SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  78
Télécharger pour lire hors ligne
แบบฝึ กเสริมทักษะการอ่ านภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑

ชุดที่ ๑ อ่ านในใจลาดับความคิด

มารินทร์ จานแก้ ว
ตาแหน่ งครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี

สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘
้
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน
้
คานา
การอ่านเป็ นทักษะกระบวนการเรี ยนรู ้พ้ืนฐานที่สาคัญที่ ผูเ้ รี ยนสามารถ
เกิดการเรี ยนรู ้ได้ดวยตนเอง ผูอ่านจึงต้องมีความรู ้และทักษะการอ่านเพื่อให้เกิดความเข้าใจ
้
้
ในเรื่ องที่อ่านได้อย่างลึกซึ้ง การอ่านมีจุดมุ่งหมายหลายประการ ตามลาดับขั้นความยากง่าย
สาหรับการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ผูเ้ รี ยนต้องมีความรู ้
ความเข้าใจเรื่ อ งการอ่ านตามจุ ด ประสงค์ที่ ชัด เจน ซึ่ งจะช่ วยให้เกิ ด ทัก ษะการเรี ย นรู ้ ที่
รวดเร็ วและเกิดประสิ ทธิ ภาพ ผูสอนจึงจัดทาแบบฝึ กเสริ มทักษะการอ่านภาษาไทย จานวน
้
๕ ชุด ประกอบด้วย
๑ อ่านในใจลาดับความคิด
๒ จับประเด็นพินิจใจความสาคัญ
๓ สรรพันเลือกสรรตีความ
๔ แยกตามข้อเท็จจริ ง ข้อคิดเห็น
๕ มุ่งเน้นการคิดวิเคราะห์
แบบฝึ กเสริ มทักษะการอ่านภาษาไทย เรื่ อง การอ่านในใจ เป็ นแบบฝึ ก
เสริ มทักษะการอ่านภาษาไทยชุดที่ ๑ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนเกิดความรู ้ความเข้าใจ สามารถฝึ กทักษะ
ได้ดวยตนเอง สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชี วิตประจาวันได้และเพื่อเป็ นสื่ อช่วยในการจัด
้
กิจกรรมการเรี ยนการสอนให้ผเู ้ รี ยนบรรลุตามจุดประสงค์ที่ต้ งไว้
ั
ขอขอบพระคุณนายโอภาส เจริ ญเชื้อ ผูอานวยการโรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ
้
พระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุ รี นางยุพดี สุ ขกรม นางลาวรรณ สกุลกรุ ณ าอารี ย ์ นางอารมย์
บุญเรื องรอด นางมัทนา มงคล นายวสันต์ บานเย็น นางวรรณนิ ภา อารักษ์ นางสาวจงใจ
ศรี วิเชี ยร นางจริ นทร์ พึ่งจงเจริ ญสุ ข ครู ผูเ้ ชี่ ยวชาญ และคณะ และผูเ้ กี่ ยวข้อง ตลอดจน
ครอบครัวที่ให้คาปรึ กษา ช่ วยเหลือ สนับสนุ น การทาผลงานทางวิชาการในครั้งนี้ สาเร็ จ
ลุล่วงไปได้ดวยดี
้
มาริ นทร์ จานแก้ว
โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุรี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘
สารบัญ
เรื่อง

หน้ า

คาชี้แจงการใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะการอ่านภาษาไทย
จุดประสงค์การเรี ยนรู ้
แบบทดสอบก่อนเรี ยน
ใบความรู ้เรื่ องการอ่านในใจ
กิจกรรมที่ ๑ - ๓ ความรู ้เรื่ องการอ่านในใจ
กิจกรรมที่ ๔ การอ่านในใจข้อความ
กิจกรรมที่ ๕ การอ่านในใจข่าว
กิจกรรมที่ ๖ การอ่านในใจเนื้อเพลง
กิจกรรมที่ ๗ การอ่านในใจนิทาน
แบบฝึ กกิจกรรมทบทวนความรู ้การอ่านในใจ
แบบทดสอบหลังเรี ยน
ภาคผนวก
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรี ยน
เฉลยแบบฝึ กกิจกรรมที่ ๑-๗
เฉลยแบบฝึ กกิจกรรมทบทวนความรู ้เรื่ องการอ่านจับใจความสาคัญ
เฉลยแบบทดสอบหลังเรี ยน
เกณฑ์การประเมินการอ่านในใจ
แบบประเมินการอ่านในใจ
บรรณานุกรม
คาชี้แจง
แบบฝึ กเสริ มทักษะการอ่านภาษาไทย ของนักเรี ยน
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ชุดที่ ๑ อ่านในใจลาดับความคิด จัดทา
ขึ้นเพื่อพัฒนาความรู ้ความเข้าใจ เรื่ อง หลักการอ่านในใจมี
ทักษะการอ่ านในใจ สามารถอ่ านในใจได้อ ย่างถู ก ต้อ ง
รวดเร็ว รู ้และเข้าใจเรื่ องที่อ่าน สามารถนาไปปฏิบติและ
ั
ประยุกต์ใช้ในชีวตประจาวัน
ิ
ขั้นตอนการฝึ ก
๑. นักเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน
๒. ศึกษาความรู ้เรื่ อง หลักการอ่านในใจ
๓. นักเรี ยนปฏิบติแบบฝึ กกิจกรรมที่ ๑ - ๗
ั
๔. ทาแบบทดสอบหลังเรี ยน
๕. ตรวจแบบทดสอบก่อนและหลังเรี ยน
๖. บันทึกผลการทดสอบเพื่อพัฒนา
จุดประสงค์ การเรียนรู้

เมื่อนักเรี ยนศึกษาแบบฝึ กเสริ มทักษะการอ่านเล่มนี้แล้ว
นักเรี ยนจะมีความรู ้ความเข้าใจในเรื่ องต่อไปนี้
๑. รู ้และเข้าใจหลักเกณฑ์การอ่านในใจ
๒. อธิบายความหมายของคาที่อ่านในใจได้
๓. เขียนลักษณะการเคลื่อนไหวสายตาจากการอ่านในใจได้
๔. เขียนช่วงระยะสายตาการอ่านในใจจากเรื่ องที่กาหนด
ให้อ่านได้
๕. อ่านในใจจากเรื่ องที่กาหนดให้อ่านได้
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบฝึ กเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
ชุดที่ ๑ เรื่อง การอ่านในใจลาดับความคิด
คาชี้แจง

๑. แบบทดสอบมี ๒ ตอน

ตอนที่ ๑

๒. เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้ว ทาเครื่ องหมายกากบาท (x)
ลงในกระดาษคาตอบที่แจกให้
๓. ตอบคาถามลงในกระดาษคาตอบที่แจกให้
ให้นกเรี ยนอ่านข้อความต่อไปนี้ ใช้เวลาทั้งสิ้ น ๒ นาที
ั
ประวัติจังหวัดกาญจนบุรี
เมืองกาญจนบุรีพ้ืนที่ก่อสร้างเมืองกาญจนบุรีเป็ นบริ เวณที่ลาน้ าแควน้อย

ไหลมาบรรจบกับลาน้ าแควใหญ่ เรี ยกกันว่า " ปากแพรก " ซึ่ งมีชยภูมิอนเหมาะ
ั
ั
ต่อการเป็ นเส้นทางสัญจรและค้าขาย ตลอดจนการเป็ นเมืองหน้าด่ านรับศึกพม่า
พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว โปรดเกล้ า ฯ ให้ ส ร้ า งเมื อ งนี้ ขึ้ น
เมื่อ พ.ศ.๒๓๗๔
กาญจนบุรีเป็ นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางที่มีผคนนิยมเดินทางไปท่องเที่ยว
ู้
เต็ ม ไปด้ว ยเรื่ อ งราวในอดี ต ที่ น่ า สนใจ เป็ นแหล่ ง อารยธรรมเก่ า แก่ ยุค ก่ อ น
ประวัติศาสตร์ เป็ นสถานที่ต้ งของสะพานข้ามแม่น้ าแคว ซึ่ งเป็ นสถานที่สาคัญ
ั
ทางประวัติศาสตร์ ของไทยในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ และมีชื่อเสี ยงโด่ งดัง
ไปทั่ ว โลก นอกจากนี้ ยัง มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์
่
ไม่วาจะเป็ น ป่ าเขาลาเนาไพร ถ้ าหรื อน้ าตก
ตอนที่ ๒

ให้นกเรี ยนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้ว ทาเครื่ องหมายกากบาท (x)
ั
ลงในกระดาษคาตอบที่แจกให้

จากข้อ ๑ – ๕ ตอบคาถามจากการอ่านข้อความ “ประวัติจงหวัดกาญจนบุรี”
ั
๑. ข้อใดแบ่งวรรคตอนการอ่านในใจได้ถูกต้อง
ก. กาญจนบุรี / เป็ นจังหวัดหนึ่งในภาคกลาง
ข. กาญจนบุรีเป็ น / จังหวัดหนึ่งในภาคกลาง
ค. กาญจนบุรี / เป็ นจังหวัดหนึ่ง / ในภาคกลาง
ง. กาญจนบุรีเป็ นจังหวัด / หนึ่งในภาคกลาง
๒. ข้อใดใช้เครื่ องหมาย

เพื่อแบ่งช่วงระยะสายตาการอ่านในใจได้ถูกต้อง

ก. กาญจนบุรี เป็ นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ยคก่อนประวัติศาสตร์
ุ
ข. กาญจนบุรี เป็ นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์
ค. กาญจนบุรีเป็ นเป็ นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์
ง. กาญจนบุรี เป็ นแหล่ง อารยธรรมเก่าแก่ยคก่อนประวัติศาสตร์
ุ
๓. จังหวัดกาญจนบุรี สร้างขึ้นในสมัยใด
่ ั
ก. พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหว
่
่ ั
ข. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว
่ ั
ค. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูหว
่ ั
ง. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว
๔. จังหวัดกาญจนบุรี มีความสาคัญทางด้านประวัติศาสตร์ อย่างไร
ก. มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
ข. มีธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์เช่น ถ้ า น้ าตก
ค. มีลาน้ าแควน้อยไหลมาบรรจบกับลาน้ าแควใหญ่
ง. เป็ นสถานที่การทาสงครามโลกครั้งที่ ๒
่ ั
๕. พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหว สร้างเมืองกาญจนบุรี ขึ้นใน พ.ศ. ใด
่
ก. พ.ศ. ๒๓๗๔
ข. พ.ศ. ๒๗๓๔
ค. พ.ศ. ๒๔๓๗
ง. พ.ศ. ๒๓๔๗
๖. ให้เรี ยงลาดับตัวอักษร ก่อน – หลัง เพื่อเปรี ยบเทียบการเคลื่อนไหวสายตา

ก.

ฉ

จ

ช

ฌ

ข.

จ

ฉ

ช

ฌ

ค.

ช

ฉ

จ

ฌ

ง.

ฌ

ฉ

จ

ช
๗. ข้อใดเป็ นการเคลื่อนไหวสายตาสัญลักษณ์

ได้ถูกต้อง

๑.
๒.
๓.
๔.
ก.
ข.
ค.
ง.

๑
๒
๓
๑

๒
๑
๔
๔

๓
๔
๑
๒

๔
๓
๒
๓

๘. จัดลาดับข้อความให้ได้ความหมาย ที่สมบูรณ์ที่สุด
๑ ประเทศไทย
๒ ในสมัยรัชกาลที่ ๗
๓ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๕
๔. ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย
ก.

๓

๔

๒

๑

ข.

๒

๑

๔

๓

ค.

๑

๓

๔

๒

ง.

๑

๒

๓

๔
“สุ นทรภู่ หรื อพระยาศรี สุนทรโวหารเป็ นกวี ๔ สมัย คือ สุ นทรภู่เกิดใน
สมัย รัชกาลที่ ๑ เมื่อวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๓๒๙ ได้เรี ยนวิชาหนังสื อ ที่วด
ั
ชีปะขาว (วัดศรี สุดาราม)ชีวิตรุ่ งเรื องในสมัยรัชกาลที่ ๒ โดยเข้ารับราชการ
ในกรมพระอาลักษณ์ได้เป็ นขุนสุ นทรโวหารและเป็ นกวีที่ปรึ กษา ตกอับใน
สมัยรัช กาลที่ ๓ ต้องออกจากราชการและบวชเมื่ อสึ กแล้วไม่ มีที่พ่ ึ งต้อ ง
ลอยเรื อและแต่งหนังสื อขายเลี้ยงชีพถึงแก่กรรมในสมัยรัชกาลที่ ๔”
๙. ข้อความข้างต้น มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. สุ นทรภู่แต่งหนังสื อขาย
ข. สุ นทรภู่เป็ นกวี ๔ สมัย
ค. ชีวตและประวัติของสุ นทรภู่
ิ
ง. ๒๖ มิถุนายน เป็ นวันเกิดสุ นทรภู่
“ อย่าเกียจคร้านการทางานนะพวกเรา
งานหนักงานเบาเหนื่อยแล้วเราพักผ่อนก็หาย
ไม่ทางานหลบหลีกงานเฝ้ าเกียจคร้านเอาแต่สบาย
แก่จนตายขอทานายว่าไม่เจริ ญ”
๑๐. เนื้อเพลงข้างต้นมีความหมายตรงกับข้อใด
ก. ความขยัน
ข. การทางาน
ค. การพักผ่อน
ง. ความเกียจคร้าน
ใบความรู้
เรื่อง การอ่านในใจ
ตอนที่ ๑
การอ่านในใจ

ความหมาย
คือ การอ่านไม่ออกเสี ยง การอ่าน
ในใจถือว่าเป็ นการอ่าน เพื่อพัฒนา
ตนเองในด้านต่าง ๆ อันได้แก่

- เพือพัฒนาด้ านความรู้ คือ ได้ท้ ง
่
ั
ความรู ้รอบตัวและความรู ้เฉพาะด้าน

- พัฒนาด้ านอารมณ์ ช่วยให้เกิดความ
เพลิดเพลิน บันเทิงใจคลายความขุ่นมัวต่าง ๆ
- พัฒนาคุณธรรม การมีคุณธรรม
ย่อมเกิดมาจากความจรรโลงใจ ซึ่ง
ได้จากการอ่าน หนังสื อประเภท
ธรรมะชีวประวัติ สารคดี ฯลฯ

การอ่านในใจ จึงเป็ นวิธีการศึกษาอย่างหนึ่ง เพื่อเรี ยนรู ้และเข้าใจ ประสบการณ์
ใหม่ ๆ ซึ่งช่วยให้มนุษย์เกิดการปรับตัวในการดารงชีวตอย่างเป็ นสุ ข
ิ
จุดมุ่งหมายในการอ่านในใจ
๑. เพื่อจับใจความได้ถูกต้องรวดเร็ว
๒. เพื่อให้เกิดความรู ้ความเข้าใจและความคิดกว้างขวางลึกซึ้ง เป็ นการเสริ มสร้าง
ประสบการณ์ชีวต
ิ
๓. เพื่อให้เกิดความเพลิดเพลินและเป็ นการใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์
๔. เพื่อให้สามารถถ่ายทอดสิ่ งที่อ่านให้ผอื่นรับรู ้ได้โดยไม่ผดพลาด
ู้
ิ

หลักการอ่านในใจ
๑. ตั้งสมาธิให้แน่วแน่
๒. รู ้วงศัพท์ รู ้ความหมายที่แท้ของถ้อยคาที่อ่านก็จะสามารถเข้าใจเรื่ อง
ที่ได้อ่านได้ดีและรวดเร็ว
๓. กะระยะช่วงสายตาแต่ละคราวให้กว้างที่สุด จะทาให้อ่านได้รวดเร็ว ไม่ควร
มองเป็ นคา ๆ เพราะทาให้อ่านช้าและจับใจความไม่ได้
๔. การเคลื่อนไหวสายตาจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งไม่ควรบ่อยครั้ง แต่ควรเป็ น
ไปอย่างมีจงหวะและแน่นอน ไม่ควรส่ ายตาไปตามเส้นบรรทัด
ั
๕. ไม่ควรอ่านย้อนกลับเพื่อทบทวนใหม่บ่อย ๆ ทาให้อ่านช้า
๖. การเปลี่ยนบรรทัดต้องให้แม่นยา พยายามอย่ากลับไปอ่านซ้ าบรรทัดเดิมอีก
๗. ไม่ทาปากขมุบขมิบหรื อออกเสี ยงในเวลาอ่าน
๘. ไม่ใช้นิ้ว ปากกา หรื อดินสอ ชี้ที่ตวหนังสื อทีละตัว
ั
๙. จับใจความสาคัญและใจความประกอบให้ได้ พิจารณาให้เข้าใจ
๑๐. บันทึกความรู ้ ความเข้าใจ และความคิดไว้เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป
การอ่านในใจ ทาให้คนที่อ่านมีความรู ้ ความคิดวิจารณญาณ
แล้วนาเอาสิ่ งเหล่านี้ไปให้ประโยชน์ เพื่อก่อให้เกิดความเจริ ญ
ขึ้นทางด้าน ร่ างกาย สติปัญญา อารมณ์ เเละความคิด ในชีวต
ิ
ประจาวัน เราต้อ งได้ รั บ ข้อ มู ล ข่ าวสาร อย่างมากมาย เเละ
ทัก ษะหนึ่ งที่ เกี่ ย วข้อ ง กับ การอ่ า นในใจที่ จ ะสามารถช่ ว ย
นักเรี ยน ให้ใช้เวลาอย่างคุ มค่ าเเละสามารถรั บ ข้อมูลข่ าวสาร
้
ต่างๆ ในปริ มาณมาก ก็คือ ทักษะการอ่านเร็ วการอ่านในใจ เพื่อ
ทาให้คนที่อ่านมีความรู ้ ความคิดวิจารณญานเเล้ว

มาดูตวอย่ างกันหน่ อยนะ
ั
ลองตอบดูซิ ….

