SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
Télécharger pour lire hors ligne
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ รายวิชา ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖
เวลาสอบ ๖๐ นาที คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน
***************************************************************************************
คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว จากนั้นฝนคาตอบด้วยดินสอ 2B ลงใน
กระดาษคาตอบ
: ภายในข้อสอบมีทั้งหมด ๕ แผ่น ๙ หน้า จานวน ๘๐ ข้อ หากไม่ครบหรือมีปัญหาใดให้
ติดต่อคุณครูผู้คุมสอบทันที
***************************************************************************************
๑. ข้อใดเป็นองค์ประกอบของคาในภาษาไทย
1. เสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์
2. เสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงตัวสะกด
3. เสียงพยัญชนะและเสียงสระ
4. เสียงอักษร เสียงคา และเสียงพยางค์
๒. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับพยัญชนะไทย
1. พยัญชนะไทยมี ๒๑ รูป ๔๔ เสียง
2. พยัญชนะไทยมี ๔๔ รูป ๔๔ เสียง
3. พยัญชนะไทยมีพยัญชนะต้น ๒๑ เสียง
พยัญชนะต้น ๘ เสียง
4. พยัญชนะไทยมีพยัญชนะต้น ๘ เสียง
พยัญชนะต้น ๘ เสียง
๓. ข้อใดมีจานวนเสียงควบกล้ามากที่สุด
1. กระเต็นกระตั้วตื่น แตกคน
2. ยูงย่องยอดยูงยล โยกย้าย
3. นกเปล้านกปลีปน ปลอมแปลก
4. คล่าคล่าคลิ้งโคลงคล้าย คลอเคลีย
๔. ข้อใดมีสระประสม
1. ง่วงเหงา 2. โงกเงก
3. งุ่มง่าม 4. เงอะงะ
๕. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสระในภาษาไทย
1. สระไทยมี ๒๑ คู่ ประกอบด้วยสระแท้ ๓
คู่ สระเลื่อน ๑๘ คู่
2. สระไทยมี ๑๒ คู่ ประกอบด้วยสระแท้ ๙
คู่ สระเลื่อน ๓ คู่
3. สระไทยมี ๒๑ คู่ ประกอบด้วยสระแท้
๑๘ คู่ สระเลื่อน ๓ คู่
4. สระไทยมี ๑๒ คู่ ประกอบด้วยสระแท้ ๓
คู่ สระเลื่อน ๙ คู่
๖. คาว่า “อีก” ในข้อใดออกเสียงยาว
1. ลองอีกทีอาจสาเร็จก็ได้
2. เกิดเหตุร้ายขึ้นอีกแล้ว
3. พูดอีก ก็ผิดอีก
4. หนังสือเล่มนี้ขายดี คงต้องพิมพ์ซ้าอีกครั้ง
๗. คาว่า “น้า” ในข้อใดออกเสียงสั้น
1. คนเราควรมีน้าใจต่อกัน
2. จงช่วยกันประหยัดน้า
3. ธาตุหลักในโลกคือ ดิน น้า ลม ไฟ
4. ถูกทุกข้อ
เนื้อหาภายในข้อสอบ
หลักภาษาและการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารชั้นม.๔
(กระทรวงศึกษาธิการ)
- เสียง - ภาษาเพื่อการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต
- อักษร – การเขียนโครงงานเพื่อการเรียนรู้
- คา
วรรณคดีวิจักษ์ชั้นม.๔
(กระทรวงศึกษาธิการ)
- บทที่ ๕ หัวใจชายหนุ่ม
- บทที่ ๗ มงคลสูตาคาฉันท์
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ร า ย วิ ช า ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ( ห น้ า | ๒ )
๘. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์เปลี่ยนระดับน้อยที่สุด
1. ง่วงเหงาโงกเงกโงนเงน
2. ง่อนแง่นโอนแอนงุ่มง่าม
3. เงอะงะงมงายวายวาม
4. ซุ่มซ่ามหงอยเหงาเว้าวอน
๙. เพราะเหตุใดคาในภาษาไทยจึงมีเสียงสูง-ต่า
1. เพราะมีเสียงพยัญชนะ
2. เพราะมีเสียงสระ
3. เพราะมีเสียงวรรณยุกต์
4. ข้อ 1. และข้อ 3. ถูก
๑๐. ภาษาที่มีวรรณยุกต์ มีลักษณะอย่างไร
1. เกิดเสียงสูง-ต่าในการพูด
2. ไม่มีความแตกต่างไปตามเสียงสูงต่า
3. มีการเน้นเสียงตามวรรณยุกต์ที่กากับ
4. มีการเปลี่ยนระดับเสียงของคาทาให้
ความหมายเปลี่ยนไป
๑๑. ข้อใดเขียนสะกดถูกต้องทุกคา
1. สังสรร คัดสรรค์
2. อุบาทว์ อานิสงส์
3. น้ามันก๊าซ ข้าวเหนียวมูล
4. ใบกะเพรา มัคคุเทศก์
๑๒. ข้อใดเขียนสะกดไม่ถูกต้อง
1. ข้อสอบชุดนี้โครตยากเลย
2. ตอนนี้เกิดเหตุจลาจลอยู่หน้าโรงเรียน
3. ผัดไทยร้านนี้อร่อยมาก
4. คุณลุงคนนี้พากย์หนังได้สนุกมาก
๑๓. ข้อใดคือคาที่เขียนต่างกัน ความหมายต่างกัน
แต่ออกเสียงเหมือนกัน
1. ประพาส – ประพาด – ประภาส
2. พันธุ์ – พรรณ – พันธ์ – ภัณฑ์
3. ศัลย์ – สัน – สรร – สรรพ์ – (อา)สัญ
4. ถูกทุกข้อ
๑๔. ข้อใดเขียนสะกดถูกต้องทุกคา
1. เขาลือกันว่าลิฟท์ชั้นนี้ผีดุมาก
2. เสื้อกาวด์ที่คุณหมอใส่มันดูหมองไปนะ
3. นายจ้างบอกให้คนงานปูซีเมนต์ตรงนี้
4. คฤหาสถ์หลังนี้ดูใหญ่โตมาก
๑๕. คาในข้อใดต่อไปนี้ออกเสียงไม่ถูกต้อง
1. มาตุภูมิ ออกเสียงว่า มา-ตุ-พูม
2. ชาติพันธุ์ ออกเสียงว่า ชาด-พัน
3. เมรุมาศ ออกเสียงว่า เม-รุ-มาด
4. ปรปักษ์ ออกเสียงว่า ปอ-ระ-ปัก
ให้นักเรียนใช้คาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ
๑๖ – ๒๐
เคล็ดลับการทาให้ร่างกายมีสุขภาพที่
แข็งแรงคือ การตื่นนอนแต่เช้าตรู่ รับอากาศ
บริสุทธิ์ จะทาให้ร่างกายรู้สึก..........(๑๖) ..........
หลังจากนั้นให้ดื่มสักหนึ่งแก้วเพื่อทาให้ร่างกายของ
เรารู้สึก..........(๑๗) .......... แค่นี้ก็จะทาให้ร่างกายดู
แข็งแรงและมีท่าทางที่..........(๑๘) ..........ก่อนไป
ทางานแล้ว
เธอจาได้ไหมว่าเธอมีอาการปัสสาวะ
..........(๑๙) ..........มาหลายวันแล้ว ตั้งแต่วันที่ฝน
ตก..........(๒๐) ..........วันนั้น
๒๑. ข้อใดอ่านออกเสียงอักษรนาทุกคา
1. สวัสดิ์ สมาคม ประโยชน์
2. สมุทัย เอกราช บัญญัติ
3. สวาหะ ริษยา ประมาท
4. สฤษฎ์ สมาคม สยมภู
1. กระฉับกระเฉง
2. กระปรี้กระเปร่า
3. กระชุ่มกระชวย
4. กะปริบกะปรอย
5. กะปริดกะปรอย
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ร า ย วิ ช า ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ( ห น้ า | ๓ )
๒๒. ตัวอักษร “ฑ” ในข้อใดอ่านออกเสียง /ด/
1. กุณฑล มณฑา
2. บัณเฑาะว์ บัณฑิต
3. คัณฑสูตร มณฑก
4. ขัณฑสีมา มัณฑนะ
๒๓. คาในข้อใดมีความหมายเชิงอุปมา
1. คืนนี้ฟ้าปิดคงไม่เห็นดาวหรอก
2. เห็นเด็กผู้หญิงสมัยนี้แล้ว คงเปรี้ยวน่าดู
3. สอบไล่คราวนี้ฉันต้องทาให้ดีที่สุด
4. ถูกทุกข้อ
๒๔. คาไวพจน์ในข้อใดมีความหมายต่างจากข้ออื่น
1. กุสุมา มาลี บุปผา
2. ผกา นฤมล บุหงา
3. มาลา พบู บุษบา
4. สุมาลี สุมน สุคนธชาติ
๒๕. ข้อใดจับคู่คาที่มีความหมายตรงข้ามกันไม่
ถูกต้อง
1. ยิ้ม – โกรธ
2. กลางวัน – กลางคืน
3. สุจริต – ทุจริต
4. ไม่มีข้อใดถูก
๒๖. คาในข้อใดต่อไปนี้ต่างจากพวก
1. เวชภัณฑ์ ประชาชน
2. เครื่องเขียน เครื่องครัว
3. พืช ทรัพย์
4. สติปัญญา ต้นไม้
๒๗. ข้อใดใช้ลักษณะนามได้ถูกต้อง
1. ชิงช้าอันนั้นดูเก่าคร่าครึ
2. ฉันต้องการพันธบัตรฉบับนั้น
3. เจดีย์องค์นั้นคงมีประวัติมายาวนาน
4. ถูกทุกข้อ
๒๗. ประโยคในข้อใดต่อไปนี้มีความหมายกากวม
1. ต่อไปนี้ไม่มีคนใช้แล้ว
2. หัวหน้าเก่งในการพูดมาก
3. เขานั่งอ่านหนังสือทั้งวันทั้งคืน
4. ส่วนมากคนที่เก่งมักจะเป็นคนขยัน
๒๘. จากข้อความข้างต้นควรเติมคาใดลงใน
ช่องว่างเพื่อให้ข้อความดูเหมาะสมที่สุด
1. ชิม, รับประทาน
2. รับประทาน, ชิม
3. รับประทาน, รับประทาน
4. ชิม, ชิม
๒๙. คาในข้อใดต่อไปนี้มีความหมายต่างจากพวก
1. ชุกชุม 2. ล้นหลาม
3. อุดมสมบูรณ์ 4. หนาแน่น
จงใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ ๓๐
๓๐. ข้อความข้างต้นมีการใช้คาบกพร่องอย่างไร
1. ใช้คาไม่ตรงตามความหมาย
2. ใช้คาไม่ตรงตามความนิยม
3. ใช้คาไม่เหมาะสมแก่กาลเทศะและบุคคล
4. ใช้คาซ้าซาก
๓๑. ข้อใดเป็นการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต
1. การส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
2. การส่งโทรเลขหากัน
3. การโทรศัพท์ถึงกัน
4. การส่งจดหมาย อีเอ็มเอส
อย่าใช้ทัพพีตักอาหารจากหม้อขึ้นมา
..............เพราะทั้งน่ารังเกียจ ทั้งผิดหลัก
อนามัย ควรตักใส่ถ้วยก่อนแล้วจึง..............
ข้าพเจ้ามีความสุขอยู่กับการเลี้ยงสัตว์
และปลูกต้นไม้ พอใจที่จะทาอาหาร
รับประทานเอง เพลิดเพลินกับรายการทาง
โทรทัศน์ นอกจากนี้ยังชอบไปท่องเที่ยวตาม
