

  • 1. Turner’s syndrome สมาชิก น.ส. ทิพชรัตน์ ประทุมคา เลขที่ 7 น.ส. วีรวรรณ พามี เลขที่18 นาย ชัยธวัช สุดประเสริฐ เลขที่20 นาย สมภพ ไก่แก้ว เลขที่21 น.ส.ขนิษฐา เจริญพร เลขที่22 น.ส. จิราภรณ์ โสภา เลขที่24
  • 2. Turner’s syndrome เมื่อปีค.ศ. 1938 โดยนายแพทย์ Henry Turner มีการค้นพบโรคทางพันธุกรรม ชนิดหนึ่งที่ชื่อว่า “โรคเทอร์เนอร์ซินโดรม“ ซึ่งในขณะนั้นเป็นโรคที่พบได้บ่อย พอสมควรโดยพบประมาณ 1 ต่อ 2,000 ของเด็กเพศหญิงแรกเกิด แต่ในยุคนั้นไม่มี ใครทราบว่าโรคนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร จนถึงปี ค.ศ.1959 ฟอร์ด (Ford) จึงพบว่าคนที่ เป็นกลุ่มอาการนี้มีสาเหตุมาจากโครโมโซมเพศเป็น X ตัวเดียวซึ่งขาดหายไป 1 โครโมโซม จึงมีคารีโอไทป์เป็น 45, XO (monosomie ของโครโมโซม -x) แต่ใน ปัจจุบันนี้มีการพบประมาณ 1 ต่อ 5,000 อาจทั้งเพศชายและหญิง
  • 3.
  • 4. อาการของโรค ลั กษณะของผู้ป่วยโรคนี้คือ รูปร่างเตี้ ย คอสั้นและเป็นแผ่นกว้าง คล้ายปีกจากต้นคอ มาจรดที่หัวไหล่ หน้าอกกว้าง หัวนมเล็ก และห่างกัน ใบหูมีรูปร่างผิดปกติ มีนาดใหญ่ และอยู่ ต่ า ไม่ มี ป ระจ่ า เดื อ น เป็ น หมั น มดลู ก ขนาดเล็ ก และรั ง ไข่ ฝ่ อ ผลิ ต ไข่ ไ ม่ ไ ด้ เป็นปัญญาอ่อน มีอายุยืนเท่ากับคนปกติใน วัยแรกเกิดอาจจะมีความผิดปกติของระบบ หั ว ใจและหลอดเลื อ ด ความผิ ด ปกติ ข อง ระบบไตและทางเดินปัสสาวะร่วมด้วย
  • 5.
  • 6. สาเหตุ • เกิดจากความผิดปกติหรือการ เปลี่ยนแปลงของโครโมโซม คือเกิดการ ลดจ่านวนชุดของโครโมโซม ท่าให้มี โครโมโซมเป็น 44 + XO ซึ่งเกิดจาก ความผิดพลาดในระหว่างการแบ่งเซลล์ และส่งผลต่อลักษณะฟีโนไทป์ของคน
  • 7. การรักษา • ในลักษณะของโรคนี้คือขึ้น ตัวเตี้ย และไม่มีอาการแสดงของการเข้าสู่วัย สาวได้แก่ ไม่มีการพัฒนาของเต้านม ไม่ มีประจ่าเดือน เป็นต้น ซึ่งมีเหตุ เนื่องมาจากมีการฝ่อไปของรังไข่นั่นเอง การรักษาคือจ่าเป็นต้องให้ ฮอร์โมน ผู้หญิงทดแทน และยังมีการฉีดฮอร์โมน การเจริญเติบโตให้อีกด้วยเพราะ เนื่องจากเด็กเหล่านี้มีลักษณะที่เตี้ยมาก
  • 8. วิธป้องกัน ี • สามารถตรวจได้ตั้งแต่เป็นทารกในครรภ์ หรือเกิดมาแล้วค่อยตรวจก็ได้ค่ะ ขึ้นอยู่ว่า จะตรวจเพื่ออะไร เช่น ตรวจเพื่อดูว่าลูกหรือทารก จะเป็นโรคที่รุนแรงอย่างที่คนใน ครอบครัวเคยมีประวัติหรือไม่ ซึ่งอาจพิจารณาตรวจตั้งแต่ลูกอยู่ในครรภ์โดยเจาะน้่าคร่่า หรือน้่าชิ้นรกออกมาตรวจ ถ้าตอนอายุครรภ์ 3-4 เดือน ตรวจแล้วพบว่าเป็นโรคที่ รุนแรง ก็ต้องพิจารณาว่าพ่อแม่คิดอย่างไร และจะท่าอย่างไร หากมีสมาชิกในครอบครัว เป็นโรคทางพันธุกรรม ก็ไม่ต้องรอจนตั้งครรภ์แล้วค่อยมาตรวจ แต่วิธีที่ดีที่สุดคือให้มา ปรึกษาแพทย์เพื่อวางแผนก่อนตั้งครรภ์
  • 9. บรรณานุกรม • http://www.biology.iupui.edu • http://www.clinicrak.com/article/disarticle.php?no=245 • http://www.snr.ac.th/elearning/siriporn/sec05p • http://www.krucherdpua.com/wp- content/uploads/2008/stuweb/813/Picture/turnersyndrome1.jpg&I mgrefurl • http://www.bioarunya.th.gs