ตัวอย่ างที่ ๑

๑. การอ่านในใจคือ ......................................................................................
..............................................................................................................
..............................................................................................................
..............................................................................................................

๒. จุดมุ่งหมายของการอ่านในใจประกอบด้ วย (ตอบมา ๓ ข้ อ)
..................................................................................................................
.................................................................................................................
................................................................................................................

๓. หลักการอ่านในใจประกอบด้ วย (ตอบมา๓ ข้ อ)
................................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................
แนวการตอบ

๑. การอ่านในใจ คือ การอ่านไม่ออกเสี ยง การอ่านใจในถือว่าเป็ นการอ่าน
เพื่อพัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ

๒. จุดมุ่งหมายของการอ่านในใจ
๑. เพื่อจับใจความได้ถูกต้องรวดเร็ว
๒. เพื่อให้เกิดความรู ้ความเข้าใจและความคิดกว้างขวางลึกซึ้ง เป็ นการ
เสริ มสร้างประสบการณ์ชีวต
ิ
๓. เพื่อให้เกิดความเพลิดเพลินและเป็ นการใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์

๓. หลักการอ่านในใจประกอบด้ วย
๑. ตั้งสมาธิให้แน่วแน่
๒. รู ้วงศัพท์ รู ้ความหมายที่แท้ของถ้อยคาที่อ่านก็จะสามารถเข้าใจเรื่ อง
ที่ได้อ่านได้ดีและรวดเร็ว
๓. กะระยะช่วงสายตาแต่ละคราวให้กว้างที่สุด จะทาให้อ่านได้รวดเร็ว
ไม่ควรมองเป็ นคา ๆ เพราะทาให้อ่านช้าและจับใจความไม่ได้
แบบฝึ กกิจกรรมที่ ๑

จุดประสงค์ รู้ หลักเกณฑ์ การอ่านในใจได้
คาชี้แจง เติมคาลงในช่องว่างให้ได้ใจความที่สมบูรณ์ ( ๕ คะแนน)

๑. ลาดับแรกในการอ่านในใจคือ......................................................................
.....................................................................................................................

๒. การอ่านควรอ่านเป็ นกลุ่มคาไม่ใช่การอ่านทีละคาคือ......................................
.........................................................................................................................

๓. การอ่านในใจที่ดีไม่ควร....................................................................... ริ มฝี ปาก

่
๔. การอ่านหนังสื อที่อยูพอเหมาะแก่ระยะสายตาคือระยะ.................................. นิ้ว

๕. วิธีการไปสู่ จุดมุ่งหมายการอ่านควร................................................... ในการอ่าน
ใบความรู้

เรื่อง การอ่านในใจ

ตอนที่ ๒

ความหมายของถ้ อยคาที่อ่าน
ความหมายของคาทีอ่าน
่
มีท้ งความหมายโดยตรง และ ความหมายโดยนัย
ั
ความหมายโดยตรง หมายถึงความหมายตามพจนานุกรม
ความหมายโดยนัย หมายถึงความหมายของคาที่แฝง
่ ั
อยูกบความหมายของคานั้น
ตัวอย่ าง

ฝรั่ง ความหมายโดยตรง ผลไม้ชนิดหนึ่ง
ความหมายโดยนัย

ชนชาติผวขาว
ิ

หมู ความหมายโดยตรง สัตว์ชนิดหนึ่ง
ความหมายโดยนัย

สิ่ งที่ทาได้ง่าย
คนที่มีรูปร่ างอ้วน
แบบฝึ กกิจกรรมที่ ๒
จุดประสงค์ อธิบายความหมายของคาที่อ่านในใจได้
คาชี้แจง

อธิบายความหมายของคาที่กาหนดให้เติมลงในช่องว่าง ( ๕ คะแนน)

ตอนที่ ๑
๑.

ความหมายโดยตรง...........................................................
ความหมายโดยนัย............................................................

๒.

ความหมายโดยตรง..........................................................
ความหมายโดยนัย...........................................................

๓.

ความหมายโดยตรง..........................................................
ความหมายโดยนัย...........................................................

๔.

ความหมายโดยตรง..........................................................
ความหมายโดยนัย...........................................................

๕.

ความหมายโดยตรง..........................................................
ความหมายโดยนัย...........................................................
ตอนที่ ๒

คาชี้แจง เลือกคาที่กาหนดให้เติมลงในช่องว่างให้ได้ความหมายที่สมบูรณ์ (๕ คะแนน)

นางงาม

พลอย

เข้ มแข็ง

วิทยาศาสตร์ นางฟ้ า แข็งแรง

ตี

ลงโทษ

ประวัติศาสตร์

๑. เธอสวยราวกับ……………………………………………………….…………..

๒. เด็กชายรุ่ งเรื องไม่ทาการบ้านจึงถูกครู ………………………….……………..…

่ ั
๓. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหวเป็ นบิดาแห่ง …………………..….. ไทย

๔ . การเล่นกีฬาทาให้เขามีร่างกายที่………………………………………………….
ใบความรู้

ตัวอย่ างที่ ๑

ตอนที่ ๓ การเคลือนไหวสายตาทีเ่ ป็ นตัวอักษร
่

การจัดลาดับตัวอักษรก่อน - หลังโดยใช้ สัญลักษณ์

เพือ
่

เชื่อมโยงกับการเคลือนไหวสายตา
่

ง

ก

ฉ

ข

ช

ค

ป

ง

ผ

จ

ม

ฉ

ภ

ช

ก

ย

จ

ป

ข

ผ

ย

ภ

ค

ม
ตัวอย่างที่ ๒

การเคลือนไหวสายตาทีเ่ ป็ นตัวเลข
่

การจัดลาดับตัวอักษรก่ อน – หลัง โดยใช้ สัญลักษณ์

เพือ
่

เชื่อมโยงกับการเคลือนไหวสายตา
่

๘

๙

๗

๑

๒

๓

ตัวอย่ างที่ ๓

๕

๔

๓

๑

๕

๖

๔

๗

๒

๘

เชื่อมโยงกับการเคลือนไหวสายตา
่

๒.๒
๒.๓
๒.๔

๙

การเคลือนไหวสายตาทีเ่ ป็ นสั ญลักษณ์ (
่

การจัดลาดับตัวอักษรก่อน – หลัง โดยใช้ สัญลักษณ์

๒.๑

๖

เพือ
่

)
ตัวอย่ างที่ ๔

การเคลือนไหวสายตาทีเ่ ป็ นภาพ (
่

การจัดลาดับตัวอักษรก่อน – หลัง โดยใช้ สัญลักษณ์
เชื่อมโยงกับการเคลือนไหวสายตา
่

๑.

๒.

๓.

๔.

)

เพือ
่
แบบฝึ กกิจกรรมที่ ๓

จุดประสงค์ บอกลักษณะการเคลื่อนไหวสายตาการอ่านในใจได้

คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเรี ยงลาดับตัวอักษร สัญลักษณ์ ภาพ โดยใช้สัญลักษณ์
ั

เพื่อ

เชื่อมโยงการเคลื่อนไหวสายตาในการอ่านในใจ ( ๖ คะแนน)

ตอนที่ ๑. เรี ยงลาดับตัวอักษรที่กาหนดให้ก่อน – หลัง โดยใช้สัญลักษณ์

เพื่อ

เชื่อมโยงการเคลื่อนไหวสายตา
ร

อ

ด

ต

ล

ฬ

ส

ศ

ษ

ฟ

พ

ม

ตอบ…………………………………………………………………………………….

ตอนที่ ๒. เรี ยงลาดับตัวเลขที่กาหนดให้ก่อน – หลัง โดยใช้สัญลักษณ์

เพื่อ

เชื่อมโยงการเคลื่อนไหวสายตา
๑๗

๑๙

๑๕

๑๑

๑๔

๑๘

๑๓

๑๖

๑๒

ตอบ………………………………………………………………………………………
ตอนที๓ จากข้อ ๑ – ๔ ให้นกเรี ยนเรี ยงลาดับสัญลักษณ์
่
ั

ก่อน – หลัง

เพื่อเชื่อมโยง การเคลื่อนไหวสายตา
๑.
๒.
๓.
๔.
ตอบ.............................................................................................................................

ตอนที่ ๔. จากข้อ ๑-๔ เรี ยงลาดับการเคลื่อนไหวสายตาที่เป็ นสัญลักษณ์
๑
๒
๓
๔
ตอบ.............................................................................................................................
ตอนที่ ๕ จากข้อ ๑-๔ เรี ยงลาดับการเคลื่อนไหวสายตาที่เป็ นภาพ
๑

๑

๒

๓

๔

๒

๓

๑

๔

๒

๓

๒

๓

๑

๔

๔

๑

๔

๒

ที่กาหนดให้

๓

ตอบ.....................................................................................................................

ตอนที่ ๖ จากข้อ ๑-๔เรี ยงลาดับการเคลื่อนไหวสายตาที่เป็ นภาพ

ที่กาหนดให้

๑.

๑

๒

๓

๔

๒.

๔

๓

๑

๒

๓.

๑

๒

๔

๓

๔.

๒

๔

๑

๓

ตอบ.....................................................................................................................
ใบความรู้
เรื่อง การอ่านในใจ
การแบ่ งช่ วงระยะการเคลือนไหวสายตาการอ่านในใจทีเ่ ป็ นข้ อความ
่
ตัวอย่ างข้ อความที่ ๑

ด่านมะขามเตี้ย เป็ นชื่ออาเภอหนึ่งของกิ่งอาเภอด่านมะขามเตี้ย
จังหวัดกาญจนบุรี ด่านมะขามเตี้ย เป็ นหน้าด่านที่สาคัญทางชายแดน
ติดต่อกับประเทศพม่า ทางด้านทิศตะวันตก ของจังหวัดกาญจนบุรี
ดังมีชื่อปรากฏในประวัติศาสตร์ เนื่องจากสงครามระหว่างไทยกับพม่า
รบกัน ในสมัยแผ่นดินกรุ งศรี อยุธยา กรุ งธนบุรี รวมทั้งสงคราม
่
มหาเอเชียบูรพา โดยกองทัพญี่ปุ่นสร้างทางรถยนต์ผานด่านมะขามเตี้ย
เข้าสู่ ประเทศพม่าทางบ้านยางเกาะ ตาบลกลอนโด ด่านมะขามเตี้ย
นับว่าเป็ นหน้าด่านสาคัญทางยุทธศาสตร์
(ที่มา นายมงคล สุวรรณบุปผา ๕/๑ หมู่ ๑ ต.ด่านมะขามเตี้ย กิ่งอาเภอด่านมะขามเตี้ย
จังหวัดกาญจนบุรี ๗๑๒๖๐)
แนวการตอบ

วิธีการแบ่ งช่ วงระยะการเคลือนไหวสายตาการอ่านในใจทีเ่ ป็ นข้ อความ
่

ด่านมะขามเตี้ย / เป็ นชื่ออาเภอหนึ่งของกิ่งอาเภอด่านมะขามเตี้ย / จังหวัดกาญจนบุรี
ด่านมะขามเตี้ยเป็ นหน้าด่านที่สาคัญ ทางชายแดน / ติดต่อกับประเทศพม่าทางด้านทิศตะวันตก
ของจังหวัดกาญจนบุรี / ดังมีชื่อปรากฏในประวัติศาสตร์ / เนื่องจากสงคราม/ระหว่างไทยกับพม่า
รบกันในสมัยแผ่นดินกรุ งศรี อยุธยา / กรุ งธนบุรี / รวมทั้งสงครามมหาเอเชียบูรพา /โดยกองทัพ
่
ญี่ปุ่นสร้างทางรถยนต์ผานด่านมะขามเตี้ย / เข้าสู่ประเทศพม่าทางบ้านยางเกาะ/ ตาบลกลอนโด
ด่านมะขามเตี้ย / นับว่าเป็ นหน้าด่านสาคัญทางยุทธศาสตร์
(ที่มา นายมงคล สุวรรณบุปผา ๕/๑ หมู่ ๑ ต.ด่านมะขามเตี้ย กิ่ง อ.ด่านมะขามเตี้ย จ. กาญจนบุรี ๗๑๒๖๐)
ตัวอย่ างข้ อความที่ ๒
่
“การดูแผนที่ของทวีปที่สหรัฐอเมริ กาตั้งอยูอย่างคร่ าวๆอาจทาให้
เข้าใจผิด ได้ว่า มหาสมุ ท รมี ค วามลึ ก เท่ ากัน หมด โดยตลอดจนเข้ามาถึ ง
แนวชายฝั่ ง ทะเลความจริ ง แล้ว ทะเลชายฝั่ ง ตะวัน ออก และทะเลชายฝั่ ง
ของอ่ าวเม็ก ซิ โ ก มี น้ า ค่ อ นข้า งตื้ น ในบริ เ วณที ่ ห่ า งจากชายฝั่ ง ออกไป
ทางด้า นมหาสมุทรด้านฝั่งตะวันตก มีไหล่ทะเลคู่ขนานไปกับแนวชายฝั่ง
และพื้นที่ ใต้น้ า ”
(ที่มา : มหาสมุทรที่ทรุ ดโทรม สานักงานคณะกรรมการการวิจยแห่งชาติ หน้า ๙๐)
ั

แนวการตอบ
วิธีการแบ่ งช่ วงระยะการเคลือนไหวสายตาการอ่านในใจทีเ่ ป็ นข้ อความ
่
่
“การดูแผนที่ / ของทวีปที่สหรัฐอเมริ กาตั้งอยูอย่างคร่ าว ๆ / อาจทาให้
่
เข้าใจผิดได้วา / มหาสมุทรมีความลึกเท่ากันหมด / โดยตลอดจนเข้ามาถึงแนว
ชายฝั่งทะเล / ความจริ งแล้ว / ทะเลชายฝั่งตะวันออกและทะเลชายฝั่งของอ่าว
เม็กซิโก / มีน้ าค่อนข้างตื้นในบริ เวณที่ห่างจากชายฝั่งออกไปทางด้าน
มหาสมุทร / ด้านฝั่งตะวันตกมีไหล่ทะเลคู่ขนานไป / กับแนวชายฝั่งและพื้นที่ใต้น้ า”
แบบฝึ กกิจกรรมที่ ๔
จุดประสงค์ ๑. อธิบายช่วงระยะสายตาการอ่านในใจจากเรื่ องที่กาหนดให้อ่านได้
๒. อ่านในใจเรื่ องที่กาหนดให้อ่านได้
คาชี้แจง

อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วเขียนแบ่งช่วงระยะสายตาและการเคลื่อนไหว
สายตา ในการอ่านในใจ ( ๕ คะแนน )