ต่างจังหวัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามชนบท
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ร า ย วิ ช า ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ( ห น้ า | ๔ )
๓๒. ภาษาที่นักเรียนใช้ในการสื่อสารผ่าน
อินเทอร์เน็ต ส่วนใหญ่ควรเป็นภาษาแบบใด
1. เป็นภาษาสละสลวย นุ่มนวล
2. เป็นภาษาที่รวบรัด
3. เป็นภาษาสแลง
4. เป็นภาษาที่เป็นทางการ
๓๓. ข้อใดเขียนสะกดไม่ถูกต้อง
1. เทคนิค ลายเซ็น
2. ฟังก์ชัน ออฟฟิศ
3. เปอร์เซ็นต์ เครื่องสาอางค์
4. ไฟแช็ก มัสตาร์ด
๓๔. เมื่อนักเรียนต้องการความช่วยเหลือหรือขอ
ความร่วมมือจากเพื่อน นักเรียนควรกล่าวคาว่า
อะไร
1. กรุณาโปรดสัตว์
2. โปรดเห็นแก่ลูกนกลูกกา
3. โปรดเมตตา
4. ขอความกรุณา โปรด ได้โปรด
จงใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ ๓๕
๓๕. ถ้านักเรียนต้องการสืบค้นข้อมูลนี้จาก
อินเทอร์เน็ต นักเรียนจะใช้คาหลักใดในการสืบค้น
1. สินค้าส่งออกของไทย
2. ผลิตภัณฑ์ชาวบ้าน
3. เครื่องจักรสานไทย
4. การรณรงค์การนิยมใช้ของไทย
๓๖. ในการทาโครงงาน ระยะที่ ๑ ของกิจกรรม
โครงงานคืออะไร
1. การรายงานผลการปฏิบัติ
2. การแก้ไขปรับปรุงเค้าโครง
3. การลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน
4. การออกแบบและเขียนเค้าโครง
๓๗. ในการทาโครงงาน นักเรียนควรมีขอบเขต
และระยะเวลาการทาโครงงานของนักเรียนอย่างไร
1. ควรกาหนดไว้กว้าง ๆ
2. ควรกาหนดเวลาเริ่มต้นไว้เท่านั้น
3. ควรมีกรอบกากับว่า จะให้ครอบคลุม
เนื้อหาแค่ไหน เริ่มต้นและสิ้นสุดเมื่อไร
4. จะกาหนดขอบเขตหรือระยะเวลาหรือไม่
ก็ได้
๓๘. ข้อใดไม่ใช่ประเด็นสาคัญในการนาเสนอหรือ
จัดแสดงโครงงาน
1. ชื่อโครงงาน
2. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
3. บรรณานุกรม
4. วิธีดาเนินการ
๓๙. การอธิบายอย่างย่อ ๆ ถึงเหตุจูงใจในการทา
โครงงานเป็นการนาเสนอหัวข้อใดต่อไปนี้
1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
2. บรรณานุกรม
3. วิธีดาเนินการ
4. สรุปและอภิปรายผล
เนื่องจากปัจจุบันมีการรณรงค์การนิยมใช้
ของไทยและส่งเสริมการใช้วัสดุธรรมชาติมาก
ขึ้น ประกอบกับฝีมือแรงงานในการจักสานของ
คนไทยมีความละเอียดอ่อน ทาให้สินค้าที่ออก
สู่ตลาดมีความสวยงามและดึงดูดผู้บริโภคทั้งใน
ประเทศและต่างประเทศ ทาให้แนวโน้มการ
บริโภคผลิตภัณฑ์เครื่องจักรสานมีแนวโน้มเพิ่ม
สูงขึ้น ทั้งตลาดภายในประเทศและการส่งออก
ผลิตภัณฑ์เครื่องจักรสานไทย
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ร า ย วิ ช า ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ( ห น้ า | ๕ )
๔๐. ข้อมูลต่อไปนี้ ควรนาไปประกอบการทา
รายงานในเรื่องใดมากที่สุด
1. การเตรียมตัวปลดเกษียณ
2. ความสุขของผู้สูงวัย
3. วิธีการช่วยเหลือผู้สูงอายุ
4. การปฏิบัติตนหลังเกษียณ
๔๑. ข้อความที่ยกมานี้น่าจะเป็นส่วนใดของเรื่อง
“หัวใจชายหนุ่ม”
1. ส่วนของจดหมายจริง 2. ส่วนนิยาม
3. ส่วนนาเรื่อง 4. ส่วนวิเคราะห์
๔๒. จากข้อความข้างต้น ให้นักเรียนเติมคาลงใน
ช่องว่างให้ถูกต้องเพื่อให้ข้อความนี้สมบูรณ์
1. ดุสิตสมิต – รามจิตติ – จดหมาย
2. รามจิตติ – ดุสิตสมิต – จดหมาย
3. ดุสิตสมิต – รามจิตติ – จดหมายเหตุ
4. รามจิตติ – ดุสิตสมิต – จดหมายเหตุ
๔๓. คาขึ้นต้นของจดหมายทั้ง ๑๘ ฉบับขึ้นต้นด้วย
คาว่าอะไร
1. “ถึงพ่อประพันธ์เพื่อนรัก”
2. “ถึงพ่อประเสริฐเพื่อนรัก”
3. “ถึงพ่อประยูรสิริเพื่อนรัก”
4. จดหมายแต่ละฉบับใช้คาขึ้นต้นไม่
เหมือนกัน
๔๔. ข้อใดคือจุดประสงค์ที่พระบาทสมเด็จพระ
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์เรื่องหัวใจ
ชายหนุ่ม
1. เพื่อแสดงให้เห็นการรับเอาวัฒนธรรม
ตะวันตกมาใช้ในสังคมไทย
2. เพื่อแสดงให้เห็นความเจริญรุ่งเรืองของ
วัฒนธรรมตะวันตกในสมัยนั้น
3. เพื่อแสดงให้เห็นถึงวิถีชาวบ้านเมื่อรับเอา
วัฒนธรรมตะวันตกมาในสังคม
4. ถูกทุกข้อ
๔๕. ข้อใดแสดงให้เห็นชัดเจนว่า ประพันธ์ เป็นคน
หนุ่ม “หัวนอก” มากที่สุด
1. รักพ่อแม่หรือญาติพี่น้องก็ผิดกับการรักลูก
รักเมียจริงไหม
2. แล้วก็เมื่อต้องจากเมืองอังกฤษมา
เมืองไทย จะไม่ให้ฉันอาลัยได้หรือ
3. การรักเมืองไทยเปรียบเหมือนรักพ่อแม่
แต่การรักเมืองอังกฤษเหมือนรักเมีย
4. การคุยกับคนแก่ครึอย่างพ่อแม่ก็คงไม่
ออกรสเท่ากับหนุ่ม ๆ สาว ๆ จริงไหม
๔๖. คาว่า “คลุมถุงชน” มีความหมายว่าอย่างไร
1. การแต่งงานที่ถูกบังคับ
2. การแต่งงานระหว่างคนต่างวัฒนธรรม
3. การแต่งงานของคนไทยกับคนต่างชาติ
4. การแต่งงานที่ผู้ใหญ่จัดการให้โดยที่หนุ่ม
สาวไม่ได้รักกัน
ก. ข้อมูลเรื่อง อาหารชะลอความแก่
ข. ข้อมูลเรื่อง วิตามินบารุงร่างกาย
ค. ข้อมูลเรื่อง อนามัยเพื่อผู้สูงอายุ
ง. ข้อมูลเรื่อง การออกกาลังกายในวัยชรา
จดหมายเหล่านี้ ข้าพเจ้าได้เลือกคัดแต่
ฉบับที่มีเรื่องน่าอ่านสาหรับสาธารณชนมา
รวบรวมไว้ เพื่อผู้อ่านหนังสือพิมพ์ “ดุสิตสมิต”
จะได้อ่านทราบความเห็นและความเป็นไปของ
คนหนุ่มไทยผู้หนึ่งซึ่งข้าพเจ้าจาเป็นต้องขอ
อภัยในการที่จะไม่แสดงให้ท่านทราบ
หัวใจชายหนุ่ม เป็นบทพระราชนิพนธ์ใน
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดย
ทรงใช้พระนามแฝงว่า “..................” เพื่อ
พระราชทานพิมพ์ในหนังสือพิมพ์
“..................” ลักษณะการพระราชนิพนธ์เป็น
รูปแบบของ..................
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ร า ย วิ ช า ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ( ห น้ า | ๖ )
๔๗. ข้อใดอธิบายลักษณะของ “แม่กิมเน้ย” ได้
ชัดเจนที่สุด
1. หน้าตาเจ้าหล่อนเหมือนนางซุนฮูหยิน ตา
ยาว หนังตาชั้นเดียว
2. การแต่งตัวของหล่อนก็ใช้เสื้อผ้าดี ๆ ถูก
“แฟแช่น”
3. พูดจาพาทีก็พอใช้ได้ แต่ไม่ใคร่พูดได้พูด
กับฉันมากนัก เพราะยังกระดากอยู่
4. ถูกทุกข้อ
๔๘. คาว่า “ฟรี” จากข้อความข้างต้นมี
ความหมายว่าอย่างไร
1. มีความสวยกว่าผู้หญิงสมัยก่อน
2. เป็นอิสระจากกฎเกณฑ์หรือการควบคุม
3. ไม่รักนวลสงวนตัว ทาตัวสาส่อน
4. เที่ยวกลางคืน ชอบเต้นรา
๔๙. “ผู้หญิงที่มักเก็บตัวอยู่แต่ในบ้าน ขี้อาย ไม่
รู้จักเข้าสังคม” ควรใช้สานวนว่าอย่างไร
1. ซุนฮูหยินออกฉิวค้อนเสียสามสี่วง
2. เมฆทุกก้อนมีซับในเป็นเงิน
3. ทาตัวเป็นห้อยจุ๊บแจง
4. นางสุวิญชาของพระยาตระเวน
๕๐. “เมฆทุกก้อนมีซับในเป็นเงิน” มีความหมาย
ตรงกับสานวนสุภาษิตในข้อใด
1. ยามมืด ใช่มืดแท้ทุกสถาน
2. ชั่วเจ็ดที ดีเจ็ดหน
3. ข้างนอกสดใส ข้างในเป็นโพรง
4. ข้างนอกขรุขระ ข้างในต๊ะติ้งโหน่ง
๕๑. คาในข้อใดไม่มาจากคาภาษาอังกฤษ
1. ศิวิไลซ์ 2. ขุดอู่
3. ฮันนี่มูน 4. ปอปูลาร์
จงใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ ๕๒-๕๓
๕๒. “โรงเรียนฝึกหัดเจ้าชู้” เป็นการให้คานิยาม
แก่สิ่งใด
1. หญิงสาวผู้ไม่รักนวลสงวนตัว
2. พวกฝรั่งที่เข้ามาในประเทศไทย
3. ครอบครัวที่ไม่รู้จักอบรมสั่งสอนลูกสาว
4. การศึกษาของชาวบ้านสมัยนั้น
๕๓. จากข้อความข้างต้น ผู้พูดกล่าวด้วยความรู้สึก
อย่างไร
1. ตาหนิ ติเตียน
2. ดูถูก เหยียดหยาม
3. กล่าวถึง เสียดสี
4. ไม่พอใจ ใส่ร้าย
๕๔. คาว่า “เดินเข้าท้ายครัว” ในที่นี้หมายถึงอะไร
1. การที่เราหิวข้าวแล้วเดินเข้าไปในครัว
2. การใช้ความรู้จักมักคุ้นเพื่อให้ได้งานทา
3. การมีความอิ่มหนาสาราญ
4. การเป็นคนรับใช้ที่อยู่แต่ภายในครัว
๕๕. จากข้อความข้างต้นผู้พูดกล่าวด้วยความรู้สึก
อย่างไร
1. ประชดประชัน
2. ไม่พอใจ
3. ว่ากล่าวตักเตือน
4. อบรมสั่งสอน
...สมัยนี้ผู้หญิง “ฟรี” ขึ้นกว่าแต่ก่อนมาก
และพบปะง่ายกว่าด้วย...
...เขาก็รู้จักกันทั้งนั้นว่าที่บ้านนั้นเขาใช้คา
เรียกกันว่า “โรงเรียนฝึกหัดเจ้าชู้”...
...แล้วกลับมาถึงบ้านก็ต้องมาเดินเข้า
ท้ายครัวเท่า ๆ กับคนที่ไม่ได้ไปเมืองนอก
เสียเลยนั่นเอง...
...ฉันต้องไหว้คนมาเสียมากต่อมากจนนับ
หนไม่ถ้วน จนฉันแทบจะลงรอยเป็นถ้าประนม
อยู่เสมอแล้ว