“เมื่ อเขาเจริ ญถึงที่สุดแล้ว ก็จะกลับมาสู่ ความสวยงามของธรรมชาติอีก ในเมือง
ใหญ่ ๆ ของประเทศที่ เจริ ญ ที่ สุ ดแล้ว ผู ้ค นเริ่ มเบื่ อ หน่ า ยกับ สิ่ งประดิ ษ ฐ์ ที่ ท าความ
ั
สะดวกสบายให้กบมนุษย์ เริ่ มเบื่อห้องแอร์ เบื่อคอมพิวเตอร์ ระบบกดปุ่ มที่ให้ความสะดวก
ั
หัน มาเล่ นธรรมชาติ กน มากขึ้ น บางคนหนี เข้าป่ าไปเป็ นเดื อน เพราะความยุ่งเหยิงของ
บ้านเมืองที่มนกัดกินหัวใจ”
ั
( ที่มา : คนเผาถ่าน นิมิต ภูมิถาวร หน้า ๗๖)

………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
ใบความรู้
เรื่อง การอ่านในใจลาดับความคิด
การแบ่ งช่ วงระยะการเคลือนไหวสายตาการอ่านในใจข่ าว
่
ตัวอย่ างข่ าวที่ ๑

(ที่มา หนังสื อพิมพ์มติชนรายวัน วันพุธที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๑ ปี ที่ ๓๑ ฉบับที่ ๑๑๐๔๓ หน้า ๑๐)

วิธีการแบ่ งช่ วงระยะสายตาและการเคลื่อนไหวการอ่านในใจข่ าว
แนวการตอบ

สวนผักบนดาดฟ้ า
โครงการทาสวนผักบนดาดฟ้ า / ของสานักงานเขตหลักสี่ / นับเป็ น
แบบอย่างที่ดี / ของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง / และช่วยลดภาวะโลก
ร้อนไปในตัว / หากต้องการได้ขอมูลหรื อดูของจริ ง / ขอแนะนา
้
ให้รีบไปในช่วงนี้ / เพราะผักสารพัดชนิดกาลังงอกงามได้ดี / เห็นแล้ว
น่ากินจริ ง ๆ
แนวการตอบ
ตัวอย่ าง ข่ าวที่ ๒
วิธีการแบ่ งช่ วงระยะสายตาและการเคลือนไหวการอ่านในใจข่ าว
่

ที่มา : หนังสื อพิมพ์มติชนรายวัน วันเสาร์ที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๕๑ปี ที่๓๑ฉบับที่ ๑๑๐๔๖หน้า ๒๐)

กินเกลือน้ อยไปอาจไม่ ดีต่อหัวใจ
ปกติแล้วทีผ่านมา / บรรดาแพทย์ หรือนักโภชนาการ / ก็มกจะแนะนา
่
ั
ให้ คนเราลดการรับประทานเกลือลงให้ เหลือน้ อยที่สุด / เพราะว่ าไม่ ดี
ต่ อสุ ขภาพ / และนามาซึ่งโรคหลายประการ / โดยเฉพาะความดัน
โลหิตสู ง / ซึ่งนาไปสู่ โรคหัวใจ
แบบฝึ กกิจกรรมที่ ๕
จุดประสงค์ ๑. เขียนช่วงระยะสายตาการอ่านในใจจากเรื่ องที่กาหนดให้อ่านได้
๒. อ่านในใจเรื่ องที่กาหนดให้อ่านได้
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนอ่านข่าวต่อไปนี้แล้วเขียนข่าวลงในกระดาษคาตอบ พร้อม
ั
ทั้งเขียนการแบ่งช่วงระยะสายตาและการเคลื่อนไหวสายตาการอ่านในใจ
(๕ คะแนน)

(ที่มา: หนังสื อพิมพ์มติชนรายวัน วันศุกร์ที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๕๑ ปี ที่ ๓๑ ฉบับที่ ๑๑๐๔๕ หน้า ๒๖)

มอเตอร์ ไซด์ เพือคนพิการ
่
ความพิการ อวัยวะสาหรับหลายคนไม่ใช่อุปสรรค หรื อปัญหาใหญ่เท่าภูเขา
ที่จะไม่สามารถก้าวข้ามไปได้สาหรับความคิดสร้างสรรค์ บวกความตั้งใจ และความ
่
มานะอดทน ทาให้คนพิการ ไม่วาจะแขน ขา หรื อส่ วนอื่น ๆ ของร่ างกาย ก็สามารถ
ใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับคนปกติ ดูอย่างกลุ่มผูมีวุฒิภาวะอัมพาตของร่ างกายส่ วนล่าง
้
(parapiegia) ยังขี่มอเตอร์ไซด์ที่ออกแบบพิเศษได้ แถมยังคว้าแชมป์ มากอดได้อีก
กระดาษคาตอบ
ชุดที่ ๑ อ่านในใจลาดับความคิด
แบบฝึ กกิจกรรมที่ ๕
มอเตอร์ ไซด์ เพือคนพิการ
่

……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
ใบความรู้

การอ่านในใจ

เรื่อง การแบ่ งช่ วงระยะการเคลือนไหวสายตาการอ่านในใจเนื้อเพลง
่

เพลงมาร์ ชด่ านมะขามเตีย
้
(คาร้ องอาจารย์ จงใจ ศรีวเิ ชียร

ทานอง ผอ.สมหมาย ปราบสุ ธา)

แหล่งศึกษางามเด่นเชิงชายเขา ไพรพฤกษ์เงาร่ มรื่ นชื่นสุ ขสม
โรงเรี ยนเราด่านมะขามเตี้ยวิทยาคม

ชนนิยมสถาบันสร้างสรรค์ดี

ดอกบัวหลวงงามสง่าปราศมัวหมอง

เหมือนกมลพวกพ้องเราน้องพี่

คุณธรรมนาวิถีแห่งชีวี

เทา-ชมพูชูศรี ศกดิ์รักค่าตน
ั

เร่ งเรี ยนรู ้ดวยใจอันมุ่งมัน
้
่

กล้าฝ่ าฟันอุปสรรคประจักษ์ผล

เป็ นผูนาเป็ นผูตามในทางตน
้
้

แกร่ งกล้าทนเหมือนต้นมะขามนาม

เทา-ชมพูรู้พระคุณอันยิงใหญ่
่

สถาบันส่ งเสริ มให้ไร้คนหยาม

จะรักษาเกียรติยศปรากฏนาม

สร้างชื่อก้องเขตคามให้เกรี ยงไกร

แหล่งศึกษางามเด่นเชิงชายเขา

โรงเรี ยนเรารักผูกพันมันฝันใฝ่
่

่
่
อยูแห่งไหนมิลางเลือนเคลื่อนสายใย ด่านมะขามเตี้ยตราอยูในใจนานเนา
แนวการตอบ
วิธีการแบ่ งช่ วงระยะสายตาการอ่านในใจเนือเพลง
้
เพลงมาร์ ชด่ านมะขามเตีย
้

(คาร้ องอาจารย์ จงใจ ศรีวเิ ชียร ทานอง ผอ.สมหมาย ปราบสุ ธา)
แหล่งศึกษา / งามเด่นเชิงชายเขา ไพรพฤกษ์เงา / ร่ มรื่ นชื่นสุ ขสม
โรงเรี ยนเรา / ด่านมะขามเตี้ยวิทยาคม

ชนนิยม / สถาบัน / สร้างสรรค์ดี

ดอกบัวหลวง / งามสง่า / ปราศมัวหมอง เหมือนกมล / พวกพ้อง / เราน้องพี่
คุณธรรม / นาวิถี / แห่งชีวี

เทา-ชมพู / ชูศรี ศกดิ์ / รักค่าตน
ั

เร่ งเรี ยนรู ้ / ด้วยใจ / อันมุ่งมัน
่

กล้าฝ่ าฟัน / อุปสรรค / ประจักษ์ผล

เป็ นผูนา / เป็ นผูตาม / ในทางตน
้
้

แกร่ งกล้าทน / เหมือนต้น / มะขามนาม

เทา-ชมพู / รู ้พระคุณ / อันยิงใหญ่
่

สถาบัน / ส่ งเสริ มให้ / ไร้คนหยาม

จะรักษา / เกียรติยศ / ปรากฏนาม

สร้างชื่อก้อง /เขตคาม / ให้เกรี ยงไกร

แหล่งศึกษา / งามเด่น / เชิงชายเขา โรงเรี ยนเรา / รักผูกพันมันฝันใฝ่
่
่
่
อยูแห่งไหน / มิลางเลือน / เคลื่อนสายใย ด่านมะขามเตี้ย / ตราอยูใน / ใจนานเนา
แบบฝึ กกิจกรรมที่ ๖
จุดประสงค์ ๑. เขียนช่วงระยะสายตาการอ่านในใจจากเรื่ องที่กาหนดให้อ่านได้
๒. อ่านในใจเรื่ องที่กาหนดให้อ่านได้
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนอ่านเนื้อเพลงต่อไปนี้แล้วเขียนข่าวลงในกระดาษคาตอบ พร้อม
ั
ทั้งเขียนการแบ่งช่วงระยะสายตาและการเคลื่อนไหวสายตาการอ่านในใจ
(๕ คะแนน)
กาญจนบุรีศรีสยาม

คาร้ อง พรพิรุณ

ทานอง เอือ สุ นทรธรรม
้

กาญจนบุรีดินแดนที่สุขสันต์อาจิณ
แดนอุดมด้วยทรัพย์สิน ผืนแผ่นดินทองของชาติไทย
ดินแดนสวยประหลาด ธรรมชาติเลอล้ าถิ่นใด
งามถ้ าธารน้อยใหญ่ เพลินใจเมื่อยามได้ชม
ตื่นตาครั้นมาน้ าตกพลิ้วตกรื่ นรมย์
่ ั่
เสี ยงครื่ นครั่นโครมพลิ้วพรมอยูชวกาล
ไทรโยคทั้งใหญ่นอยสวยหยดย้อยและดูตระการ
้
สวยเอราวัณแม้นถิ่นวิมานตราตรึ ง
ที่มา : www.kanchanaburi.go.th/au/song.php
กระดาษคาตอบ
ชุดที่ ๑ อ่านในใจลาดับความคิด
แบบฝึ กกิจกรรมที่ ๖
เพลง กาญจนบุรีศรีสยาม

……………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
ที่มา : www.kanchanaburi.go.th/au/song.php
ใบความรู้
เรื่อง การอ่านในใจลาดับความคิด

การแบ่ งช่ วงระยะการเคลือนไหวสายตาการอ่านในใจนิทาน
่

ตัวอย่าง

นิทานเรื่อง คางคกใจสู้ งูเห่ าไฟ

(นิทานคติธรรม ชุด ช้างเจ้าปั ญญา หมาผจญภัย ข ขันทอง หน้า ๑๒-๑๔)
จะกล่าวอ้างถึงคางคกโทน ตัวกล้าแข้งขาใหญ่ แข็งแรง
อย่าบอกใครกระโดดไป ว่ายน้ าไป ไม่มีเหนื่อย ทุก ๆ วัน
ร่ างกายนั้นแข็งแรงตัวใหญ่ กระโดดไกลเกือบวาแต่มน
ั
่
ก็ซ่าอยูดี
มันเป็ นหนุ่มกลัดมัน ถ้าสูกนกับใคร ๆ ถึงหลายตัว มันก็สูได้
้ ั
้
ชนะขาดลอย คางคก กบทุกตัวกลัวมันหมด ตะขาบ กิ้งกือ
นก หนูนา มันก็ฆ่าได้
่
จะกล่าวถึงงูลาย ออกไข่อยูในโพรงไม้ที่เก่าแก่ เจ้าคางคกใหญ่
็ ู
กระโดดไปเห็นเข้า หวานเรา ลาภใหญ่ไข่งู งูกข่ฟู่ ๆและเลื้อยหนีไป
เจ้าคางคกใหญ่ดีใจกระโดดตรงไปที่ไข่งู อูฮู้ หลายใบ จึงอ้าปากงับ
้
็
ทันใดแม่งูกมา ฮ้า ๆ คิดว่าเจ้าจะเลยไปแต่ที่ไหนได้ จะกินไข่ลกเรา
ู
ลองมาสูกนสักตั้งเป็ นไร เจ้าคางคกใหญ่ถือว่าเก่ง อ้ายนักเลงใหญ่ไม่ชา
้ ั
้
็
เจ้าต้องตายทาซ่าเหนือฟ้ ายังมีฟ้า ว่าแล้วคางคกคาบคองูทนที งูกดิ้น
ั
พลิกท้องไปมาหางก็พนคางคก คางคกกัดคอไม่ปล่อย ไม่ชางูกตาย
ั
้ ็
คางคกตรงเข้ากินไข่จนอิ่มและเดินทางต่อไป หาแมลงนานาชนิด
กินจนอิ่มทุกวัน เมื่อมันผ่านไปทางไหน สาวแก่แม่หม้าย ติดใจทุก ๆ ตัว
มันเดินทางท่องเที่ยวในป่ าหญ้าสู งใหญ่ อาหารถูกใจตลอดมา
วันหนึ่ง มันว่ายน้ าเล่น พบงูเห่าไฟตัวใหญ่ ว่ายน้ าผ่านหน้าไป พิษร้ายแรง
่
งูเห่าไฟ ก็วายน้ าวกกลับมาหา มันไม่รู้หลับหูหลับตาว่ายน้ าดาน้ า ดาผุด
ดาว่ายจนงูมาถึงตัว ฉกมัน กัดมัน คางคกไม่ยอมต่างฉกต่างกัดต่างปล่อย
พิษซึ่งกันและกัน พวกพ้องเห็นต่างให้กาลังใจ ต่างโห่ร้อย พวกฉันจะช่วย ๆ
็
ทันใดนั้นงูใหญ่กหงายท้องตาย คางคกก็หงายท้องตาย
ต่อมาคางคกเห็นงูเห่าไฟก็ไม่กล้าเข้าใกล้เพราะกลัวพิษร้ายของมัน
ส่วนงูเห่าไฟเห็นคางคกก็ไม่กล้าเข้าใกล้เช่นกันเพราะกับพิษคางคก
แนวการตอบ
วิธีการแบ่ งช่ วงระยะการเคลือนไหวสายตาการอ่านในใจนิทาน
่

นิทานเรื่อง คางคกใจสู้ งูเห่ าไฟ
จะกล่าวอ้างถึงคางคกโทนตัวกล้าแข้งขาใหญ่ / แข็งแรง อย่าบอกใคร / กระโดดไป
ว่ายน้ าไป / ไม่มีเหนื่อย / ทุก ๆ วัน / ร่ างกายนั้นแข็งแรงตัวใหญ่ / กระโดดไกลเกือบวา / แต่
่
ั
มันก็ซ่าอยูดี / มันเป็ นหนุ่มกลัดมัน / ถ้าสู ้กนกับใคร ๆ ถึงหลายตัว / มันก็สู้ได้ / ชนะขาด
ลอยคางคก / กบทุกตัวกลัวมันหมด ตะขาบ / กิ้งกือ / นก / หนูนา / มันก็ฆ่าได้ / จะกล่าวถึง
่
งูลายออกไข่อยูในโพรงไม้ที่เก่าแก่ / เจ้าคางคกใหญ่ / กระโดดไปเห็นเข้า / หวานเรา / ลาภ
็ู
ใหญ่ไข่งู / งูกข่ฟู่ ๆ / และเลื้อยหนีไป / เจ้าคางคกใหญ่ดีใจกระโดดตรงไปที่ไข่งู / อูฮู!้
้
็
หลายใบ / จึงอ้าปากงับ/ ทันใดแม่งูกมา / ฮ้า ๆ คิดว่าเจ้าจะเลยไปแต่ที่ไหนได้ จะกินไข่
ั
ลูกเรา / ลองมาสู ้กนสักตั้งเป็ นไร / เจ้าคางคกใหญ่ถือว่าเก่ง / อ้ายนักเลงใหญ่ไม่ชาเจ้า
้
็
ต้องตาย / ทาซ่า / เหนือฟ้ ายังมีฟ้า / ว่าแล้วคางคกคาบคองูทนที / งูกดิ้นพลิกท้องไปมา / หาง
ั
ก็พนคางคก / คางคกกัดคอไม่ปล่อยไม่ชางูกตาย / คางคกตรงเข้ากินไข่จนอิ่มและเดินทาง
ั
้ ็
ต่อไป / หาแมลงนานาชนิดกินจนอิ่มทุกวัน / เมื่อมันผ่านไปทางไหน / สาวแก่แม่หม้าย
ติดใจ ทุก ๆ ตัว / มันเดินทางท่องเที่ยวในป่ าหญ้าสู งใหญ่ อาหารถูกใจตลอดมา
เช้าวันหนึ่ง มันว่ายน้ าเล่น / พบงูเห่าไฟตัวใหญ่ / ว่ายน้ าผ่านหน้าไป / พิษร้าย
่
แรง / งูเห่าไฟก็วายน้ าวกกลับมาหา / มันไม่รู้หลับหูหลับตาว่ายน้ าดาน้ า / ดาผุด ดาว่าย / จน
งูมาถึงตัว / ฉกมันกัดมัน / คางคกไม่ยอม / ต่างฉก/ต่างกัด / ต่างปล่อยพิษซึ่งกันและ
กัน / พวกพ้องเห็นต่างให้กาลังใจ / ต่างโห่ร้อย / พวกฉันจะช่วยๆ ทันใดนั้นงูใหญ่ก็
หงายท้องตาย / คางคกก็หงายท้องตาย / ต่อมาคางคกเห็นงูเห่าไฟก็ไม่กล้าเข้าใกล้เพราะ
กลัวพิษร้ายของมัน / ส่ วนงูเห่าไฟเห็นคางคกก็ไม่กล้าเข้าใกล้เช่นกัน เพราะกลัวพิษคางคก

(นิทานคติธรรม ชุด ช้างเจ้าปั ญญา หมาผจญภัย ข ขันทอง หน้า ๑๒-๑๔)
แบบฝึ กกิจกรรมที่ ๗

จุดประสงค์ ๑. อธิบายช่วงระยะสายตาการอ่านในใจจากเรื่ องที่กาหนดให้อ่านได้
๒. อ่านในใจนิทานเรื่ องที่กาหนดให้อ่านได้
คาชี้แจง อ่านนิทานต่อไปนี้แล้วเขียนแบ่งช่วงระยะสายตาและการเคลื่อนไหวสายตา
การอ่านในใจ

นิทานเรื่อง บาปทีปาก
่

( ที่มา : นิทานคติธรรม ชุดสัตว์มีศีลได้ยนหรื อไม่ ข ขันทอง หน้า ๑๙ – ๒๑ )
ิ
จะกล่าวถึงยายเขียว กับยายมา คู่อาฆาตต่างปราดเปรื่ องกันทั้งคู่
ยายมาชอบถือศีลกินเพล ยายเขียวถือสากพูดมากจนปากเขียว
ฉันนี่ล่ะไปวัด หลวงพ่อบอกว่าฉันนี้ปฏิบติดีแล้ว อุตส่ าห์ทาเช่นนี้
ั
ไปจนตายถึงฉันจะชอบว่าร้ายใคร ๆ ไม่ใช่คนดีจริ งไม่ไปวัด นาน ๆ
ก็พลัดหลงไปเสี ยทีฉนนี้ไปทุกวันพระ เอาข้าวกับข้าวไปทาบุญ
ั
พระก็สอนดี ๆฉันนี้จาได้ทุก ๆ เรื่ อง
ยายเขียวชอบนินทาว่าคนเสี ยป่ นปี้ เกือบทุกวัน ส่ วนยายมาวัน ๆ
ก็ไปเก็บผักหักฟื นตกปลา ต้องทามาหากิน เวลาเป็ นของมีค่า
ไม่หาก็ไม่ได้กิน
วันหนึ่งเป็ นวันพระขึ้น ๑๕ ค่า ยายมาไปนังวิปัสสนากรรมฐาน
่
่
่
อยูปากทางเข้าป่ าช้า ยายเขียวมองอยูนานเห็นโลงศพเก่า ๆ ไหม้
ไปครึ่ งหนึ่งจึงบอกสัปเหร่ อให้เอาโลงศพไปไว้หน้ายายมา
่
ยายมาได้ยนเสี ยงจึงลืมตาขึ้นดูเห็นโลงศพอยูตรงหน้า จึงแผ่กศลให้
ิ
ุ
ศพนั้นเป็ นศพยายแก่ซ่ ึงร่ ารวยมียศศักดิ์ จึงพูดกับยายมาว่า เงินทอง
ยศฐา ตายไปก็เอาไปไม่ได้แม้แต่กายเราก็เอาไปไม่ได้ ได้แต่บุญกุศล
และความดี จึงบอกเลข ๓ ตัว ให้ไปซื้อลอตเตอรี่ จะได้ใช้กินนาน ๆ
เมื่อยายมาถูกลอตเตอรี่ ยายเขียวก็เต้นผาง ๆ เพราะข้าคนเดียว
เอ็งจึงได้เงินร่ ารวยเป็ นเศรษฐี จึงไปต่อว่าโลงศพให้ศพยายแก่
บอกเลขให้ตนด้วยถ้าไม่ได้จะแช่งให้ไม่ได้ผดไม่ได้เกิด
ุ
แต่เดี๋ยวเดียว ยายเขียวก็ร้องว่า รอด้วย ๆ และวิงไปในป่ า
่
ชนต้นตาแยคันปาก เกาจนปากเน่า คิดจะว่าด่าให้ร้ายใคร
ไม่ได้และได้รับ ความทุกข์ทรมาน
กระดาษคาตอบ
ชุดที่ ๑ อ่านในใจลาดับความคิด
แบบฝึ กกิจกรรมที่๗
นิทาน เรื่องบาปที่ปาก

………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
แบบฝึ กกิจกรรมทบทวนความรู้
ให้ นักเรียนเลือกเขียน ข่ าว ข้ อความ เนือเพลง นิทานทีชอบแล้วแบ่ งช่ วงระยะ
้
่
สายตาและการเคลือนไหวสายตาในการอ่านในใจ
่
………………………………..
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………….…………….
……...........................................................................................................
ภาคผนวก
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบฝึ กเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
ชุดที่ ๑ เรื่องอ่ านในใจลาดับความคิด
ตอนที่ ๑

ให้นกเรี ยนอ่านข้อความต่อไปนี้ ใช้เวลาทั้งสิ้ น ๒ นาที
ั
ประวัติจังหวัดกาญจนบุรี
เมืองกาญจนบุรีพ้ืนที่ก่อสร้างเมืองกาญจนบุรีเป็ นบริ เวณที่ลาน้ าแควน้อย

ไหลมาบรรจบกับลาน้ าแควใหญ่ เรี ยกกันว่า " ปากแพรก " ซึ่ งมีชยภูมิอนเหมาะ
ั
ั
ต่อการเป็ นเส้นทางสัญจรและค้าขาย ตลอดจนการเป็ นเมืองหน้าด่ านรับศึกพม่า
พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว โปรดเกล้ า ฯ ให้ ส ร้ า งเมื อ งนี้ ขึ้ น
เมื่อ พ.ศ.๒๓๗๔
กาญจนบุรีเป็ นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางที่มีผคนนิยมเดินทางไปท่องเที่ยว
ู้
เต็ ม ไปด้ว ยเรื่ อ งราวในอดี ต ที่ น่ าสนใจ เป็ นแหล่ ง อารยธรรม เก่ า แก่ ยุค ก่ อ น
ประวัติศาสตร์ เป็ นสถานที่ต้ งของสะพานข้ามแม่น้ าแคว ซึ่ งเป็ นสถานที่สาคัญ
ั
ทางประวัติศาสตร์ ของไทยในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ และมีชื่อเสี ยงโด่ งดัง
ไปทั่ ว โลก นอกจากนี้ ยัง มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์
่
ไม่วาจะเป็ น ป่ าเขาลาเนาไพร ถ้ าหรื อน้ าตก
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึ กเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
ชุดที่ ๑ เรื่อง การอ่านในใจลาดับความคิด
คาชี้แจง

ตอนที่ ๑

๑. แบบทดสอบมี ๒ ตอน
๒. เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้ว ทาเครื่ องหมายกากบาท (x)
ลงในกระดาษคาตอบที่แจกให้
๓. ตอบคาถามลงในกระดาษคาตอบที่แจกให้
ให้นกเรี ยนอ่านข้อความต่อไปนี้ ใช้เวลาทั้งสิ้ น ๒ นาที
ั
จังหวัดกาญจนบุรี
เมืองกาญจนบุรีพ้ืนที่ก่อสร้างเมืองกาญจนบุรีเป็ นบริ เวณที่ลาน้ าแควน้อย

ไหลมาบรรจบกับลาน้ าแควใหญ่ เรี ยกกันว่า " ปากแพรก " ซึ่ งมีชัยภูมิอนเหมาะ
ั
ต่อการเป็ นเส้นทางสัญจรและค้าขาย ตลอดจนการเป็ นเมืองหน้าด่านรับศึกพม่า
พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว โปรดเกล้ า ฯ ให้ ส ร้ า งเมื อ งนี้ ขึ้ น
เมื่อ พ.ศ.๒๓๗๔
กาญจนบุรีเป็ นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางที่มีผคนนิยมเดินทางไปท่องเที่ยว
ู้
เต็ ม ไปด้ว ยเรื่ อ งราวในอดี ต ที่ น่ า สนใจ เป็ นแหล่ ง อารยธรรมเก่ า แก่ ยุค ก่ อ น
ประวัติศาสตร์ เป็ นสถานที่ ต้ งของสะพานข้ามแม่ น้ าแคว ซึ่ งเป็ นสถานที่ สาคัญ
ั
ทางประวัติศาสตร์ ของไทยในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ และมี ชื่อเสี ยงโด่ งดัง
ไปทั่ ว โลก นอกจากนี้ ยัง มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์
่
ไม่วาจะเป็ น ป่ าเขาลาเนาไพร ถ้ าหรื อน้ าตก
ให้นกเรี ยนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้ว ทาเครื่ องหมายกากบาท (x)
ั
ลงในกระดาษคาตอบที่แจกให้

ตอนที่ ๒

จากข้อ ๑ – ๕ ตอบคาถามจากการอ่านข้อความ “ประวัติจงหวัดกาญจนบุรี”
ั
๑. ให้เรี ยงลาดับตัวอักษร ก่อน – หลัง เพื่อเปรี ยบเทียบการเคลื่อนไหวสายตา
ก.

ฉ

จ

ช

ฌ

ข.

จ

ฉ

ช

ฌ

ค.

ช

ฉ

จ

ฌ

ง.

ฌ

ฉ

จ

ช

๒. ข้อใดเป็ นการเคลื่อนไหวสายตา สัญลักษณ์
๑.
๒.
๓.
๔.
ก.
ข.
ค.
ง.

๑
๒
๓
๑

๒
๑
๔
๔

๓
๔
๑
๒

๔
๓
๒
๓

ได้ถูกต้อง
๓. จัดลาดับข้อความให้ได้ความหมาย ที่สมบูรณ์ที่สุด
๑ ประเทศไทย
๒ ในสมัยรัชกาลที่ ๗
๓ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๕
๔ ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย
ก.

๓

๔

๒

๑

ข.

๒

๑

๔

๓

ค.

๑

๓

๔

๒

ง.

๑

๒

๓

๔

“สุ นทรภู่ หรื อพระยาศรี สุนทรโวหารเป็ นกวี ๔ สมัย คือ สุ นทรภู่เกิดใน
สมัย รัชกาลที่ ๑ เมื่อวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๓๒๙ ได้เรี ยนวิชาหนังสื อ ที่วด
ั
ชีปะขาว (วัดศรี สุดาราม)ชีวิตรุ่ งเรื องในสมัยรัชกาลที่ ๒ โดยเข้ารับราชการ
ในกรมพระอาลักษณ์ได้เป็ นขุนสุ นทรโวหารและเป็ นกวีที่ปรึ กษา ตกอับใน
สมัยรั ช กาลที่ ๓ ต้องออกจากราชการและบวชเมื่ อ สึ กแล้วไม่ มี ที่พ่ ึ งต้อ ง
ลอยเรื อและแต่งหนังสื อขายเลี้ยงชีพถึงแก่กรรมในสมัยรัชกาลที่ ๔”
๔. ข้อความข้างต้น มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. สุ นทรภู่แต่งหนังสื อขาย
ข. สุ นทรภู่เป็ นกวี ๔ สมัย
ค. ชีวตและประวัติของสุ นทรภู่
ิ
ง. ๒๖ มิถุนายน เป็ นวันเกิดสุ นทรภู่
“ อย่าเกียจคร้านการทางานนะพวกเรา
งานหนักงานเบาเหนื่อยแล้วเราพักผ่อนก็หาย
ไม่ทางานหลบหลีกงานเฝ้ าเกียจคร้านเอาแต่สบาย
แก่จนตายขอทานายว่าไม่เจริ ญ”
๕. เนื้อเพลงข้างต้นมีความหมายตรงกับข้อใด
ก. ความขยัน
ข. การทางาน
ค. การพักผ่อน
ง. ความเกียจคร้าน
๖. ข้อใดแบ่งวรรคตอนการอ่านในใจได้ถูกต้อง
ก. กาญจนบุรี / เป็ นจังหวัดหนึ่งในภาคกลาง
ข. กาญจนบุรีเป็ น / จังหวัดหนึ่งในภาคกลาง
ค. กาญจนบุรี / เป็ นจังหวัดหนึ่ง / ในภาคกลาง
ง. กาญจนบุรีเป็ นจังหวัด / หนึ่งในภาคกลาง
๗. ข้อใดใช้เครื่ องหมาย

เพื่อแบ่งช่วงระยะสายตาการอ่านในใจได้ถูกต้อง

ก. กาญจนบุรี เป็ นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ยคก่อนประวัติศาสตร์
ุ
ข. กาญจนบุรี เป็ นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์
ค. กาญจนบุรีเป็ นเป็ นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์
ง. กาญจนบุรี เป็ นแหล่ง อารยธรรมเก่าแก่ยคก่อนประวัติศาสตร์
ุ
๘. จังหวัดกาญจนบุรี สร้างขึ้นในสมัยใด
่ ั
ก. พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหว
่
่ ั
ข. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว
่ ั
ค. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูหว
่ ั
ง. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว
๙. จังหวัดกาญจนบุรี มีความสาคัญทางด้านประวัติศาสตร์ อย่างไร
ก. มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
ข. มีธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์เช่น ถ้ า น้ าตก
ค. มีลาน้ าแควน้อยไหลมาบรรจบกับลาน้ าแควใหญ่
ง. เป็ นสถานที่การทาสงครามโลกครั้งที่ ๒
่ ั
๑๐. พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหว สร้างเมืองกาญจนบุรี ขึ้นใน พ.ศ. ใด
่
ก. พ.ศ. ๒๓๗๔
ข. พ.ศ. ๒๗๓๔
ค. พ.ศ. ๒๔๓๗
ง. พ.ศ. ๒๓๔๗
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบฝึ กเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
ชุดที่ ๑ เรื่องการอ่านในใจลาดับความคิด
ตอนที่ ๑

๑. จานวนบรรทัด …............................................. บรรทัด
๒. ใช้ เวลาในการอ่าน .................................................. นาที
๓. ระดับคะแนน ....................................................... คะแนน

ตอนที่ ๒
ข้ อ ก

ข

๒
๓

ข

๖

X

X

๗

X

๔
๕

ง ข้ อ ก

X

๑

ค

X

๙
๑๐

ง

X

๘
X

ค

X
X
X
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึ กเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
ชุดที่ ๑ เรื่องการอ่านในใจลาดับความคิด
ตอนที่ ๑

๑. จานวนบรรทัด …............................................. บรรทัด
๒. ใช้ เวลาในการอ่าน .................................................. นาที
๓. ระดับคะแนน ....................................................... คะแนน

ตอนที่ ๒
ข้ อ ก

ข

๑

X

๒

๕

ง ข้ อ ก

๘

ค

ง

X

๗
X

X

ข

๖
X

๓
๔

ค

X
X

๙
X ๑๐ X

X
เฉลยแบบฝึ กเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑

ชุดที่ ๑ การอ่านในใจ

เฉลยแบบฝึ กกิจกรรมที่ ๑

๑. การรู้ ความหมายของคา
๒. การเลือนช่ วงระยะสายตา
่
๓. เคลือนไหวริมฝี ปาก
่
๔. ๑๕ นิว
้
๕. ตั้งความมุ่งหมายในการอ่าน
เฉลยแบบฝึ กเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑

ชุดที่ ๑ การอ่านในใจ

เฉลยแบบฝึ กกิจกรรมที่ ๑

ตอนที่ ๑
๑.

ความหมายโดยตรง ผลไม้ชนิดหนึ่งที่หล่นจากต้นสู่ พ้ืนดิน
ความหมายโดยนัย ได้รับประโยชน์โดยไม่ได้คาดหวัง

๒.

ความหมายโดยตรง ผลไม้ชนิดหนึ่ง
ความหมายโดยนัย

๓.