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ร า ย วิ ช า ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ( ห น้ า | ๗ )
๕๖. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะอุปนิสัยของแม่อุไร
1. ชอบทางานบ้านงานเรือน
2. ชิงสุกก่อนห่าม
3. ประดับเพชรพลอยพองาม
4. ไม่ไว้หน้าสามี
๕๗. ข้อใดไม่ใช่ข้อความที่แสดงให้เห็นถึงการ
เปรียบเทียบและเปรียบประชด
1. สมัยนี้ผู้หญิง “ฟรี” ขึ้นกว่าแต่ก่อนมาก
และพบปะง่ายกว่าด้วย
2. ฉันหวังใจว่าหน้าตาเจ้าหล่อนจะไม่เป็น
นางงิ้วตุ้งแช่อะไรตัวหนึ่ง
3. ฉะบัดนี้ ฉันก็กลับเป็นโสดอีกแล้ว และคง
จะไม่รีบร้อนหาคู่โดยด่วนเช่นครั้งก่อนอีก
4. ในระหว่างที่กาลังบาเพ็ญทาทางเข้าหา
แม่อุไรนั้น เขาจึงได้หานางบาเรอแก้ขัดไว้
เป็นลาดับ
๕๘. เรื่องของแม่อุไรให้แง่คิดในข้อใดมากที่สุด
1. สตรีควรแต่งงานเพียงครั้งเดียว
2. สตรีไม่ควรมีสามีมากกว่า ๑ คน
3. การรับวัฒนธรรมตะวันตกที่ไม่ถูกต้องส่ง
ผลร้ายต่อชีวิต
4. การไม่รักษาขนบธรรมเนียมประเพณีจะ
ทาให้ไม่ได้ยอมรับจากคนในสังคม
๕๙. ปัญหาที่พบในเรื่องหัวใจชายหนุ่ม ปัญหาใดที่
ปรากฏน้อยที่สุดในปัจจุบัน
1. การชิงสุกก่อนห่าม
2. การคลุมถุงชน
3. การปลูกเรือนคร่อมตอ
4. ปลูกเรือนตามใจผู้อยู่ ปลูกอู่ตามใจผู้นอน
๖๐. วรรณคดี วรรณกรรมในข้อใดไม่ถูกกล่าวถึง
หรือปรากฏในเนื้อเรื่อง
1. สามก๊ก 2. รามเกียรติ์
3. ไชยเชษฐ์ 4. ขุนช้างขุนแผน
๖๑. ใครคือผู้นามงคลสูตรคาฉันท์มาร้อยเรียงเป็น
บทร้อยกรอง
1. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
2. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
3. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
4. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
๖๒. มงคลสูตรคาฉันท์เป็นบทร้อยกรองชนิดใด
1. อินทรวิเชียร์ฉันท์ ๑๑ กาพย์ยานี ๑๑
2. อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖
3. วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ กาพย์ยานี ๑๑
4. วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ กาพย์ฉบัง ๑๖
๖๓. มงคลสูตรคาฉันท์ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก
ส่วนใดและหมวดใด
1. พระวินัยปิฎก หมวดขุททกนิกาย
2. พระวินัยปิฎก หมวดสังยุตตนิกาย
3. พระสุตตันตปิฎก หมวดขุททกนิกาย
4. พระสุตตันตปิฎก หมวดสังยุตตนิกาย
๖๔. พระอานนท์เถระได้กล่าวถึงที่มาของมงคล
สูตรว่า “เกิดขึ้นด้วยอานาจคาถาม” ใครเป็นผู้
ตั้งคาถาม
1. องค์พระอานนท์ท่านเล่า ว่าข้าพเจ้า ได้
ฟังมาแล้วดังนี้
2. เทวามนุษย์ทั่ว พหุภพประเทศใน
3. เมื่อเทวดายืนดี สมควร ณ ที่ ข้างหนึ่ง
ดังกล่าวแล้วนั้น
4. เทพอีกมนุษย์หวัง คติโสตถิจานง โปรด
เทศนามง- คละเอกอุดมดี
๖๕. ข้อใดไม่มีคาที่หมายถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
1. องค์หนึ่งมหา- นุภาพมหิทธิ์ฤทธี
2. องค์โลกนานาถเทศน์ วรมังคลาใด
3. จึงได้ทูลถามภควันต์ ด้วยถ้อยประพันธ์
4. ถวายอภิวันท์ แด่องค์สมเด็จทศพล
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ร า ย วิ ช า ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ( ห น้ า | ๘ )
๖๖. จากการกระทาของสุดา ตรงกับมงคลสูตรคา
ฉันท์ในข้อใด
1. ให้ทาน ณ กาลอันควร
2. ความงดประพฤติบาป
3. กอบกรรมอันไร้ ทุษะกลั้วและมัวมล
4. อีกหนึ่งวินัยอัน นรนักเรียนและเชี่ยวชาญ
จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ ๖๗-๖๘
1. อเสวนา จ พาลาน
2. ปณฺฑิตานญฺจ เสวนา
3. ปูชา จ ปูชนียาน
4. เอตมฺมงฺคลมุตฺตม
๖๗.จากบทประพันธ์ข้างต้นตรงกับมงคลสูตรข้อใด
๖๘.จากบทประพันธ์ข้างต้นตรงกับมงคลสูตรข้อใด
๖๙. ข้อใดคือมงคลขั้นสูงสุด
1. ปฏิบัติชอบ 2. ละเว้นความชั่ว
3. หมดกิเลส 4. ทาความดี
๗๐. จากข้อความข้างต้น “ยายี” มีความหมาย
ตรงกับข้อใด
1. นางฟ้า 2. นางอันเป็นที่รัก
3. ความทุกข์ 4. ความเบียดเบียน
๗๐. จากข้อความข้างต้น “ทะเลวน” มี
ความหมายตรงกับข้อใด
1. คลื่นทะเล 2. วงจรอุบาทว์
3. วัฏสงสาร 4. วงจรชีวิต
๗๑. จากข้อความข้างต้น ข้อใดมิใช่มงคลที่
พระพุทธเจ้าตรัสไว้
1. อยู่ในประเทศที่สมควร
2. กอปรกุศลสม่าเสมอ
3. ตั้งตนไว้ชอบ
4. สร้างบุญไว้ในกาลก่อน
๗๒. ข้อใดเป็นมงคลสาหรับช่วงปฐมวัย
1. หนึ่งกราบและบูชา อภิบูชนีย์ชน
2. เพียรเผากิเลสล้าง มละโทษะยายี
3. หากลูกและเมียมี ก็ถนอมประหนึ่งตน
4. ถูกทุกข้อ
๗๓. ข้อใดใช้คาประพันธ์ที่ต่างจากข้ออื่น
1. ยินดี ณ ของตน บ่มีโลภทะยานปอง
2. การอยู่ประเทศซึ่ง เหมาะและควรจะสุขี
3. แล้วยืนอยู่ที่ควรดากล เสงี่ยมเจียมตน
4. อีกหนึ่งมิได้มี จะกระด้างและจองหอง
ทุก ๆ วัน สุดาจะนาอาหารที่เหลือจาก
โรงอาหารของโรงเรียนมาให้แก่สุนัขและแมว
จรจัดที่อาศัยอยู่บริเวณวัดใกล้บ้าน เพราะเขา
เห็นว่าสุนัขและแมวเหล่านี้ไม่ได้รับการดูแล
จากใครเลย
(๖๗) ปลาร้าพันห่อด้วย ใบคา
ใบก็เหม็นคาวปลา คละคลุ้ง
คือคนหมู่ไปหา คบเพื่อน พาลนา
ได้แต่ร้ายร้ายฟุ้ง เฟื่องให้เสียพงศ์
(โคลงโลกนิติ : สมเด็จฯ กรมพระยาเดชาดิศร)
(๖๘) คุณแม่หนาหนักเพี้ยง พสุธา
คุณบิดรดุจอา- กาศกว้าง
คุณพี่พ่างศิขรา เมรุมาศ
คุณพระอาจารย์อ้าง อาจสู้สาคร
(โคลงโลกนิติ : สมเด็จฯ กรมพระยาเดชาดิศร)
ชนทั้งหลายบพึงนับ ผิสดับสุมงคล
ใดแล้วจะรอดพ้น พหุทุกขะยายี
เห็นแจ้ง ณ สี่องค์ พระอรียสัจอัน
อาจนามนุษย์ผัน ติระข้ามทะเลวน
ความอยู่ประเทศซึ่ง เหมาะและควรจะสุขี
อีกบุญญะการที่ ณ อดีตมาดล
อีกหนึ่งประพฤติควร ณ สภาวะแห่งตน
ข้อนี้แหละมงคล อดิเรกอุดมดี
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ร า ย วิ ช า ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ( ห น้ า | ๙ )
๗๔. ข้อใดคืออานิสงส์ของการปฏิบัติตามมงคล
สูตร
1. ย่อมถึงสวัสดี สิริทุกประการดล
2. กอบด้วยคุณามี วรอัตถะเฉิดเฉลา
3. ยังปาปะปวงให้ ทุษะเสื่อมวินาศมล
4. ไร้โศกธุลีสูญ และสบาย บ่ มัวมล
๗๕. การปฏิบัติตามมงคลสูตรข้อใดที่มนุษย์ปุถุชน
ทาได้ยากยิ่ง
1. ความได้สดับมาก และกาหนดสุวาที
2. หนึ่งกราบและบูชา อภิปูชนีย์ชน
3. เห็นแจ้ง ณ สี่องค์ พระอริยสัจอัน
4. อีกหนึ่งวินัยอัน นรเรียนและเชี่ยวชาญ
๗๖. พระพุทธศาสนสุภาษิตต่อไปนี้มีสาระตรงตาม
มงคลในข้อใด
1. ยินดี ณ ของตน บ่มิโลภทะยานปอง
2. อีกรู้คุณาของ นรผู้ประคองตน
3. มีจิตตะอดทน และสถิต ณ ขันตี
4. อีกหนึ่งมิได้มี จะกระด้างและจองหอง
๗๗. มงคลสูตรข้อใดได้อธิบายความหมายของคา
ว่า “สันโดษ” ไว้ได้อย่างชัดเจนที่สุด
1. ความงดประพฤติบาป อกุศล บ่ ให้มี
2. ยินดี ณ ของตน บ่ มิโลภทะยานปอง
3. เพียรเผากิเลสล้าง มละโทษะยาหยี
4. เคารพ ณ ผู้ควร จะประณตและนอบศีร์
๗๘. ทุกข้อประกอบด้วย คาครุ-คาลหุ เหมือนกับ
มงคลสูตรที่ว่า“หนึ่งคือ บ่ คบพาล เพราะจะพา
ประพฤติผิด”ยกเว้นข้อใด
1. คิดถึงนะรู้ไหม และจะไม่ละห่วงหา
2. คิดถึงตลอดมา ขณะนี้และเรื่อยไป
3. ถึงเธอมิคิดถึง จะมิซึ้งมิหวั่นไหว
4. แต่เธอจงรู้ไว้ ว่าหัวใจมีแต่เธอ
๗๙. ข้อใดเป็นกลอนประเภทอินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
1. รักแท้แพ้ใกล้ชิด รักมีพิษจิตเป็นแผล
2. รักแท้คือห่วงใย รักมากไปคือน้าตา
3. ความรักผลิดอกบาน จิตะรื่นมโนรมย์
4. ข้อ 1. และข้อ 3. ถูก
๘๐. ข้อใดคือแนวคิดสาคัญของมงคลสูตร
1. มงคลในพระพุทธศาสนาคือหลักธรรมคา
สอนของพระพุทธเจ้า
2. ควรใช้ความรู้ของตนเองในทางที่ถูกต้อง
ตามทานองคลองธรรม
3. ความเจริญในชีวิตถือว่าเป็นมงคลอัน
ประเสริฐยิ่ง
4. ความเจริญในชีวิตเกิดจากการปฏิบัติของ
ตนเองทั้งสิ้น
****************************  ขอให้นักเรียนทุกคนโชคดีในการสอบ  ***************************
“ความสาเร็จมันอยู่ไกลเกินไปถึง
กับคนซึ่งนั่งหงอยและคอยหา
ความสาเร็จจะมาอยู่แค่ปลายตา
กับคนที่คิดว่าต้องพยายาม” 
นิมิตฺต สาธุรูปาน กตญฺญูกตเวทิตา
ความกตัญญูเป็นเครื่องหมายของคนดี