เรื่ องที่สามารถทาได้โดยง่าย

ความหมายโดยตรง สัตว์ชนิดหนึ่ง
ความหมายโดยนัย

๕.

ความหมายโดยตรง

ผลไม้ชนิดหนึ่ง

ความหมายโดยนัย

๔.

สิ่ งที่ยงใหญ่
ิ่

ทาอะไรไม่เป็ นผล

ความหมายโดยตรง สัตว์ชนิดหนึ่ง
ความหมายโดยนัย

ความดุร้าย
ตอนที่ ๒

๑. นางฟา
้
๒. พลอย
๓. ลงโทษ
๔. วิทยาศาสตร์
๕. แข็งแรง
เฉลยแบบฝึ กกิจกรรมที่ ๓

ตอน ๑
ด

ต

พ

ฟ ม

ตอน ๒
๑๑
๑๒

๑๓

ร

ตอน ๓
ตอบ ๓

ษ

ส

ฬ

อ

๑๖

๑๗

๑๘

๑๙

๓

๒

๑

๔

๓

๑

ตอน ๔
๒

๔

๑

ตอน ๕
ตอบ ๓

ศ

๑๕

๑๔

ล

ตอบ ๔

ตอน ๖
๑ ๔

๒

ตอบ ๒
เฉลยแบบฝึ กกิจกรรมที่ ๔

“เมือเขาเจริญถึงทีสุดแล้ว / ก็จะกลับมาสู่ ความสวยงามของ
่
่
ธรรมชาติอก / ในเมืองใหญ่ ๆ / ของประเทศทีเ่ จริญทีสุดแล้ว / ผู้คน
ี
่
เริ่มเบื่อหน่ ายกับสิ่ งประดิษฐ์ ททาความสะดวกสบายให้ กบมนุษย์
ี่
ั
เริ่มเบื่อห้ องแอร์ / เบื่อคอมพิวเตอร์ / ระบบกดปุ่ มทีให้ ความ
่
สะดวกหันมาเล่นธรรมชาติกนมากขึน / บางคนหนีเข้ าป่ าไป
ั
้
เป็ นเดือน / เพราะความยุ่งเหยิงของบ้ านเมืองทีมนกัดกินหัวใจ”
่ ั
( คนเผ่าถ่ าน นิมต ภูมถาวร หน้ า ๗๖)
ิ
ิ
เฉลยแบบฝึ กกิจกรรมที่ ๕

มอเตอร์ ไซด์ เพือคนพิการ
่

ความพิการอวัยวะสาหรับหลายคนไม่ ใช่ อปสรรค / หรือปัญหาใหญ่
ุ
เท่ าภูเขา / ทีจะไม่ สามารถก้าวข้ ามไปได้ / สาหรับความคิดสร้ างสรรค์ บวกความ
่
ตั้งใจ / และความมานะอดทน / ทาให้ คนพิการไม่ว่าจะแขน / ขา / หรือส่ วนอืน ๆ
่
ของร่ างกาย / ก็สามารถใช้ ชีวตได้ ใกล้เคียงกับคนปกติ / อย่างกลุ่มผู้มภาวะ
ิ
ี
อัมพาตของร่ างกายส่ วนล่าง / ยังขีมอเตอร์ ไซด์ ทออกแบบพิเศษได้ / แถมยังคว้ า
่
ี่
แชมป์ มากอดได้ อกต่ างหาก
ี
(ทีมา หนังสือพิมพ์ มติชนรายวัน วันศุกร์ ที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๕๑ ปี ที่ ๓๑ ฉบับที่ ๑๑๐๔๕ หน้ า ๒๖)
่
เฉลยแบบฝึ กกิจกรรมที่ ๖

กาญจนบุรีศรีสยาม
กาญจนบุรี / ดินแดนที่ / สุ ขสันต์อาจิณ
แดนอุดมด้วยทรัพย์สิน / ผืนแผ่นดินทองของชาติไทย
ดินแดนสวยประหลาด / ธรรมชาติเลอล้ าถิ่นใด
งามถ้ าธารน้อยใหญ่ / เพลินใจเมื่อยามได้ชม
ตื่นตา / ครั้นมาน้ าตกพลิว / ตกรื่ นรมย์
้
่ ั่
เสี ยงครื่ นครั่นโครม / พลิ้วพรมอยูชวกาล
ไทรโยคทั้งใหญ่นอย / สวยหยดย้อยและดูตระการ
้
สวยเอราวัณ / แม้นถิ่นวิมาน / ตราตรึ ง
ที่มา : www.kanchanaburi.go.th/au/song.php
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3Khunnawang Khunnawang
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒Manas Panjai
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย SAKANAN ANANTASOOK
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำKu'kab Ratthakiat
 

Tendances (20)

แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
 

Similaire à แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1

สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยBoonlert Aroonpiboon
 
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔r2d2ek
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความKo Kung
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯsompoy
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษBhayubhong
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรมPrapa Khangkhan
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 

Similaire à แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1 (20)

สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
Pan14
Pan14Pan14
Pan14
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
 
Media
MediaMedia
Media
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
 
Thai 1-3
Thai 1-3Thai 1-3
Thai 1-3
 
015
015015
015
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความ
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
 
ภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้นภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้น
 
03 +วิชาภูมิปัญญาภาษาไทยชั้น3
03 +วิชาภูมิปัญญาภาษาไทยชั้น303 +วิชาภูมิปัญญาภาษาไทยชั้น3
03 +วิชาภูมิปัญญาภาษาไทยชั้น3
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 

Plus de พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

Plus de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1

  • 1. แบบฝึ กเสริมทักษะการอ่ านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ชุดที่ ๑ อ่ านในใจลาดับความคิด มารินทร์ จานแก้ ว ตาแหน่ งครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘ ้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน ้
  • 2. คานา การอ่านเป็ นทักษะกระบวนการเรี ยนรู ้พ้ืนฐานที่สาคัญที่ ผูเ้ รี ยนสามารถ เกิดการเรี ยนรู ้ได้ดวยตนเอง ผูอ่านจึงต้องมีความรู ้และทักษะการอ่านเพื่อให้เกิดความเข้าใจ ้ ้ ในเรื่ องที่อ่านได้อย่างลึกซึ้ง การอ่านมีจุดมุ่งหมายหลายประการ ตามลาดับขั้นความยากง่าย สาหรับการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ผูเ้ รี ยนต้องมีความรู ้ ความเข้าใจเรื่ อ งการอ่ านตามจุ ด ประสงค์ที่ ชัด เจน ซึ่ งจะช่ วยให้เกิ ด ทัก ษะการเรี ย นรู ้ ที่ รวดเร็ วและเกิดประสิ ทธิ ภาพ ผูสอนจึงจัดทาแบบฝึ กเสริ มทักษะการอ่านภาษาไทย จานวน ้ ๕ ชุด ประกอบด้วย ๑ อ่านในใจลาดับความคิด ๒ จับประเด็นพินิจใจความสาคัญ ๓ สรรพันเลือกสรรตีความ ๔ แยกตามข้อเท็จจริ ง ข้อคิดเห็น ๕ มุ่งเน้นการคิดวิเคราะห์ แบบฝึ กเสริ มทักษะการอ่านภาษาไทย เรื่ อง การอ่านในใจ เป็ นแบบฝึ ก เสริ มทักษะการอ่านภาษาไทยชุดที่ ๑ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนเกิดความรู ้ความเข้าใจ สามารถฝึ กทักษะ ได้ดวยตนเอง สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชี วิตประจาวันได้และเพื่อเป็ นสื่ อช่วยในการจัด ้ กิจกรรมการเรี ยนการสอนให้ผเู ้ รี ยนบรรลุตามจุดประสงค์ที่ต้ งไว้ ั ขอขอบพระคุณนายโอภาส เจริ ญเชื้อ ผูอานวยการโรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ ้ พระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุ รี นางยุพดี สุ ขกรม นางลาวรรณ สกุลกรุ ณ าอารี ย ์ นางอารมย์ บุญเรื องรอด นางมัทนา มงคล นายวสันต์ บานเย็น นางวรรณนิ ภา อารักษ์ นางสาวจงใจ ศรี วิเชี ยร นางจริ นทร์ พึ่งจงเจริ ญสุ ข ครู ผูเ้ ชี่ ยวชาญ และคณะ และผูเ้ กี่ ยวข้อง ตลอดจน ครอบครัวที่ให้คาปรึ กษา ช่ วยเหลือ สนับสนุ น การทาผลงานทางวิชาการในครั้งนี้ สาเร็ จ ลุล่วงไปได้ดวยดี ้ มาริ นทร์ จานแก้ว โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้ า คาชี้แจงการใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะการอ่านภาษาไทย จุดประสงค์การเรี ยนรู ้ แบบทดสอบก่อนเรี ยน ใบความรู ้เรื่ องการอ่านในใจ กิจกรรมที่ ๑ - ๓ ความรู ้เรื่ องการอ่านในใจ กิจกรรมที่ ๔ การอ่านในใจข้อความ กิจกรรมที่ ๕ การอ่านในใจข่าว กิจกรรมที่ ๖ การอ่านในใจเนื้อเพลง กิจกรรมที่ ๗ การอ่านในใจนิทาน แบบฝึ กกิจกรรมทบทวนความรู ้การอ่านในใจ แบบทดสอบหลังเรี ยน ภาคผนวก เฉลยแบบทดสอบก่อนเรี ยน เฉลยแบบฝึ กกิจกรรมที่ ๑-๗ เฉลยแบบฝึ กกิจกรรมทบทวนความรู ้เรื่ องการอ่านจับใจความสาคัญ เฉลยแบบทดสอบหลังเรี ยน เกณฑ์การประเมินการอ่านในใจ แบบประเมินการอ่านในใจ บรรณานุกรม
  • 4. คาชี้แจง แบบฝึ กเสริ มทักษะการอ่านภาษาไทย ของนักเรี ยน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ชุดที่ ๑ อ่านในใจลาดับความคิด จัดทา ขึ้นเพื่อพัฒนาความรู ้ความเข้าใจ เรื่ อง หลักการอ่านในใจมี ทักษะการอ่ านในใจ สามารถอ่ านในใจได้อ ย่างถู ก ต้อ ง รวดเร็ว รู ้และเข้าใจเรื่ องที่อ่าน สามารถนาไปปฏิบติและ ั ประยุกต์ใช้ในชีวตประจาวัน ิ ขั้นตอนการฝึ ก ๑. นักเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน ๒. ศึกษาความรู ้เรื่ อง หลักการอ่านในใจ ๓. นักเรี ยนปฏิบติแบบฝึ กกิจกรรมที่ ๑ - ๗ ั ๔. ทาแบบทดสอบหลังเรี ยน ๕. ตรวจแบบทดสอบก่อนและหลังเรี ยน ๖. บันทึกผลการทดสอบเพื่อพัฒนา
  • 5. จุดประสงค์ การเรียนรู้ เมื่อนักเรี ยนศึกษาแบบฝึ กเสริ มทักษะการอ่านเล่มนี้แล้ว นักเรี ยนจะมีความรู ้ความเข้าใจในเรื่ องต่อไปนี้ ๑. รู ้และเข้าใจหลักเกณฑ์การอ่านในใจ ๒. อธิบายความหมายของคาที่อ่านในใจได้ ๓. เขียนลักษณะการเคลื่อนไหวสายตาจากการอ่านในใจได้ ๔. เขียนช่วงระยะสายตาการอ่านในใจจากเรื่ องที่กาหนด ให้อ่านได้ ๕. อ่านในใจจากเรื่ องที่กาหนดให้อ่านได้
  • 6. แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึ กเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ชุดที่ ๑ เรื่อง การอ่านในใจลาดับความคิด คาชี้แจง ๑. แบบทดสอบมี ๒ ตอน ตอนที่ ๑ ๒. เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้ว ทาเครื่ องหมายกากบาท (x) ลงในกระดาษคาตอบที่แจกให้ ๓. ตอบคาถามลงในกระดาษคาตอบที่แจกให้ ให้นกเรี ยนอ่านข้อความต่อไปนี้ ใช้เวลาทั้งสิ้ น ๒ นาที ั ประวัติจังหวัดกาญจนบุรี เมืองกาญจนบุรีพ้ืนที่ก่อสร้างเมืองกาญจนบุรีเป็ นบริ เวณที่ลาน้ าแควน้อย ไหลมาบรรจบกับลาน้ าแควใหญ่ เรี ยกกันว่า " ปากแพรก " ซึ่ งมีชยภูมิอนเหมาะ ั ั ต่อการเป็ นเส้นทางสัญจรและค้าขาย ตลอดจนการเป็ นเมืองหน้าด่ านรับศึกพม่า พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว โปรดเกล้ า ฯ ให้ ส ร้ า งเมื อ งนี้ ขึ้ น เมื่อ พ.ศ.๒๓๗๔ กาญจนบุรีเป็ นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางที่มีผคนนิยมเดินทางไปท่องเที่ยว ู้ เต็ ม ไปด้ว ยเรื่ อ งราวในอดี ต ที่ น่ า สนใจ เป็ นแหล่ ง อารยธรรมเก่ า แก่ ยุค ก่ อ น ประวัติศาสตร์ เป็ นสถานที่ต้ งของสะพานข้ามแม่น้ าแคว ซึ่ งเป็ นสถานที่สาคัญ ั ทางประวัติศาสตร์ ของไทยในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ และมีชื่อเสี ยงโด่ งดัง ไปทั่ ว โลก นอกจากนี้ ยัง มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ่ ไม่วาจะเป็ น ป่ าเขาลาเนาไพร ถ้ าหรื อน้ าตก
  • 7. ตอนที่ ๒ ให้นกเรี ยนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้ว ทาเครื่ องหมายกากบาท (x) ั ลงในกระดาษคาตอบที่แจกให้ จากข้อ ๑ – ๕ ตอบคาถามจากการอ่านข้อความ “ประวัติจงหวัดกาญจนบุรี” ั ๑. ข้อใดแบ่งวรรคตอนการอ่านในใจได้ถูกต้อง ก. กาญจนบุรี / เป็ นจังหวัดหนึ่งในภาคกลาง ข. กาญจนบุรีเป็ น / จังหวัดหนึ่งในภาคกลาง ค. กาญจนบุรี / เป็ นจังหวัดหนึ่ง / ในภาคกลาง ง. กาญจนบุรีเป็ นจังหวัด / หนึ่งในภาคกลาง ๒. ข้อใดใช้เครื่ องหมาย เพื่อแบ่งช่วงระยะสายตาการอ่านในใจได้ถูกต้อง ก. กาญจนบุรี เป็ นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ยคก่อนประวัติศาสตร์ ุ ข. กาญจนบุรี เป็ นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ค. กาญจนบุรีเป็ นเป็ นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ง. กาญจนบุรี เป็ นแหล่ง อารยธรรมเก่าแก่ยคก่อนประวัติศาสตร์ ุ ๓. จังหวัดกาญจนบุรี สร้างขึ้นในสมัยใด ่ ั ก. พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหว ่ ่ ั ข. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว ่ ั ค. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูหว ่ ั ง. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว
  • 8. ๔. จังหวัดกาญจนบุรี มีความสาคัญทางด้านประวัติศาสตร์ อย่างไร ก. มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ข. มีธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์เช่น ถ้ า น้ าตก ค. มีลาน้ าแควน้อยไหลมาบรรจบกับลาน้ าแควใหญ่ ง. เป็ นสถานที่การทาสงครามโลกครั้งที่ ๒ ่ ั ๕. พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหว สร้างเมืองกาญจนบุรี ขึ้นใน พ.ศ. ใด ่ ก. พ.ศ. ๒๓๗๔ ข. พ.ศ. ๒๗๓๔ ค. พ.ศ. ๒๔๓๗ ง. พ.ศ. ๒๓๔๗ ๖. ให้เรี ยงลาดับตัวอักษร ก่อน – หลัง เพื่อเปรี ยบเทียบการเคลื่อนไหวสายตา ก. ฉ จ ช ฌ ข. จ ฉ ช ฌ ค. ช ฉ จ ฌ ง. ฌ ฉ จ ช
  • 9. ๗. ข้อใดเป็ นการเคลื่อนไหวสายตาสัญลักษณ์ ได้ถูกต้อง ๑. ๒. ๓. ๔. ก. ข. ค. ง. ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๑ ๔ ๔ ๓ ๔ ๑ ๒ ๔ ๓ ๒ ๓ ๘. จัดลาดับข้อความให้ได้ความหมาย ที่สมบูรณ์ที่สุด ๑ ประเทศไทย ๒ ในสมัยรัชกาลที่ ๗ ๓ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๕ ๔. ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย ก. ๓ ๔ ๒ ๑ ข. ๒ ๑ ๔ ๓ ค. ๑ ๓ ๔ ๒ ง. ๑ ๒ ๓ ๔
  • 10. “สุ นทรภู่ หรื อพระยาศรี สุนทรโวหารเป็ นกวี ๔ สมัย คือ สุ นทรภู่เกิดใน สมัย รัชกาลที่ ๑ เมื่อวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๓๒๙ ได้เรี ยนวิชาหนังสื อ ที่วด ั ชีปะขาว (วัดศรี สุดาราม)ชีวิตรุ่ งเรื องในสมัยรัชกาลที่ ๒ โดยเข้ารับราชการ ในกรมพระอาลักษณ์ได้เป็ นขุนสุ นทรโวหารและเป็ นกวีที่ปรึ กษา ตกอับใน สมัยรัช กาลที่ ๓ ต้องออกจากราชการและบวชเมื่ อสึ กแล้วไม่ มีที่พ่ ึ งต้อ ง ลอยเรื อและแต่งหนังสื อขายเลี้ยงชีพถึงแก่กรรมในสมัยรัชกาลที่ ๔” ๙. ข้อความข้างต้น มีความหมายตรงกับข้อใด ก. สุ นทรภู่แต่งหนังสื อขาย ข. สุ นทรภู่เป็ นกวี ๔ สมัย ค. ชีวตและประวัติของสุ นทรภู่ ิ ง. ๒๖ มิถุนายน เป็ นวันเกิดสุ นทรภู่ “ อย่าเกียจคร้านการทางานนะพวกเรา งานหนักงานเบาเหนื่อยแล้วเราพักผ่อนก็หาย ไม่ทางานหลบหลีกงานเฝ้ าเกียจคร้านเอาแต่สบาย แก่จนตายขอทานายว่าไม่เจริ ญ” ๑๐. เนื้อเพลงข้างต้นมีความหมายตรงกับข้อใด ก. ความขยัน ข. การทางาน ค. การพักผ่อน ง. ความเกียจคร้าน
  • 11. ใบความรู้ เรื่อง การอ่านในใจ ตอนที่ ๑ การอ่านในใจ ความหมาย คือ การอ่านไม่ออกเสี ยง การอ่าน ในใจถือว่าเป็ นการอ่าน เพื่อพัฒนา ตนเองในด้านต่าง ๆ อันได้แก่ - เพือพัฒนาด้ านความรู้ คือ ได้ท้ ง ่ ั ความรู ้รอบตัวและความรู ้เฉพาะด้าน - พัฒนาด้ านอารมณ์ ช่วยให้เกิดความ เพลิดเพลิน บันเทิงใจคลายความขุ่นมัวต่าง ๆ - พัฒนาคุณธรรม การมีคุณธรรม ย่อมเกิดมาจากความจรรโลงใจ ซึ่ง ได้จากการอ่าน หนังสื อประเภท ธรรมะชีวประวัติ สารคดี ฯลฯ การอ่านในใจ จึงเป็ นวิธีการศึกษาอย่างหนึ่ง เพื่อเรี ยนรู ้และเข้าใจ ประสบการณ์ ใหม่ ๆ ซึ่งช่วยให้มนุษย์เกิดการปรับตัวในการดารงชีวตอย่างเป็ นสุ ข ิ
  • 12. จุดมุ่งหมายในการอ่านในใจ ๑. เพื่อจับใจความได้ถูกต้องรวดเร็ว ๒. เพื่อให้เกิดความรู ้ความเข้าใจและความคิดกว้างขวางลึกซึ้ง เป็ นการเสริ มสร้าง ประสบการณ์ชีวต ิ ๓. เพื่อให้เกิดความเพลิดเพลินและเป็ นการใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ ๔. เพื่อให้สามารถถ่ายทอดสิ่ งที่อ่านให้ผอื่นรับรู ้ได้โดยไม่ผดพลาด ู้ ิ หลักการอ่านในใจ ๑. ตั้งสมาธิให้แน่วแน่ ๒. รู ้วงศัพท์ รู ้ความหมายที่แท้ของถ้อยคาที่อ่านก็จะสามารถเข้าใจเรื่ อง ที่ได้อ่านได้ดีและรวดเร็ว ๓. กะระยะช่วงสายตาแต่ละคราวให้กว้างที่สุด จะทาให้อ่านได้รวดเร็ว ไม่ควร มองเป็ นคา ๆ เพราะทาให้อ่านช้าและจับใจความไม่ได้ ๔. การเคลื่อนไหวสายตาจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งไม่ควรบ่อยครั้ง แต่ควรเป็ น ไปอย่างมีจงหวะและแน่นอน ไม่ควรส่ ายตาไปตามเส้นบรรทัด ั ๕. ไม่ควรอ่านย้อนกลับเพื่อทบทวนใหม่บ่อย ๆ ทาให้อ่านช้า ๖. การเปลี่ยนบรรทัดต้องให้แม่นยา พยายามอย่ากลับไปอ่านซ้ าบรรทัดเดิมอีก ๗. ไม่ทาปากขมุบขมิบหรื อออกเสี ยงในเวลาอ่าน ๘. ไม่ใช้นิ้ว ปากกา หรื อดินสอ ชี้ที่ตวหนังสื อทีละตัว ั ๙. จับใจความสาคัญและใจความประกอบให้ได้ พิจารณาให้เข้าใจ ๑๐. บันทึกความรู ้ ความเข้าใจ และความคิดไว้เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป
  • 13. การอ่านในใจ ทาให้คนที่อ่านมีความรู ้ ความคิดวิจารณญาณ แล้วนาเอาสิ่ งเหล่านี้ไปให้ประโยชน์ เพื่อก่อให้เกิดความเจริ ญ ขึ้นทางด้าน ร่ างกาย สติปัญญา อารมณ์ เเละความคิด ในชีวต ิ ประจาวัน เราต้อ งได้ รั บ ข้อ มู ล ข่ าวสาร อย่างมากมาย เเละ ทัก ษะหนึ่ งที่ เกี่ ย วข้อ ง กับ การอ่ า นในใจที่ จ ะสามารถช่ ว ย นักเรี ยน ให้ใช้เวลาอย่างคุ มค่ าเเละสามารถรั บ ข้อมูลข่ าวสาร ้ ต่างๆ ในปริ มาณมาก ก็คือ ทักษะการอ่านเร็ วการอ่านในใจ เพื่อ ทาให้คนที่อ่านมีความรู ้ ความคิดวิจารณญานเเล้ว มาดูตวอย่ างกันหน่ อยนะ ั
  • 14. ลองตอบดูซิ …. ตัวอย่ างที่ ๑ ๑. การอ่านในใจคือ ...................................................................................... .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. ๒. จุดมุ่งหมายของการอ่านในใจประกอบด้ วย (ตอบมา ๓ ข้ อ) .................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................ ๓. หลักการอ่านในใจประกอบด้ วย (ตอบมา๓ ข้ อ) ................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................
  • 15. แนวการตอบ ๑. การอ่านในใจ คือ การอ่านไม่ออกเสี ยง การอ่านใจในถือว่าเป็ นการอ่าน เพื่อพัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ ๒. จุดมุ่งหมายของการอ่านในใจ ๑. เพื่อจับใจความได้ถูกต้องรวดเร็ว ๒. เพื่อให้เกิดความรู ้ความเข้าใจและความคิดกว้างขวางลึกซึ้ง เป็ นการ เสริ มสร้างประสบการณ์ชีวต ิ ๓. เพื่อให้เกิดความเพลิดเพลินและเป็ นการใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ ๓. หลักการอ่านในใจประกอบด้ วย ๑. ตั้งสมาธิให้แน่วแน่ ๒. รู ้วงศัพท์ รู ้ความหมายที่แท้ของถ้อยคาที่อ่านก็จะสามารถเข้าใจเรื่ อง ที่ได้อ่านได้ดีและรวดเร็ว ๓. กะระยะช่วงสายตาแต่ละคราวให้กว้างที่สุด จะทาให้อ่านได้รวดเร็ว ไม่ควรมองเป็ นคา ๆ เพราะทาให้อ่านช้าและจับใจความไม่ได้