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนKroo R WaraSri
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3Khunnawang Khunnawang
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนBangk Thitisak
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 

Tendances (20)

แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 

En vedette

En vedette (6)

สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
 
แบบทดสอบ ไทย คำศัพท์
แบบทดสอบ ไทย คำศัพท์แบบทดสอบ ไทย คำศัพท์
แบบทดสอบ ไทย คำศัพท์
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
แนวข้อสอบภาษาไทย
แนวข้อสอบภาษาไทยแนวข้อสอบภาษาไทย
แนวข้อสอบภาษาไทย
 

Similaire à ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1

2014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf20142014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014Kruthai Kidsdee
 
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผล
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลแบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผล
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลphotnew
 
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...Kruthai Kidsdee
 
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...Kruthai Kidsdee
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์Sivagon Soontong
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
13992611011963
1399261101196313992611011963
13992611011963vvhiip
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555supphawan
 
Thai o net
Thai o netThai o net
Thai o netgoyjokes
 
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทย
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทยข้อสอบ O-NET ภาษาไทย
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทยMmÕEa Meennie
 

Similaire à ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1 (20)

2014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf20142014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
 
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf20142014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
 
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผล
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลแบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผล
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผล
 
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
 
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
 
interactive M 4
interactive M 4interactive M 4
interactive M 4
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
13992611011963
1399261101196313992611011963
13992611011963
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555
 
Thai o net
Thai o netThai o net
Thai o net
 
Thai o net
Thai o netThai o net
Thai o net
 
Thai o net
Thai o netThai o net
Thai o net
 
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทย
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทยข้อสอบ O-NET ภาษาไทย
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทย
 

Plus de Sivagon Soontong

งานคอม (แผงปลูกข้าวลอยน้ำ)
งานคอม (แผงปลูกข้าวลอยน้ำ)งานคอม (แผงปลูกข้าวลอยน้ำ)
งานคอม (แผงปลูกข้าวลอยน้ำ)Sivagon Soontong
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sivagon Soontong
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1Sivagon Soontong
 

Plus de Sivagon Soontong (17)