  • 16. แบบฝึ กกิจกรรมที่ ๑ จุดประสงค์ รู้ หลักเกณฑ์ การอ่านในใจได้ คาชี้แจง เติมคาลงในช่องว่างให้ได้ใจความที่สมบูรณ์ ( ๕ คะแนน) ๑. ลาดับแรกในการอ่านในใจคือ...................................................................... ..................................................................................................................... ๒. การอ่านควรอ่านเป็ นกลุ่มคาไม่ใช่การอ่านทีละคาคือ...................................... ......................................................................................................................... ๓. การอ่านในใจที่ดีไม่ควร....................................................................... ริ มฝี ปาก ่ ๔. การอ่านหนังสื อที่อยูพอเหมาะแก่ระยะสายตาคือระยะ.................................. นิ้ว ๕. วิธีการไปสู่ จุดมุ่งหมายการอ่านควร................................................... ในการอ่าน
  • 17. ใบความรู้ เรื่อง การอ่านในใจ ตอนที่ ๒ ความหมายของถ้ อยคาที่อ่าน ความหมายของคาทีอ่าน ่ มีท้ งความหมายโดยตรง และ ความหมายโดยนัย ั ความหมายโดยตรง หมายถึงความหมายตามพจนานุกรม ความหมายโดยนัย หมายถึงความหมายของคาที่แฝง ่ ั อยูกบความหมายของคานั้น
  • 18. ตัวอย่ าง ฝรั่ง ความหมายโดยตรง ผลไม้ชนิดหนึ่ง ความหมายโดยนัย ชนชาติผวขาว ิ หมู ความหมายโดยตรง สัตว์ชนิดหนึ่ง ความหมายโดยนัย สิ่ งที่ทาได้ง่าย คนที่มีรูปร่ างอ้วน
  • 19. แบบฝึ กกิจกรรมที่ ๒ จุดประสงค์ อธิบายความหมายของคาที่อ่านในใจได้ คาชี้แจง อธิบายความหมายของคาที่กาหนดให้เติมลงในช่องว่าง ( ๕ คะแนน) ตอนที่ ๑ ๑. ความหมายโดยตรง........................................................... ความหมายโดยนัย............................................................ ๒. ความหมายโดยตรง.......................................................... ความหมายโดยนัย........................................................... ๓. ความหมายโดยตรง.......................................................... ความหมายโดยนัย........................................................... ๔. ความหมายโดยตรง.......................................................... ความหมายโดยนัย........................................................... ๕. ความหมายโดยตรง.......................................................... ความหมายโดยนัย...........................................................
  • 20. ตอนที่ ๒ คาชี้แจง เลือกคาที่กาหนดให้เติมลงในช่องว่างให้ได้ความหมายที่สมบูรณ์ (๕ คะแนน) นางงาม พลอย เข้ มแข็ง วิทยาศาสตร์ นางฟ้ า แข็งแรง ตี ลงโทษ ประวัติศาสตร์ ๑. เธอสวยราวกับ……………………………………………………….………….. ๒. เด็กชายรุ่ งเรื องไม่ทาการบ้านจึงถูกครู ………………………….……………..… ่ ั ๓. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหวเป็ นบิดาแห่ง …………………..….. ไทย ๔ . การเล่นกีฬาทาให้เขามีร่างกายที่………………………………………………….
  • 21. ใบความรู้ ตัวอย่ างที่ ๑ ตอนที่ ๓ การเคลือนไหวสายตาทีเ่ ป็ นตัวอักษร ่ การจัดลาดับตัวอักษรก่อน - หลังโดยใช้ สัญลักษณ์ เพือ ่ เชื่อมโยงกับการเคลือนไหวสายตา ่ ง ก ฉ ข ช ค ป ง ผ จ ม ฉ ภ ช ก ย จ ป ข ผ ย ภ ค ม
  • 22. ตัวอย่างที่ ๒ การเคลือนไหวสายตาทีเ่ ป็ นตัวเลข ่ การจัดลาดับตัวอักษรก่ อน – หลัง โดยใช้ สัญลักษณ์ เพือ ่ เชื่อมโยงกับการเคลือนไหวสายตา ่ ๘ ๙ ๗ ๑ ๒ ๓ ตัวอย่ างที่ ๓ ๕ ๔ ๓ ๑ ๕ ๖ ๔ ๗ ๒ ๘ เชื่อมโยงกับการเคลือนไหวสายตา ่ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๙ การเคลือนไหวสายตาทีเ่ ป็ นสั ญลักษณ์ ( ่ การจัดลาดับตัวอักษรก่อน – หลัง โดยใช้ สัญลักษณ์ ๒.๑ ๖ เพือ ่ )
  • 23. ตัวอย่ างที่ ๔ การเคลือนไหวสายตาทีเ่ ป็ นภาพ ( ่ การจัดลาดับตัวอักษรก่อน – หลัง โดยใช้ สัญลักษณ์ เชื่อมโยงกับการเคลือนไหวสายตา ่ ๑. ๒. ๓. ๔. ) เพือ ่
  • 24. แบบฝึ กกิจกรรมที่ ๓ จุดประสงค์ บอกลักษณะการเคลื่อนไหวสายตาการอ่านในใจได้ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเรี ยงลาดับตัวอักษร สัญลักษณ์ ภาพ โดยใช้สัญลักษณ์ ั เพื่อ เชื่อมโยงการเคลื่อนไหวสายตาในการอ่านในใจ ( ๖ คะแนน) ตอนที่ ๑. เรี ยงลาดับตัวอักษรที่กาหนดให้ก่อน – หลัง โดยใช้สัญลักษณ์ เพื่อ เชื่อมโยงการเคลื่อนไหวสายตา ร อ ด ต ล ฬ ส ศ ษ ฟ พ ม ตอบ……………………………………………………………………………………. ตอนที่ ๒. เรี ยงลาดับตัวเลขที่กาหนดให้ก่อน – หลัง โดยใช้สัญลักษณ์ เพื่อ เชื่อมโยงการเคลื่อนไหวสายตา ๑๗ ๑๙ ๑๕ ๑๑ ๑๔ ๑๘ ๑๓ ๑๖ ๑๒ ตอบ………………………………………………………………………………………
  • 25. ตอนที๓ จากข้อ ๑ – ๔ ให้นกเรี ยนเรี ยงลาดับสัญลักษณ์ ่ ั ก่อน – หลัง เพื่อเชื่อมโยง การเคลื่อนไหวสายตา ๑. ๒. ๓. ๔. ตอบ............................................................................................................................. ตอนที่ ๔. จากข้อ ๑-๔ เรี ยงลาดับการเคลื่อนไหวสายตาที่เป็ นสัญลักษณ์ ๑ ๒ ๓ ๔ ตอบ.............................................................................................................................
  • 26. ตอนที่ ๕ จากข้อ ๑-๔ เรี ยงลาดับการเคลื่อนไหวสายตาที่เป็ นภาพ ๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๒ ๓ ๑ ๔ ๒ ๓ ๒ ๓ ๑ ๔ ๔ ๑ ๔ ๒ ที่กาหนดให้ ๓ ตอบ..................................................................................................................... ตอนที่ ๖ จากข้อ ๑-๔เรี ยงลาดับการเคลื่อนไหวสายตาที่เป็ นภาพ ที่กาหนดให้ ๑. ๑ ๒ ๓ ๔ ๒. ๔ ๓ ๑ ๒ ๓. ๑ ๒ ๔ ๓ ๔. ๒ ๔ ๑ ๓ ตอบ.....................................................................................................................
  • 27. ใบความรู้ เรื่อง การอ่านในใจ การแบ่ งช่ วงระยะการเคลือนไหวสายตาการอ่านในใจทีเ่ ป็ นข้ อความ ่ ตัวอย่ างข้ อความที่ ๑ ด่านมะขามเตี้ย เป็ นชื่ออาเภอหนึ่งของกิ่งอาเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี ด่านมะขามเตี้ย เป็ นหน้าด่านที่สาคัญทางชายแดน ติดต่อกับประเทศพม่า ทางด้านทิศตะวันตก ของจังหวัดกาญจนบุรี ดังมีชื่อปรากฏในประวัติศาสตร์ เนื่องจากสงครามระหว่างไทยกับพม่า รบกัน ในสมัยแผ่นดินกรุ งศรี อยุธยา กรุ งธนบุรี รวมทั้งสงคราม ่ มหาเอเชียบูรพา โดยกองทัพญี่ปุ่นสร้างทางรถยนต์ผานด่านมะขามเตี้ย เข้าสู่ ประเทศพม่าทางบ้านยางเกาะ ตาบลกลอนโด ด่านมะขามเตี้ย นับว่าเป็ นหน้าด่านสาคัญทางยุทธศาสตร์ (ที่มา นายมงคล สุวรรณบุปผา ๕/๑ หมู่ ๑ ต.ด่านมะขามเตี้ย กิ่งอาเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี ๗๑๒๖๐)
  • 28. แนวการตอบ วิธีการแบ่ งช่ วงระยะการเคลือนไหวสายตาการอ่านในใจทีเ่ ป็ นข้ อความ ่ ด่านมะขามเตี้ย / เป็ นชื่ออาเภอหนึ่งของกิ่งอาเภอด่านมะขามเตี้ย / จังหวัดกาญจนบุรี ด่านมะขามเตี้ยเป็ นหน้าด่านที่สาคัญ ทางชายแดน / ติดต่อกับประเทศพม่าทางด้านทิศตะวันตก ของจังหวัดกาญจนบุรี / ดังมีชื่อปรากฏในประวัติศาสตร์ / เนื่องจากสงคราม/ระหว่างไทยกับพม่า รบกันในสมัยแผ่นดินกรุ งศรี อยุธยา / กรุ งธนบุรี / รวมทั้งสงครามมหาเอเชียบูรพา /โดยกองทัพ ่ ญี่ปุ่นสร้างทางรถยนต์ผานด่านมะขามเตี้ย / เข้าสู่ประเทศพม่าทางบ้านยางเกาะ/ ตาบลกลอนโด ด่านมะขามเตี้ย / นับว่าเป็ นหน้าด่านสาคัญทางยุทธศาสตร์ (ที่มา นายมงคล สุวรรณบุปผา ๕/๑ หมู่ ๑ ต.ด่านมะขามเตี้ย กิ่ง อ.ด่านมะขามเตี้ย จ. กาญจนบุรี ๗๑๒๖๐)
  • 29. ตัวอย่ างข้ อความที่ ๒ ่ “การดูแผนที่ของทวีปที่สหรัฐอเมริ กาตั้งอยูอย่างคร่ าวๆอาจทาให้ เข้าใจผิด ได้ว่า มหาสมุ ท รมี ค วามลึ ก เท่ ากัน หมด โดยตลอดจนเข้ามาถึ ง แนวชายฝั่ ง ทะเลความจริ ง แล้ว ทะเลชายฝั่ ง ตะวัน ออก และทะเลชายฝั่ ง ของอ่ าวเม็ก ซิ โ ก มี น้ า ค่ อ นข้า งตื้ น ในบริ เ วณที ่ ห่ า งจากชายฝั่ ง ออกไป ทางด้า นมหาสมุทรด้านฝั่งตะวันตก มีไหล่ทะเลคู่ขนานไปกับแนวชายฝั่ง และพื้นที่ ใต้น้ า ” (ที่มา : มหาสมุทรที่ทรุ ดโทรม สานักงานคณะกรรมการการวิจยแห่งชาติ หน้า ๙๐) ั แนวการตอบ วิธีการแบ่ งช่ วงระยะการเคลือนไหวสายตาการอ่านในใจทีเ่ ป็ นข้ อความ ่ ่ “การดูแผนที่ / ของทวีปที่สหรัฐอเมริ กาตั้งอยูอย่างคร่ าว ๆ / อาจทาให้ ่ เข้าใจผิดได้วา / มหาสมุทรมีความลึกเท่ากันหมด / โดยตลอดจนเข้ามาถึงแนว ชายฝั่งทะเล / ความจริ งแล้ว / ทะเลชายฝั่งตะวันออกและทะเลชายฝั่งของอ่าว เม็กซิโก / มีน้ าค่อนข้างตื้นในบริ เวณที่ห่างจากชายฝั่งออกไปทางด้าน มหาสมุทร / ด้านฝั่งตะวันตกมีไหล่ทะเลคู่ขนานไป / กับแนวชายฝั่งและพื้นที่ใต้น้ า”
  • 30. แบบฝึ กกิจกรรมที่ ๔ จุดประสงค์ ๑. อธิบายช่วงระยะสายตาการอ่านในใจจากเรื่ องที่กาหนดให้อ่านได้ ๒. อ่านในใจเรื่ องที่กาหนดให้อ่านได้ คาชี้แจง อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วเขียนแบ่งช่วงระยะสายตาและการเคลื่อนไหว สายตา ในการอ่านในใจ ( ๕ คะแนน ) “เมื่ อเขาเจริ ญถึงที่สุดแล้ว ก็จะกลับมาสู่ ความสวยงามของธรรมชาติอีก ในเมือง ใหญ่ ๆ ของประเทศที่ เจริ ญ ที่ สุ ดแล้ว ผู ้ค นเริ่ มเบื่ อ หน่ า ยกับ สิ่ งประดิ ษ ฐ์ ที่ ท าความ ั สะดวกสบายให้กบมนุษย์ เริ่ มเบื่อห้องแอร์ เบื่อคอมพิวเตอร์ ระบบกดปุ่ มที่ให้ความสะดวก ั หัน มาเล่ นธรรมชาติ กน มากขึ้ น บางคนหนี เข้าป่ าไปเป็ นเดื อน เพราะความยุ่งเหยิงของ บ้านเมืองที่มนกัดกินหัวใจ” ั ( ที่มา : คนเผาถ่าน นิมิต ภูมิถาวร หน้า ๗๖) ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………
  • 31. ใบความรู้ เรื่อง การอ่านในใจลาดับความคิด การแบ่ งช่ วงระยะการเคลือนไหวสายตาการอ่านในใจข่ าว ่ ตัวอย่ างข่ าวที่ ๑ (ที่มา หนังสื อพิมพ์มติชนรายวัน วันพุธที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๑ ปี ที่ ๓๑ ฉบับที่ ๑๑๐๔๓ หน้า ๑๐) วิธีการแบ่ งช่ วงระยะสายตาและการเคลื่อนไหวการอ่านในใจข่ าว แนวการตอบ สวนผักบนดาดฟ้ า โครงการทาสวนผักบนดาดฟ้ า / ของสานักงานเขตหลักสี่ / นับเป็ น แบบอย่างที่ดี / ของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง / และช่วยลดภาวะโลก ร้อนไปในตัว / หากต้องการได้ขอมูลหรื อดูของจริ ง / ขอแนะนา ้ ให้รีบไปในช่วงนี้ / เพราะผักสารพัดชนิดกาลังงอกงามได้ดี / เห็นแล้ว น่ากินจริ ง ๆ
  • 32. แนวการตอบ ตัวอย่ าง ข่ าวที่ ๒ วิธีการแบ่ งช่ วงระยะสายตาและการเคลือนไหวการอ่านในใจข่ าว ่ ที่มา : หนังสื อพิมพ์มติชนรายวัน วันเสาร์ที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๕๑ปี ที่๓๑ฉบับที่ ๑๑๐๔๖หน้า ๒๐) กินเกลือน้ อยไปอาจไม่ ดีต่อหัวใจ ปกติแล้วทีผ่านมา / บรรดาแพทย์ หรือนักโภชนาการ / ก็มกจะแนะนา ่ ั ให้ คนเราลดการรับประทานเกลือลงให้ เหลือน้ อยที่สุด / เพราะว่ าไม่ ดี ต่ อสุ ขภาพ / และนามาซึ่งโรคหลายประการ / โดยเฉพาะความดัน โลหิตสู ง / ซึ่งนาไปสู่ โรคหัวใจ
  • 33. แบบฝึ กกิจกรรมที่ ๕ จุดประสงค์ ๑. เขียนช่วงระยะสายตาการอ่านในใจจากเรื่ องที่กาหนดให้อ่านได้ ๒. อ่านในใจเรื่ องที่กาหนดให้อ่านได้ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนอ่านข่าวต่อไปนี้แล้วเขียนข่าวลงในกระดาษคาตอบ พร้อม ั ทั้งเขียนการแบ่งช่วงระยะสายตาและการเคลื่อนไหวสายตาการอ่านในใจ (๕ คะแนน) (ที่มา: หนังสื อพิมพ์มติชนรายวัน วันศุกร์ที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๕๑ ปี ที่ ๓๑ ฉบับที่ ๑๑๐๔๕ หน้า ๒๖) มอเตอร์ ไซด์ เพือคนพิการ ่ ความพิการ อวัยวะสาหรับหลายคนไม่ใช่อุปสรรค หรื อปัญหาใหญ่เท่าภูเขา ที่จะไม่สามารถก้าวข้ามไปได้สาหรับความคิดสร้างสรรค์ บวกความตั้งใจ และความ ่ มานะอดทน ทาให้คนพิการ ไม่วาจะแขน ขา หรื อส่ วนอื่น ๆ ของร่ างกาย ก็สามารถ ใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับคนปกติ ดูอย่างกลุ่มผูมีวุฒิภาวะอัมพาตของร่ างกายส่ วนล่าง ้ (parapiegia) ยังขี่มอเตอร์ไซด์ที่ออกแบบพิเศษได้ แถมยังคว้าแชมป์ มากอดได้อีก
  • 34. กระดาษคาตอบ ชุดที่ ๑ อ่านในใจลาดับความคิด แบบฝึ กกิจกรรมที่ ๕ มอเตอร์ ไซด์ เพือคนพิการ ่ …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………
  • 35. ใบความรู้ การอ่านในใจ เรื่อง การแบ่ งช่ วงระยะการเคลือนไหวสายตาการอ่านในใจเนื้อเพลง ่ เพลงมาร์ ชด่ านมะขามเตีย ้ (คาร้ องอาจารย์ จงใจ ศรีวเิ ชียร ทานอง ผอ.สมหมาย ปราบสุ ธา) แหล่งศึกษางามเด่นเชิงชายเขา ไพรพฤกษ์เงาร่ มรื่ นชื่นสุ ขสม โรงเรี ยนเราด่านมะขามเตี้ยวิทยาคม ชนนิยมสถาบันสร้างสรรค์ดี ดอกบัวหลวงงามสง่าปราศมัวหมอง เหมือนกมลพวกพ้องเราน้องพี่ คุณธรรมนาวิถีแห่งชีวี เทา-ชมพูชูศรี ศกดิ์รักค่าตน ั เร่ งเรี ยนรู ้ดวยใจอันมุ่งมัน ้ ่ กล้าฝ่ าฟันอุปสรรคประจักษ์ผล เป็ นผูนาเป็ นผูตามในทางตน ้ ้ แกร่ งกล้าทนเหมือนต้นมะขามนาม เทา-ชมพูรู้พระคุณอันยิงใหญ่ ่ สถาบันส่ งเสริ มให้ไร้คนหยาม จะรักษาเกียรติยศปรากฏนาม สร้างชื่อก้องเขตคามให้เกรี ยงไกร แหล่งศึกษางามเด่นเชิงชายเขา โรงเรี ยนเรารักผูกพันมันฝันใฝ่ ่ ่ ่ อยูแห่งไหนมิลางเลือนเคลื่อนสายใย ด่านมะขามเตี้ยตราอยูในใจนานเนา