งานคอม (แผงปลูกข้าวลอยน้ำ)
งานคอม (แผงปลูกข้าวลอยน้ำ)งานคอม (แผงปลูกข้าวลอยน้ำ)
งานคอม (แผงปลูกข้าวลอยน้ำ)
 
2558 project01
2558 project01 2558 project01
2558 project01
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Key gatpat-oct-53
Key gatpat-oct-53Key gatpat-oct-53
Key gatpat-oct-53
 
(GAT/PAT-3/2553)85 gat
(GAT/PAT-3/2553)85 gat(GAT/PAT-3/2553)85 gat
(GAT/PAT-3/2553)85 gat
 
(GAT/PAT-3/2553)82 pat7.6
(GAT/PAT-3/2553)82 pat7.6(GAT/PAT-3/2553)82 pat7.6
(GAT/PAT-3/2553)82 pat7.6
 
(GAT/PAT-3/2553)80 pat7.4
(GAT/PAT-3/2553)80 pat7.4(GAT/PAT-3/2553)80 pat7.4
(GAT/PAT-3/2553)80 pat7.4
 
(GAT/PAT-3/2553)76 pat6
(GAT/PAT-3/2553)76 pat6(GAT/PAT-3/2553)76 pat6
(GAT/PAT-3/2553)76 pat6
 
(GAT/PAT-3/2553)75 pat5
(GAT/PAT-3/2553)75 pat5(GAT/PAT-3/2553)75 pat5
(GAT/PAT-3/2553)75 pat5
 
(GAT/PAT-3/2553)74 pat4
(GAT/PAT-3/2553)74 pat4(GAT/PAT-3/2553)74 pat4
(GAT/PAT-3/2553)74 pat4
 
(GAT/PAT-3/2553)73 pat3
(GAT/PAT-3/2553)73 pat3(GAT/PAT-3/2553)73 pat3
(GAT/PAT-3/2553)73 pat3
 
(GAT/PAT-3/2553)72 pat2
(GAT/PAT-3/2553)72 pat2(GAT/PAT-3/2553)72 pat2
(GAT/PAT-3/2553)72 pat2
 
(GAT/PAT-3/2553)71 pat1
(GAT/PAT-3/2553)71 pat1(GAT/PAT-3/2553)71 pat1
(GAT/PAT-3/2553)71 pat1
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
 

ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1

  • 1. โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ รายวิชา ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๖ เวลาสอบ ๖๐ นาที คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน *************************************************************************************** คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว จากนั้นฝนคาตอบด้วยดินสอ 2B ลงใน กระดาษคาตอบ : ภายในข้อสอบมีทั้งหมด ๕ แผ่น ๙ หน้า จานวน ๘๐ ข้อ หากไม่ครบหรือมีปัญหาใดให้ ติดต่อคุณครูผู้คุมสอบทันที *************************************************************************************** ๑. ข้อใดเป็นองค์ประกอบของคาในภาษาไทย 1. เสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ 2. เสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงตัวสะกด 3. เสียงพยัญชนะและเสียงสระ 4. เสียงอักษร เสียงคา และเสียงพยางค์ ๒. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับพยัญชนะไทย 1. พยัญชนะไทยมี ๒๑ รูป ๔๔ เสียง 2. พยัญชนะไทยมี ๔๔ รูป ๔๔ เสียง 3. พยัญชนะไทยมีพยัญชนะต้น ๒๑ เสียง พยัญชนะต้น ๘ เสียง 4. พยัญชนะไทยมีพยัญชนะต้น ๘ เสียง พยัญชนะต้น ๘ เสียง ๓. ข้อใดมีจานวนเสียงควบกล้ามากที่สุด 1. กระเต็นกระตั้วตื่น แตกคน 2. ยูงย่องยอดยูงยล โยกย้าย 3. นกเปล้านกปลีปน ปลอมแปลก 4. คล่าคล่าคลิ้งโคลงคล้าย คลอเคลีย ๔. ข้อใดมีสระประสม 1. ง่วงเหงา 2. โงกเงก 3. งุ่มง่าม 4. เงอะงะ ๕. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสระในภาษาไทย 1. สระไทยมี ๒๑ คู่ ประกอบด้วยสระแท้ ๓ คู่ สระเลื่อน ๑๘ คู่ 2. สระไทยมี ๑๒ คู่ ประกอบด้วยสระแท้ ๙ คู่ สระเลื่อน ๓ คู่ 3. สระไทยมี ๒๑ คู่ ประกอบด้วยสระแท้ ๑๘ คู่ สระเลื่อน ๓ คู่ 4. สระไทยมี ๑๒ คู่ ประกอบด้วยสระแท้ ๓ คู่ สระเลื่อน ๙ คู่ ๖. คาว่า “อีก” ในข้อใดออกเสียงยาว 1. ลองอีกทีอาจสาเร็จก็ได้ 2. เกิดเหตุร้ายขึ้นอีกแล้ว 3. พูดอีก ก็ผิดอีก 4. หนังสือเล่มนี้ขายดี คงต้องพิมพ์ซ้าอีกครั้ง ๗. คาว่า “น้า” ในข้อใดออกเสียงสั้น 1. คนเราควรมีน้าใจต่อกัน 2. จงช่วยกันประหยัดน้า 3. ธาตุหลักในโลกคือ ดิน น้า ลม ไฟ 4. ถูกทุกข้อ เนื้อหาภายในข้อสอบ หลักภาษาและการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารชั้นม.๔ (กระทรวงศึกษาธิการ) - เสียง - ภาษาเพื่อการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต - อักษร – การเขียนโครงงานเพื่อการเรียนรู้ - คา วรรณคดีวิจักษ์ชั้นม.๔ (กระทรวงศึกษาธิการ) - บทที่ ๕ หัวใจชายหนุ่ม - บทที่ ๗ มงคลสูตาคาฉันท์
  • 2. ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ร า ย วิ ช า ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ( ห น้ า | ๒ ) ๘. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์เปลี่ยนระดับน้อยที่สุด 1. ง่วงเหงาโงกเงกโงนเงน 2. ง่อนแง่นโอนแอนงุ่มง่าม 3. เงอะงะงมงายวายวาม 4. ซุ่มซ่ามหงอยเหงาเว้าวอน ๙. เพราะเหตุใดคาในภาษาไทยจึงมีเสียงสูง-ต่า 1. เพราะมีเสียงพยัญชนะ 2. เพราะมีเสียงสระ 3. เพราะมีเสียงวรรณยุกต์ 4. ข้อ 1. และข้อ 3. ถูก ๑๐. ภาษาที่มีวรรณยุกต์ มีลักษณะอย่างไร 1. เกิดเสียงสูง-ต่าในการพูด 2. ไม่มีความแตกต่างไปตามเสียงสูงต่า 3. มีการเน้นเสียงตามวรรณยุกต์ที่กากับ 4. มีการเปลี่ยนระดับเสียงของคาทาให้ ความหมายเปลี่ยนไป ๑๑. ข้อใดเขียนสะกดถูกต้องทุกคา 1. สังสรร คัดสรรค์ 2. อุบาทว์ อานิสงส์ 3. น้ามันก๊าซ ข้าวเหนียวมูล 4. ใบกะเพรา มัคคุเทศก์ ๑๒. ข้อใดเขียนสะกดไม่ถูกต้อง 1. ข้อสอบชุดนี้โครตยากเลย 2. ตอนนี้เกิดเหตุจลาจลอยู่หน้าโรงเรียน 3. ผัดไทยร้านนี้อร่อยมาก 4. คุณลุงคนนี้พากย์หนังได้สนุกมาก ๑๓. ข้อใดคือคาที่เขียนต่างกัน ความหมายต่างกัน แต่ออกเสียงเหมือนกัน 1. ประพาส – ประพาด – ประภาส 2. พันธุ์ – พรรณ – พันธ์ – ภัณฑ์ 3. ศัลย์ – สัน – สรร – สรรพ์ – (อา)สัญ 4. ถูกทุกข้อ ๑๔. ข้อใดเขียนสะกดถูกต้องทุกคา 1. เขาลือกันว่าลิฟท์ชั้นนี้ผีดุมาก 2. เสื้อกาวด์ที่คุณหมอใส่มันดูหมองไปนะ 3. นายจ้างบอกให้คนงานปูซีเมนต์ตรงนี้ 4. คฤหาสถ์หลังนี้ดูใหญ่โตมาก ๑๕. คาในข้อใดต่อไปนี้ออกเสียงไม่ถูกต้อง 1. มาตุภูมิ ออกเสียงว่า มา-ตุ-พูม 2. ชาติพันธุ์ ออกเสียงว่า ชาด-พัน 3. เมรุมาศ ออกเสียงว่า เม-รุ-มาด 4. ปรปักษ์ ออกเสียงว่า ปอ-ระ-ปัก ให้นักเรียนใช้คาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ ๑๖ – ๒๐ เคล็ดลับการทาให้ร่างกายมีสุขภาพที่ แข็งแรงคือ การตื่นนอนแต่เช้าตรู่ รับอากาศ บริสุทธิ์ จะทาให้ร่างกายรู้สึก..........(๑๖) .......... หลังจากนั้นให้ดื่มสักหนึ่งแก้วเพื่อทาให้ร่างกายของ เรารู้สึก..........(๑๗) .......... แค่นี้ก็จะทาให้ร่างกายดู แข็งแรงและมีท่าทางที่..........(๑๘) ..........ก่อนไป ทางานแล้ว เธอจาได้ไหมว่าเธอมีอาการปัสสาวะ ..........(๑๙) ..........มาหลายวันแล้ว ตั้งแต่วันที่ฝน ตก..........(๒๐) ..........วันนั้น ๒๑. ข้อใดอ่านออกเสียงอักษรนาทุกคา 1. สวัสดิ์ สมาคม ประโยชน์ 2. สมุทัย เอกราช บัญญัติ 3. สวาหะ ริษยา ประมาท 4. สฤษฎ์ สมาคม สยมภู 1. กระฉับกระเฉง 2. กระปรี้กระเปร่า 3. กระชุ่มกระชวย 4. กะปริบกะปรอย 5. กะปริดกะปรอย
  • 3. ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ร า ย วิ ช า ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ( ห น้ า | ๓ ) ๒๒. ตัวอักษร “ฑ” ในข้อใดอ่านออกเสียง /ด/ 1. กุณฑล มณฑา 2. บัณเฑาะว์ บัณฑิต 3. คัณฑสูตร มณฑก 4. ขัณฑสีมา มัณฑนะ ๒๓. คาในข้อใดมีความหมายเชิงอุปมา 1. คืนนี้ฟ้าปิดคงไม่เห็นดาวหรอก 2. เห็นเด็กผู้หญิงสมัยนี้แล้ว คงเปรี้ยวน่าดู 3. สอบไล่คราวนี้ฉันต้องทาให้ดีที่สุด 4. ถูกทุกข้อ ๒๔. คาไวพจน์ในข้อใดมีความหมายต่างจากข้ออื่น 1. กุสุมา มาลี บุปผา 2. ผกา นฤมล บุหงา 3. มาลา พบู บุษบา 4. สุมาลี สุมน สุคนธชาติ ๒๕. ข้อใดจับคู่คาที่มีความหมายตรงข้ามกันไม่ ถูกต้อง 1. ยิ้ม – โกรธ 2. กลางวัน – กลางคืน 3. สุจริต – ทุจริต 4. ไม่มีข้อใดถูก ๒๖. คาในข้อใดต่อไปนี้ต่างจากพวก 1. เวชภัณฑ์ ประชาชน 2. เครื่องเขียน เครื่องครัว 3. พืช ทรัพย์ 4. สติปัญญา ต้นไม้ ๒๗. ข้อใดใช้ลักษณะนามได้ถูกต้อง 1. ชิงช้าอันนั้นดูเก่าคร่าครึ 2. ฉันต้องการพันธบัตรฉบับนั้น 3. เจดีย์องค์นั้นคงมีประวัติมายาวนาน 4. ถูกทุกข้อ ๒๗. ประโยคในข้อใดต่อไปนี้มีความหมายกากวม 1. ต่อไปนี้ไม่มีคนใช้แล้ว 2. หัวหน้าเก่งในการพูดมาก 3. เขานั่งอ่านหนังสือทั้งวันทั้งคืน 4. ส่วนมากคนที่เก่งมักจะเป็นคนขยัน ๒๘. จากข้อความข้างต้นควรเติมคาใดลงใน ช่องว่างเพื่อให้ข้อความดูเหมาะสมที่สุด 1. ชิม, รับประทาน 2. รับประทาน, ชิม 3. รับประทาน, รับประทาน 4. ชิม, ชิม ๒๙. คาในข้อใดต่อไปนี้มีความหมายต่างจากพวก 1. ชุกชุม 2. ล้นหลาม 3. อุดมสมบูรณ์ 4. หนาแน่น จงใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ ๓๐ ๓๐. ข้อความข้างต้นมีการใช้คาบกพร่องอย่างไร 1. ใช้คาไม่ตรงตามความหมาย 2. ใช้คาไม่ตรงตามความนิยม 3. ใช้คาไม่เหมาะสมแก่กาลเทศะและบุคคล 4. ใช้คาซ้าซาก ๓๑. ข้อใดเป็นการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต 1. การส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ 2. การส่งโทรเลขหากัน 3. การโทรศัพท์ถึงกัน 4. การส่งจดหมาย อีเอ็มเอส อย่าใช้ทัพพีตักอาหารจากหม้อขึ้นมา ..............เพราะทั้งน่ารังเกียจ ทั้งผิดหลัก อนามัย ควรตักใส่ถ้วยก่อนแล้วจึง.............. ข้าพเจ้ามีความสุขอยู่กับการเลี้ยงสัตว์ และปลูกต้นไม้ พอใจที่จะทาอาหาร รับประทานเอง เพลิดเพลินกับรายการทาง โทรทัศน์ นอกจากนี้ยังชอบไปท่องเที่ยวตาม ต่างจังหวัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามชนบท
  • 4. ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ร า ย วิ ช า ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ( ห น้ า | ๔ ) ๓๒. ภาษาที่นักเรียนใช้ในการสื่อสารผ่าน อินเทอร์เน็ต ส่วนใหญ่ควรเป็นภาษาแบบใด 1. เป็นภาษาสละสลวย นุ่มนวล 2. เป็นภาษาที่รวบรัด 3. เป็นภาษาสแลง 4. เป็นภาษาที่เป็นทางการ ๓๓. ข้อใดเขียนสะกดไม่ถูกต้อง 1. เทคนิค ลายเซ็น 2. ฟังก์ชัน ออฟฟิศ 3. เปอร์เซ็นต์ เครื่องสาอางค์ 4. ไฟแช็ก มัสตาร์ด ๓๔. เมื่อนักเรียนต้องการความช่วยเหลือหรือขอ ความร่วมมือจากเพื่อน นักเรียนควรกล่าวคาว่า อะไร 1. กรุณาโปรดสัตว์ 2. โปรดเห็นแก่ลูกนกลูกกา 3. โปรดเมตตา 4. ขอความกรุณา โปรด ได้โปรด จงใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ ๓๕ ๓๕. ถ้านักเรียนต้องการสืบค้นข้อมูลนี้จาก อินเทอร์เน็ต นักเรียนจะใช้คาหลักใดในการสืบค้น 1. สินค้าส่งออกของไทย 2. ผลิตภัณฑ์ชาวบ้าน 3. เครื่องจักรสานไทย 4. การรณรงค์การนิยมใช้ของไทย ๓๖. ในการทาโครงงาน ระยะที่ ๑ ของกิจกรรม โครงงานคืออะไร 1. การรายงานผลการปฏิบัติ 2. การแก้ไขปรับปรุงเค้าโครง 3. การลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน 4. การออกแบบและเขียนเค้าโครง ๓๗. ในการทาโครงงาน นักเรียนควรมีขอบเขต และระยะเวลาการทาโครงงานของนักเรียนอย่างไร 1. ควรกาหนดไว้กว้าง ๆ 2. ควรกาหนดเวลาเริ่มต้นไว้เท่านั้น 3. ควรมีกรอบกากับว่า จะให้ครอบคลุม เนื้อหาแค่ไหน เริ่มต้นและสิ้นสุดเมื่อไร 4. จะกาหนดขอบเขตหรือระยะเวลาหรือไม่ ก็ได้ ๓๘. ข้อใดไม่ใช่ประเด็นสาคัญในการนาเสนอหรือ จัดแสดงโครงงาน 1. ชื่อโครงงาน 2. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 3. บรรณานุกรม 4. วิธีดาเนินการ ๓๙. การอธิบายอย่างย่อ ๆ ถึงเหตุจูงใจในการทา โครงงานเป็นการนาเสนอหัวข้อใดต่อไปนี้ 1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 2. บรรณานุกรม 3. วิธีดาเนินการ 4. สรุปและอภิปรายผล เนื่องจากปัจจุบันมีการรณรงค์การนิยมใช้ ของไทยและส่งเสริมการใช้วัสดุธรรมชาติมาก ขึ้น ประกอบกับฝีมือแรงงานในการจักสานของ คนไทยมีความละเอียดอ่อน ทาให้สินค้าที่ออก สู่ตลาดมีความสวยงามและดึงดูดผู้บริโภคทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ ทาให้แนวโน้มการ บริโภคผลิตภัณฑ์เครื่องจักรสานมีแนวโน้มเพิ่ม สูงขึ้น ทั้งตลาดภายในประเทศและการส่งออก ผลิตภัณฑ์เครื่องจักรสานไทย
  • 5. ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ร า ย วิ ช า ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ( ห น้ า | ๕ ) ๔๐. ข้อมูลต่อไปนี้ ควรนาไปประกอบการทา รายงานในเรื่องใดมากที่สุด 1. การเตรียมตัวปลดเกษียณ 2. ความสุขของผู้สูงวัย 3. วิธีการช่วยเหลือผู้สูงอายุ 4. การปฏิบัติตนหลังเกษียณ ๔๑. ข้อความที่ยกมานี้น่าจะเป็นส่วนใดของเรื่อง “หัวใจชายหนุ่ม” 1. ส่วนของจดหมายจริง 2. ส่วนนิยาม 3. ส่วนนาเรื่อง 4. ส่วนวิเคราะห์ ๔๒. จากข้อความข้างต้น ให้นักเรียนเติมคาลงใน ช่องว่างให้ถูกต้องเพื่อให้ข้อความนี้สมบูรณ์ 1. ดุสิตสมิต – รามจิตติ – จดหมาย 2. รามจิตติ – ดุสิตสมิต – จดหมาย 3. ดุสิตสมิต – รามจิตติ – จดหมายเหตุ 4. รามจิตติ – ดุสิตสมิต – จดหมายเหตุ ๔๓. คาขึ้นต้นของจดหมายทั้ง ๑๘ ฉบับขึ้นต้นด้วย คาว่าอะไร 1. “ถึงพ่อประพันธ์เพื่อนรัก” 2. “ถึงพ่อประเสริฐเพื่อนรัก” 3. “ถึงพ่อประยูรสิริเพื่อนรัก” 4. จดหมายแต่ละฉบับใช้คาขึ้นต้นไม่ เหมือนกัน ๔๔. ข้อใดคือจุดประสงค์ที่พระบาทสมเด็จพระ มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์เรื่องหัวใจ ชายหนุ่ม 1. เพื่อแสดงให้เห็นการรับเอาวัฒนธรรม ตะวันตกมาใช้ในสังคมไทย 2. เพื่อแสดงให้เห็นความเจริญรุ่งเรืองของ วัฒนธรรมตะวันตกในสมัยนั้น 3. เพื่อแสดงให้เห็นถึงวิถีชาวบ้านเมื่อรับเอา วัฒนธรรมตะวันตกมาในสังคม 4. ถูกทุกข้อ ๔๕. ข้อใดแสดงให้เห็นชัดเจนว่า ประพันธ์ เป็นคน หนุ่ม “หัวนอก” มากที่สุด 1. รักพ่อแม่หรือญาติพี่น้องก็ผิดกับการรักลูก รักเมียจริงไหม 2. แล้วก็เมื่อต้องจากเมืองอังกฤษมา เมืองไทย จะไม่ให้ฉันอาลัยได้หรือ 3. การรักเมืองไทยเปรียบเหมือนรักพ่อแม่ แต่การรักเมืองอังกฤษเหมือนรักเมีย 4. การคุยกับคนแก่ครึอย่างพ่อแม่ก็คงไม่ ออกรสเท่ากับหนุ่ม ๆ สาว ๆ จริงไหม ๔๖. คาว่า “คลุมถุงชน” มีความหมายว่าอย่างไร 1. การแต่งงานที่ถูกบังคับ 2. การแต่งงานระหว่างคนต่างวัฒนธรรม 3. การแต่งงานของคนไทยกับคนต่างชาติ 4. การแต่งงานที่ผู้ใหญ่จัดการให้โดยที่หนุ่ม สาวไม่ได้รักกัน ก. ข้อมูลเรื่อง อาหารชะลอความแก่ ข. ข้อมูลเรื่อง วิตามินบารุงร่างกาย ค. ข้อมูลเรื่อง อนามัยเพื่อผู้สูงอายุ ง. ข้อมูลเรื่อง การออกกาลังกายในวัยชรา จดหมายเหล่านี้ ข้าพเจ้าได้เลือกคัดแต่ ฉบับที่มีเรื่องน่าอ่านสาหรับสาธารณชนมา รวบรวมไว้ เพื่อผู้อ่านหนังสือพิมพ์ “ดุสิตสมิต” จะได้อ่านทราบความเห็นและความเป็นไปของ คนหนุ่มไทยผู้หนึ่งซึ่งข้าพเจ้าจาเป็นต้องขอ อภัยในการที่จะไม่แสดงให้ท่านทราบ หัวใจชายหนุ่ม เป็นบทพระราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดย ทรงใช้พระนามแฝงว่า “..................” เพื่อ พระราชทานพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ “..................” ลักษณะการพระราชนิพนธ์เป็น รูปแบบของ..................
  • 6. ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ร า ย วิ ช า ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ( ห น้ า | ๖ ) ๔๗. ข้อใดอธิบายลักษณะของ “แม่กิมเน้ย” ได้ ชัดเจนที่สุด 1. หน้าตาเจ้าหล่อนเหมือนนางซุนฮูหยิน ตา ยาว หนังตาชั้นเดียว 2. การแต่งตัวของหล่อนก็ใช้เสื้อผ้าดี ๆ ถูก “แฟแช่น” 3. พูดจาพาทีก็พอใช้ได้ แต่ไม่ใคร่พูดได้พูด กับฉันมากนัก เพราะยังกระดากอยู่ 4. ถูกทุกข้อ ๔๘. คาว่า “ฟรี” จากข้อความข้างต้นมี ความหมายว่าอย่างไร 1. มีความสวยกว่าผู้หญิงสมัยก่อน 2. เป็นอิสระจากกฎเกณฑ์หรือการควบคุม 3. ไม่รักนวลสงวนตัว ทาตัวสาส่อน 4. เที่ยวกลางคืน ชอบเต้นรา ๔๙. “ผู้หญิงที่มักเก็บตัวอยู่แต่ในบ้าน ขี้อาย ไม่ รู้จักเข้าสังคม” ควรใช้สานวนว่าอย่างไร 1. ซุนฮูหยินออกฉิวค้อนเสียสามสี่วง 2. เมฆทุกก้อนมีซับในเป็นเงิน 3. ทาตัวเป็นห้อยจุ๊บแจง 4. นางสุวิญชาของพระยาตระเวน ๕๐. “เมฆทุกก้อนมีซับในเป็นเงิน” มีความหมาย ตรงกับสานวนสุภาษิตในข้อใด 1. ยามมืด ใช่มืดแท้ทุกสถาน 2. ชั่วเจ็ดที ดีเจ็ดหน 3. ข้างนอกสดใส ข้างในเป็นโพรง 4. ข้างนอกขรุขระ ข้างในต๊ะติ้งโหน่ง ๕๑. คาในข้อใดไม่มาจากคาภาษาอังกฤษ 1. ศิวิไลซ์ 2. ขุดอู่ 3. ฮันนี่มูน 4. ปอปูลาร์ จงใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ ๕๒-๕๓ ๕๒. “โรงเรียนฝึกหัดเจ้าชู้” เป็นการให้คานิยาม แก่สิ่งใด 1. หญิงสาวผู้ไม่รักนวลสงวนตัว 2. พวกฝรั่งที่เข้ามาในประเทศไทย 3. ครอบครัวที่ไม่รู้จักอบรมสั่งสอนลูกสาว 4. การศึกษาของชาวบ้านสมัยนั้น ๕๓. จากข้อความข้างต้น ผู้พูดกล่าวด้วยความรู้สึก อย่างไร 1. ตาหนิ ติเตียน 2. ดูถูก เหยียดหยาม 3. กล่าวถึง เสียดสี 4. ไม่พอใจ ใส่ร้าย ๕๔. คาว่า “เดินเข้าท้ายครัว” ในที่นี้หมายถึงอะไร 1. การที่เราหิวข้าวแล้วเดินเข้าไปในครัว 2. การใช้ความรู้จักมักคุ้นเพื่อให้ได้งานทา 3. การมีความอิ่มหนาสาราญ 4. การเป็นคนรับใช้ที่อยู่แต่ภายในครัว ๕๕. จากข้อความข้างต้นผู้พูดกล่าวด้วยความรู้สึก อย่างไร 1. ประชดประชัน 2. ไม่พอใจ 3. ว่ากล่าวตักเตือน 4. อบรมสั่งสอน ...สมัยนี้ผู้หญิง “ฟรี” ขึ้นกว่าแต่ก่อนมาก และพบปะง่ายกว่าด้วย... ...เขาก็รู้จักกันทั้งนั้นว่าที่บ้านนั้นเขาใช้คา เรียกกันว่า “โรงเรียนฝึกหัดเจ้าชู้”... ...แล้วกลับมาถึงบ้านก็ต้องมาเดินเข้า ท้ายครัวเท่า ๆ กับคนที่ไม่ได้ไปเมืองนอก เสียเลยนั่นเอง... ...ฉันต้องไหว้คนมาเสียมากต่อมากจนนับ หนไม่ถ้วน จนฉันแทบจะลงรอยเป็นถ้าประนม อยู่เสมอแล้ว
  • 7. ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ร า ย วิ ช า ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ( ห น้ า | ๗ ) ๕๖. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะอุปนิสัยของแม่อุไร 1. ชอบทางานบ้านงานเรือน 2. ชิงสุกก่อนห่าม 3. ประดับเพชรพลอยพองาม 4. ไม่ไว้หน้าสามี ๕๗. ข้อใดไม่ใช่ข้อความที่แสดงให้เห็นถึงการ เปรียบเทียบและเปรียบประชด 1. สมัยนี้ผู้หญิง “ฟรี” ขึ้นกว่าแต่ก่อนมาก และพบปะง่ายกว่าด้วย 2. ฉันหวังใจว่าหน้าตาเจ้าหล่อนจะไม่เป็น นางงิ้วตุ้งแช่อะไรตัวหนึ่ง 3. ฉะบัดนี้ ฉันก็กลับเป็นโสดอีกแล้ว และคง จะไม่รีบร้อนหาคู่โดยด่วนเช่นครั้งก่อนอีก 4. ในระหว่างที่กาลังบาเพ็ญทาทางเข้าหา แม่อุไรนั้น เขาจึงได้หานางบาเรอแก้ขัดไว้ เป็นลาดับ ๕๘. เรื่องของแม่อุไรให้แง่คิดในข้อใดมากที่สุด 1. สตรีควรแต่งงานเพียงครั้งเดียว 2. สตรีไม่ควรมีสามีมากกว่า ๑ คน 3. การรับวัฒนธรรมตะวันตกที่ไม่ถูกต้องส่ง ผลร้ายต่อชีวิต 4. การไม่รักษาขนบธรรมเนียมประเพณีจะ ทาให้ไม่ได้ยอมรับจากคนในสังคม ๕๙. ปัญหาที่พบในเรื่องหัวใจชายหนุ่ม ปัญหาใดที่ ปรากฏน้อยที่สุดในปัจจุบัน 1. การชิงสุกก่อนห่าม 2. การคลุมถุงชน 3. การปลูกเรือนคร่อมตอ 4. ปลูกเรือนตามใจผู้อยู่ ปลูกอู่ตามใจผู้นอน ๖๐. วรรณคดี วรรณกรรมในข้อใดไม่ถูกกล่าวถึง หรือปรากฏในเนื้อเรื่อง 1. สามก๊ก 2. รามเกียรติ์ 3. ไชยเชษฐ์ 4. ขุนช้างขุนแผน ๖๑. ใครคือผู้นามงคลสูตรคาฉันท์มาร้อยเรียงเป็น บทร้อยกรอง 1. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก 2. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย 3. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว 4. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ๖๒. มงคลสูตรคาฉันท์เป็นบทร้อยกรองชนิดใด 1. อินทรวิเชียร์ฉันท์ ๑๑ กาพย์ยานี ๑๑ 2. อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ 3. วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ กาพย์ยานี ๑๑ 4. วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ กาพย์ฉบัง ๑๖ ๖๓. มงคลสูตรคาฉันท์ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก ส่วนใดและหมวดใด 1. พระวินัยปิฎก หมวดขุททกนิกาย 2. พระวินัยปิฎก หมวดสังยุตตนิกาย 3. พระสุตตันตปิฎก หมวดขุททกนิกาย 4. พระสุตตันตปิฎก หมวดสังยุตตนิกาย ๖๔. พระอานนท์เถระได้กล่าวถึงที่มาของมงคล สูตรว่า “เกิดขึ้นด้วยอานาจคาถาม” ใครเป็นผู้ ตั้งคาถาม 1. องค์พระอานนท์ท่านเล่า ว่าข้าพเจ้า ได้ ฟังมาแล้วดังนี้ 2. เทวามนุษย์ทั่ว พหุภพประเทศใน 3. เมื่อเทวดายืนดี สมควร ณ ที่ ข้างหนึ่ง ดังกล่าวแล้วนั้น 4. เทพอีกมนุษย์หวัง คติโสตถิจานง โปรด เทศนามง- คละเอกอุดมดี ๖๕. ข้อใดไม่มีคาที่หมายถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 1. องค์หนึ่งมหา- นุภาพมหิทธิ์ฤทธี 2. องค์โลกนานาถเทศน์ วรมังคลาใด 3. จึงได้ทูลถามภควันต์ ด้วยถ้อยประพันธ์ 4. ถวายอภิวันท์ แด่องค์สมเด็จทศพล
  • 8. ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ร า ย วิ ช า ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ( ห น้ า | ๘ ) ๖๖. จากการกระทาของสุดา ตรงกับมงคลสูตรคา ฉันท์ในข้อใด 1. ให้ทาน ณ กาลอันควร 2. ความงดประพฤติบาป 3. กอบกรรมอันไร้ ทุษะกลั้วและมัวมล 4. อีกหนึ่งวินัยอัน นรนักเรียนและเชี่ยวชาญ จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ ๖๗-๖๘ 1. อเสวนา จ พาลาน 2. ปณฺฑิตานญฺจ เสวนา 3. ปูชา จ ปูชนียาน 4. เอตมฺมงฺคลมุตฺตม ๖๗.จากบทประพันธ์ข้างต้นตรงกับมงคลสูตรข้อใด ๖๘.จากบทประพันธ์ข้างต้นตรงกับมงคลสูตรข้อใด ๖๙. ข้อใดคือมงคลขั้นสูงสุด 1. ปฏิบัติชอบ 2. ละเว้นความชั่ว 3. หมดกิเลส 4. ทาความดี ๗๐. จากข้อความข้างต้น “ยายี” มีความหมาย ตรงกับข้อใด 1. นางฟ้า 2. นางอันเป็นที่รัก 3. ความทุกข์ 4. ความเบียดเบียน ๗๐. จากข้อความข้างต้น “ทะเลวน” มี ความหมายตรงกับข้อใด 1. คลื่นทะเล 2. วงจรอุบาทว์ 3. วัฏสงสาร 4. วงจรชีวิต ๗๑. จากข้อความข้างต้น ข้อใดมิใช่มงคลที่ พระพุทธเจ้าตรัสไว้ 1. อยู่ในประเทศที่สมควร 2. กอปรกุศลสม่าเสมอ 3. ตั้งตนไว้ชอบ 4. สร้างบุญไว้ในกาลก่อน ๗๒. ข้อใดเป็นมงคลสาหรับช่วงปฐมวัย 1. หนึ่งกราบและบูชา อภิบูชนีย์ชน 2. เพียรเผากิเลสล้าง มละโทษะยายี 3. หากลูกและเมียมี ก็ถนอมประหนึ่งตน 4. ถูกทุกข้อ ๗๓. ข้อใดใช้คาประพันธ์ที่ต่างจากข้ออื่น 1. ยินดี ณ ของตน บ่มีโลภทะยานปอง 2. การอยู่ประเทศซึ่ง เหมาะและควรจะสุขี 3. แล้วยืนอยู่ที่ควรดากล เสงี่ยมเจียมตน 4. อีกหนึ่งมิได้มี จะกระด้างและจองหอง ทุก ๆ วัน สุดาจะนาอาหารที่เหลือจาก โรงอาหารของโรงเรียนมาให้แก่สุนัขและแมว จรจัดที่อาศัยอยู่บริเวณวัดใกล้บ้าน เพราะเขา เห็นว่าสุนัขและแมวเหล่านี้ไม่ได้รับการดูแล จากใครเลย (๖๗) ปลาร้าพันห่อด้วย ใบคา ใบก็เหม็นคาวปลา คละคลุ้ง คือคนหมู่ไปหา คบเพื่อน พาลนา ได้แต่ร้ายร้ายฟุ้ง เฟื่องให้เสียพงศ์ (โคลงโลกนิติ : สมเด็จฯ กรมพระยาเดชาดิศร) (๖๘) คุณแม่หนาหนักเพี้ยง พสุธา คุณบิดรดุจอา- กาศกว้าง คุณพี่พ่างศิขรา เมรุมาศ คุณพระอาจารย์อ้าง อาจสู้สาคร (โคลงโลกนิติ : สมเด็จฯ กรมพระยาเดชาดิศร) ชนทั้งหลายบพึงนับ ผิสดับสุมงคล ใดแล้วจะรอดพ้น พหุทุกขะยายี เห็นแจ้ง ณ สี่องค์ พระอรียสัจอัน อาจนามนุษย์ผัน ติระข้ามทะเลวน ความอยู่ประเทศซึ่ง เหมาะและควรจะสุขี อีกบุญญะการที่ ณ อดีตมาดล อีกหนึ่งประพฤติควร ณ สภาวะแห่งตน ข้อนี้แหละมงคล อดิเรกอุดมดี
  • 9. ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ร า ย วิ ช า ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ( ห น้ า | ๙ ) ๗๔. ข้อใดคืออานิสงส์ของการปฏิบัติตามมงคล สูตร 1. ย่อมถึงสวัสดี สิริทุกประการดล 2. กอบด้วยคุณามี วรอัตถะเฉิดเฉลา 3. ยังปาปะปวงให้ ทุษะเสื่อมวินาศมล 4. ไร้โศกธุลีสูญ และสบาย บ่ มัวมล ๗๕. การปฏิบัติตามมงคลสูตรข้อใดที่มนุษย์ปุถุชน ทาได้ยากยิ่ง 1. ความได้สดับมาก และกาหนดสุวาที 2. หนึ่งกราบและบูชา อภิปูชนีย์ชน 3. เห็นแจ้ง ณ สี่องค์ พระอริยสัจอัน 4. อีกหนึ่งวินัยอัน นรเรียนและเชี่ยวชาญ ๗๖. พระพุทธศาสนสุภาษิตต่อไปนี้มีสาระตรงตาม มงคลในข้อใด 1. ยินดี ณ ของตน บ่มิโลภทะยานปอง 2. อีกรู้คุณาของ นรผู้ประคองตน 3. มีจิตตะอดทน และสถิต ณ ขันตี 4. อีกหนึ่งมิได้มี จะกระด้างและจองหอง ๗๗. มงคลสูตรข้อใดได้อธิบายความหมายของคา ว่า “สันโดษ” ไว้ได้อย่างชัดเจนที่สุด 1. ความงดประพฤติบาป อกุศล บ่ ให้มี 2. ยินดี ณ ของตน บ่ มิโลภทะยานปอง 3. เพียรเผากิเลสล้าง มละโทษะยาหยี 4. เคารพ ณ ผู้ควร จะประณตและนอบศีร์ ๗๘. ทุกข้อประกอบด้วย คาครุ-คาลหุ เหมือนกับ มงคลสูตรที่ว่า“หนึ่งคือ บ่ คบพาล เพราะจะพา ประพฤติผิด”ยกเว้นข้อใด 1. คิดถึงนะรู้ไหม และจะไม่ละห่วงหา 2. คิดถึงตลอดมา ขณะนี้และเรื่อยไป 3. ถึงเธอมิคิดถึง จะมิซึ้งมิหวั่นไหว 4. แต่เธอจงรู้ไว้ ว่าหัวใจมีแต่เธอ ๗๙. ข้อใดเป็นกลอนประเภทอินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ 1. รักแท้แพ้ใกล้ชิด รักมีพิษจิตเป็นแผล 2. รักแท้คือห่วงใย รักมากไปคือน้าตา 3. ความรักผลิดอกบาน จิตะรื่นมโนรมย์ 4. ข้อ 1. และข้อ 3. ถูก ๘๐. ข้อใดคือแนวคิดสาคัญของมงคลสูตร 1. มงคลในพระพุทธศาสนาคือหลักธรรมคา สอนของพระพุทธเจ้า 2. ควรใช้ความรู้ของตนเองในทางที่ถูกต้อง ตามทานองคลองธรรม 3. ความเจริญในชีวิตถือว่าเป็นมงคลอัน ประเสริฐยิ่ง 4. ความเจริญในชีวิตเกิดจากการปฏิบัติของ ตนเองทั้งสิ้น ****************************  ขอให้นักเรียนทุกคนโชคดีในการสอบ  *************************** “ความสาเร็จมันอยู่ไกลเกินไปถึง กับคนซึ่งนั่งหงอยและคอยหา ความสาเร็จจะมาอยู่แค่ปลายตา กับคนที่คิดว่าต้องพยายาม”  นิมิตฺต สาธุรูปาน กตญฺญูกตเวทิตา ความกตัญญูเป็นเครื่องหมายของคนดี