  • 36. แนวการตอบ วิธีการแบ่ งช่ วงระยะสายตาการอ่านในใจเนือเพลง ้ เพลงมาร์ ชด่ านมะขามเตีย ้ (คาร้ องอาจารย์ จงใจ ศรีวเิ ชียร ทานอง ผอ.สมหมาย ปราบสุ ธา) แหล่งศึกษา / งามเด่นเชิงชายเขา ไพรพฤกษ์เงา / ร่ มรื่ นชื่นสุ ขสม โรงเรี ยนเรา / ด่านมะขามเตี้ยวิทยาคม ชนนิยม / สถาบัน / สร้างสรรค์ดี ดอกบัวหลวง / งามสง่า / ปราศมัวหมอง เหมือนกมล / พวกพ้อง / เราน้องพี่ คุณธรรม / นาวิถี / แห่งชีวี เทา-ชมพู / ชูศรี ศกดิ์ / รักค่าตน ั เร่ งเรี ยนรู ้ / ด้วยใจ / อันมุ่งมัน ่ กล้าฝ่ าฟัน / อุปสรรค / ประจักษ์ผล เป็ นผูนา / เป็ นผูตาม / ในทางตน ้ ้ แกร่ งกล้าทน / เหมือนต้น / มะขามนาม เทา-ชมพู / รู ้พระคุณ / อันยิงใหญ่ ่ สถาบัน / ส่ งเสริ มให้ / ไร้คนหยาม จะรักษา / เกียรติยศ / ปรากฏนาม สร้างชื่อก้อง /เขตคาม / ให้เกรี ยงไกร แหล่งศึกษา / งามเด่น / เชิงชายเขา โรงเรี ยนเรา / รักผูกพันมันฝันใฝ่ ่ ่ ่ อยูแห่งไหน / มิลางเลือน / เคลื่อนสายใย ด่านมะขามเตี้ย / ตราอยูใน / ใจนานเนา
  • 37. แบบฝึ กกิจกรรมที่ ๖ จุดประสงค์ ๑. เขียนช่วงระยะสายตาการอ่านในใจจากเรื่ องที่กาหนดให้อ่านได้ ๒. อ่านในใจเรื่ องที่กาหนดให้อ่านได้ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนอ่านเนื้อเพลงต่อไปนี้แล้วเขียนข่าวลงในกระดาษคาตอบ พร้อม ั ทั้งเขียนการแบ่งช่วงระยะสายตาและการเคลื่อนไหวสายตาการอ่านในใจ (๕ คะแนน) กาญจนบุรีศรีสยาม คาร้ อง พรพิรุณ ทานอง เอือ สุ นทรธรรม ้ กาญจนบุรีดินแดนที่สุขสันต์อาจิณ แดนอุดมด้วยทรัพย์สิน ผืนแผ่นดินทองของชาติไทย ดินแดนสวยประหลาด ธรรมชาติเลอล้ าถิ่นใด งามถ้ าธารน้อยใหญ่ เพลินใจเมื่อยามได้ชม ตื่นตาครั้นมาน้ าตกพลิ้วตกรื่ นรมย์ ่ ั่ เสี ยงครื่ นครั่นโครมพลิ้วพรมอยูชวกาล ไทรโยคทั้งใหญ่นอยสวยหยดย้อยและดูตระการ ้ สวยเอราวัณแม้นถิ่นวิมานตราตรึ ง ที่มา : www.kanchanaburi.go.th/au/song.php
  • 38. กระดาษคาตอบ ชุดที่ ๑ อ่านในใจลาดับความคิด แบบฝึ กกิจกรรมที่ ๖ เพลง กาญจนบุรีศรีสยาม …………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ที่มา : www.kanchanaburi.go.th/au/song.php
  • 39. ใบความรู้ เรื่อง การอ่านในใจลาดับความคิด การแบ่ งช่ วงระยะการเคลือนไหวสายตาการอ่านในใจนิทาน ่ ตัวอย่าง นิทานเรื่อง คางคกใจสู้ งูเห่ าไฟ (นิทานคติธรรม ชุด ช้างเจ้าปั ญญา หมาผจญภัย ข ขันทอง หน้า ๑๒-๑๔)
  • 40. จะกล่าวอ้างถึงคางคกโทน ตัวกล้าแข้งขาใหญ่ แข็งแรง อย่าบอกใครกระโดดไป ว่ายน้ าไป ไม่มีเหนื่อย ทุก ๆ วัน ร่ างกายนั้นแข็งแรงตัวใหญ่ กระโดดไกลเกือบวาแต่มน ั ่ ก็ซ่าอยูดี
  • 41. มันเป็ นหนุ่มกลัดมัน ถ้าสูกนกับใคร ๆ ถึงหลายตัว มันก็สูได้ ้ ั ้ ชนะขาดลอย คางคก กบทุกตัวกลัวมันหมด ตะขาบ กิ้งกือ นก หนูนา มันก็ฆ่าได้
  • 42. ่ จะกล่าวถึงงูลาย ออกไข่อยูในโพรงไม้ที่เก่าแก่ เจ้าคางคกใหญ่ ็ ู กระโดดไปเห็นเข้า หวานเรา ลาภใหญ่ไข่งู งูกข่ฟู่ ๆและเลื้อยหนีไป เจ้าคางคกใหญ่ดีใจกระโดดตรงไปที่ไข่งู อูฮู้ หลายใบ จึงอ้าปากงับ ้
  • 43. ็ ทันใดแม่งูกมา ฮ้า ๆ คิดว่าเจ้าจะเลยไปแต่ที่ไหนได้ จะกินไข่ลกเรา ู ลองมาสูกนสักตั้งเป็ นไร เจ้าคางคกใหญ่ถือว่าเก่ง อ้ายนักเลงใหญ่ไม่ชา ้ ั ้ ็ เจ้าต้องตายทาซ่าเหนือฟ้ ายังมีฟ้า ว่าแล้วคางคกคาบคองูทนที งูกดิ้น ั พลิกท้องไปมาหางก็พนคางคก คางคกกัดคอไม่ปล่อย ไม่ชางูกตาย ั ้ ็
  • 44. คางคกตรงเข้ากินไข่จนอิ่มและเดินทางต่อไป หาแมลงนานาชนิด กินจนอิ่มทุกวัน เมื่อมันผ่านไปทางไหน สาวแก่แม่หม้าย ติดใจทุก ๆ ตัว มันเดินทางท่องเที่ยวในป่ าหญ้าสู งใหญ่ อาหารถูกใจตลอดมา
  • 45. วันหนึ่ง มันว่ายน้ าเล่น พบงูเห่าไฟตัวใหญ่ ว่ายน้ าผ่านหน้าไป พิษร้ายแรง ่ งูเห่าไฟ ก็วายน้ าวกกลับมาหา มันไม่รู้หลับหูหลับตาว่ายน้ าดาน้ า ดาผุด ดาว่ายจนงูมาถึงตัว ฉกมัน กัดมัน คางคกไม่ยอมต่างฉกต่างกัดต่างปล่อย พิษซึ่งกันและกัน พวกพ้องเห็นต่างให้กาลังใจ ต่างโห่ร้อย พวกฉันจะช่วย ๆ ็ ทันใดนั้นงูใหญ่กหงายท้องตาย คางคกก็หงายท้องตาย
  • 47. แนวการตอบ วิธีการแบ่ งช่ วงระยะการเคลือนไหวสายตาการอ่านในใจนิทาน ่ นิทานเรื่อง คางคกใจสู้ งูเห่ าไฟ จะกล่าวอ้างถึงคางคกโทนตัวกล้าแข้งขาใหญ่ / แข็งแรง อย่าบอกใคร / กระโดดไป ว่ายน้ าไป / ไม่มีเหนื่อย / ทุก ๆ วัน / ร่ างกายนั้นแข็งแรงตัวใหญ่ / กระโดดไกลเกือบวา / แต่ ่ ั มันก็ซ่าอยูดี / มันเป็ นหนุ่มกลัดมัน / ถ้าสู ้กนกับใคร ๆ ถึงหลายตัว / มันก็สู้ได้ / ชนะขาด ลอยคางคก / กบทุกตัวกลัวมันหมด ตะขาบ / กิ้งกือ / นก / หนูนา / มันก็ฆ่าได้ / จะกล่าวถึง ่ งูลายออกไข่อยูในโพรงไม้ที่เก่าแก่ / เจ้าคางคกใหญ่ / กระโดดไปเห็นเข้า / หวานเรา / ลาภ ็ู ใหญ่ไข่งู / งูกข่ฟู่ ๆ / และเลื้อยหนีไป / เจ้าคางคกใหญ่ดีใจกระโดดตรงไปที่ไข่งู / อูฮู!้ ้ ็ หลายใบ / จึงอ้าปากงับ/ ทันใดแม่งูกมา / ฮ้า ๆ คิดว่าเจ้าจะเลยไปแต่ที่ไหนได้ จะกินไข่ ั ลูกเรา / ลองมาสู ้กนสักตั้งเป็ นไร / เจ้าคางคกใหญ่ถือว่าเก่ง / อ้ายนักเลงใหญ่ไม่ชาเจ้า ้ ็ ต้องตาย / ทาซ่า / เหนือฟ้ ายังมีฟ้า / ว่าแล้วคางคกคาบคองูทนที / งูกดิ้นพลิกท้องไปมา / หาง ั ก็พนคางคก / คางคกกัดคอไม่ปล่อยไม่ชางูกตาย / คางคกตรงเข้ากินไข่จนอิ่มและเดินทาง ั ้ ็ ต่อไป / หาแมลงนานาชนิดกินจนอิ่มทุกวัน / เมื่อมันผ่านไปทางไหน / สาวแก่แม่หม้าย ติดใจ ทุก ๆ ตัว / มันเดินทางท่องเที่ยวในป่ าหญ้าสู งใหญ่ อาหารถูกใจตลอดมา
  • 48. เช้าวันหนึ่ง มันว่ายน้ าเล่น / พบงูเห่าไฟตัวใหญ่ / ว่ายน้ าผ่านหน้าไป / พิษร้าย ่ แรง / งูเห่าไฟก็วายน้ าวกกลับมาหา / มันไม่รู้หลับหูหลับตาว่ายน้ าดาน้ า / ดาผุด ดาว่าย / จน งูมาถึงตัว / ฉกมันกัดมัน / คางคกไม่ยอม / ต่างฉก/ต่างกัด / ต่างปล่อยพิษซึ่งกันและ กัน / พวกพ้องเห็นต่างให้กาลังใจ / ต่างโห่ร้อย / พวกฉันจะช่วยๆ ทันใดนั้นงูใหญ่ก็ หงายท้องตาย / คางคกก็หงายท้องตาย / ต่อมาคางคกเห็นงูเห่าไฟก็ไม่กล้าเข้าใกล้เพราะ กลัวพิษร้ายของมัน / ส่ วนงูเห่าไฟเห็นคางคกก็ไม่กล้าเข้าใกล้เช่นกัน เพราะกลัวพิษคางคก (นิทานคติธรรม ชุด ช้างเจ้าปั ญญา หมาผจญภัย ข ขันทอง หน้า ๑๒-๑๔)
  • 49. แบบฝึ กกิจกรรมที่ ๗ จุดประสงค์ ๑. อธิบายช่วงระยะสายตาการอ่านในใจจากเรื่ องที่กาหนดให้อ่านได้ ๒. อ่านในใจนิทานเรื่ องที่กาหนดให้อ่านได้ คาชี้แจง อ่านนิทานต่อไปนี้แล้วเขียนแบ่งช่วงระยะสายตาและการเคลื่อนไหวสายตา การอ่านในใจ นิทานเรื่อง บาปทีปาก ่ ( ที่มา : นิทานคติธรรม ชุดสัตว์มีศีลได้ยนหรื อไม่ ข ขันทอง หน้า ๑๙ – ๒๑ ) ิ
  • 50. จะกล่าวถึงยายเขียว กับยายมา คู่อาฆาตต่างปราดเปรื่ องกันทั้งคู่ ยายมาชอบถือศีลกินเพล ยายเขียวถือสากพูดมากจนปากเขียว
  • 51. ฉันนี่ล่ะไปวัด หลวงพ่อบอกว่าฉันนี้ปฏิบติดีแล้ว อุตส่ าห์ทาเช่นนี้ ั ไปจนตายถึงฉันจะชอบว่าร้ายใคร ๆ ไม่ใช่คนดีจริ งไม่ไปวัด นาน ๆ ก็พลัดหลงไปเสี ยทีฉนนี้ไปทุกวันพระ เอาข้าวกับข้าวไปทาบุญ ั พระก็สอนดี ๆฉันนี้จาได้ทุก ๆ เรื่ อง
  • 52. ยายเขียวชอบนินทาว่าคนเสี ยป่ นปี้ เกือบทุกวัน ส่ วนยายมาวัน ๆ ก็ไปเก็บผักหักฟื นตกปลา ต้องทามาหากิน เวลาเป็ นของมีค่า ไม่หาก็ไม่ได้กิน
  • 53. วันหนึ่งเป็ นวันพระขึ้น ๑๕ ค่า ยายมาไปนังวิปัสสนากรรมฐาน ่ ่ ่ อยูปากทางเข้าป่ าช้า ยายเขียวมองอยูนานเห็นโลงศพเก่า ๆ ไหม้ ไปครึ่ งหนึ่งจึงบอกสัปเหร่ อให้เอาโลงศพไปไว้หน้ายายมา
  • 54. ่ ยายมาได้ยนเสี ยงจึงลืมตาขึ้นดูเห็นโลงศพอยูตรงหน้า จึงแผ่กศลให้ ิ ุ ศพนั้นเป็ นศพยายแก่ซ่ ึงร่ ารวยมียศศักดิ์ จึงพูดกับยายมาว่า เงินทอง ยศฐา ตายไปก็เอาไปไม่ได้แม้แต่กายเราก็เอาไปไม่ได้ ได้แต่บุญกุศล และความดี จึงบอกเลข ๓ ตัว ให้ไปซื้อลอตเตอรี่ จะได้ใช้กินนาน ๆ
  • 55. เมื่อยายมาถูกลอตเตอรี่ ยายเขียวก็เต้นผาง ๆ เพราะข้าคนเดียว เอ็งจึงได้เงินร่ ารวยเป็ นเศรษฐี จึงไปต่อว่าโลงศพให้ศพยายแก่ บอกเลขให้ตนด้วยถ้าไม่ได้จะแช่งให้ไม่ได้ผดไม่ได้เกิด ุ
  • 56. แต่เดี๋ยวเดียว ยายเขียวก็ร้องว่า รอด้วย ๆ และวิงไปในป่ า ่ ชนต้นตาแยคันปาก เกาจนปากเน่า คิดจะว่าด่าให้ร้ายใคร ไม่ได้และได้รับ ความทุกข์ทรมาน
  • 57. กระดาษคาตอบ ชุดที่ ๑ อ่านในใจลาดับความคิด แบบฝึ กกิจกรรมที่๗ นิทาน เรื่องบาปที่ปาก ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………
  • 58. แบบฝึ กกิจกรรมทบทวนความรู้ ให้ นักเรียนเลือกเขียน ข่ าว ข้ อความ เนือเพลง นิทานทีชอบแล้วแบ่ งช่ วงระยะ ้ ่ สายตาและการเคลือนไหวสายตาในการอ่านในใจ ่ ……………………………….. ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….……………. ……...........................................................................................................
  • 60. แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึ กเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ชุดที่ ๑ เรื่องอ่ านในใจลาดับความคิด ตอนที่ ๑ ให้นกเรี ยนอ่านข้อความต่อไปนี้ ใช้เวลาทั้งสิ้ น ๒ นาที ั ประวัติจังหวัดกาญจนบุรี เมืองกาญจนบุรีพ้ืนที่ก่อสร้างเมืองกาญจนบุรีเป็ นบริ เวณที่ลาน้ าแควน้อย ไหลมาบรรจบกับลาน้ าแควใหญ่ เรี ยกกันว่า " ปากแพรก " ซึ่ งมีชยภูมิอนเหมาะ ั ั ต่อการเป็ นเส้นทางสัญจรและค้าขาย ตลอดจนการเป็ นเมืองหน้าด่ านรับศึกพม่า พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว โปรดเกล้ า ฯ ให้ ส ร้ า งเมื อ งนี้ ขึ้ น เมื่อ พ.ศ.๒๓๗๔ กาญจนบุรีเป็ นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางที่มีผคนนิยมเดินทางไปท่องเที่ยว ู้ เต็ ม ไปด้ว ยเรื่ อ งราวในอดี ต ที่ น่ าสนใจ เป็ นแหล่ ง อารยธรรม เก่ า แก่ ยุค ก่ อ น ประวัติศาสตร์ เป็ นสถานที่ต้ งของสะพานข้ามแม่น้ าแคว ซึ่ งเป็ นสถานที่สาคัญ ั ทางประวัติศาสตร์ ของไทยในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ และมีชื่อเสี ยงโด่ งดัง ไปทั่ ว โลก นอกจากนี้ ยัง มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ่ ไม่วาจะเป็ น ป่ าเขาลาเนาไพร ถ้ าหรื อน้ าตก
  • 61. แบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึ กเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ชุดที่ ๑ เรื่อง การอ่านในใจลาดับความคิด คาชี้แจง ตอนที่ ๑ ๑. แบบทดสอบมี ๒ ตอน ๒. เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้ว ทาเครื่ องหมายกากบาท (x) ลงในกระดาษคาตอบที่แจกให้ ๓. ตอบคาถามลงในกระดาษคาตอบที่แจกให้ ให้นกเรี ยนอ่านข้อความต่อไปนี้ ใช้เวลาทั้งสิ้ น ๒ นาที ั จังหวัดกาญจนบุรี เมืองกาญจนบุรีพ้ืนที่ก่อสร้างเมืองกาญจนบุรีเป็ นบริ เวณที่ลาน้ าแควน้อย ไหลมาบรรจบกับลาน้ าแควใหญ่ เรี ยกกันว่า " ปากแพรก " ซึ่ งมีชัยภูมิอนเหมาะ ั ต่อการเป็ นเส้นทางสัญจรและค้าขาย ตลอดจนการเป็ นเมืองหน้าด่านรับศึกพม่า พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว โปรดเกล้ า ฯ ให้ ส ร้ า งเมื อ งนี้ ขึ้ น เมื่อ พ.ศ.๒๓๗๔ กาญจนบุรีเป็ นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางที่มีผคนนิยมเดินทางไปท่องเที่ยว ู้ เต็ ม ไปด้ว ยเรื่ อ งราวในอดี ต ที่ น่ า สนใจ เป็ นแหล่ ง อารยธรรมเก่ า แก่ ยุค ก่ อ น ประวัติศาสตร์ เป็ นสถานที่ ต้ งของสะพานข้ามแม่ น้ าแคว ซึ่ งเป็ นสถานที่ สาคัญ ั ทางประวัติศาสตร์ ของไทยในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ และมี ชื่อเสี ยงโด่ งดัง ไปทั่ ว โลก นอกจากนี้ ยัง มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ่ ไม่วาจะเป็ น ป่ าเขาลาเนาไพร ถ้ าหรื อน้ าตก
  • 62. ให้นกเรี ยนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้ว ทาเครื่ องหมายกากบาท (x) ั ลงในกระดาษคาตอบที่แจกให้ ตอนที่ ๒ จากข้อ ๑ – ๕ ตอบคาถามจากการอ่านข้อความ “ประวัติจงหวัดกาญจนบุรี” ั ๑. ให้เรี ยงลาดับตัวอักษร ก่อน – หลัง เพื่อเปรี ยบเทียบการเคลื่อนไหวสายตา ก. ฉ จ ช ฌ ข. จ ฉ ช ฌ ค. ช ฉ จ ฌ ง. ฌ ฉ จ ช ๒. ข้อใดเป็ นการเคลื่อนไหวสายตา สัญลักษณ์ ๑. ๒. ๓. ๔. ก. ข. ค. ง. ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๑ ๔ ๔ ๓ ๔ ๑ ๒ ๔ ๓ ๒ ๓ ได้ถูกต้อง
  • 63. ๓. จัดลาดับข้อความให้ได้ความหมาย ที่สมบูรณ์ที่สุด ๑ ประเทศไทย ๒ ในสมัยรัชกาลที่ ๗ ๓ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๕ ๔ ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย ก. ๓ ๔ ๒ ๑ ข. ๒ ๑ ๔ ๓ ค. ๑ ๓ ๔ ๒ ง. ๑ ๒ ๓ ๔ “สุ นทรภู่ หรื อพระยาศรี สุนทรโวหารเป็ นกวี ๔ สมัย คือ สุ นทรภู่เกิดใน สมัย รัชกาลที่ ๑ เมื่อวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๓๒๙ ได้เรี ยนวิชาหนังสื อ ที่วด ั ชีปะขาว (วัดศรี สุดาราม)ชีวิตรุ่ งเรื องในสมัยรัชกาลที่ ๒ โดยเข้ารับราชการ ในกรมพระอาลักษณ์ได้เป็ นขุนสุ นทรโวหารและเป็ นกวีที่ปรึ กษา ตกอับใน สมัยรั ช กาลที่ ๓ ต้องออกจากราชการและบวชเมื่ อ สึ กแล้วไม่ มี ที่พ่ ึ งต้อ ง ลอยเรื อและแต่งหนังสื อขายเลี้ยงชีพถึงแก่กรรมในสมัยรัชกาลที่ ๔” ๔. ข้อความข้างต้น มีความหมายตรงกับข้อใด ก. สุ นทรภู่แต่งหนังสื อขาย ข. สุ นทรภู่เป็ นกวี ๔ สมัย ค. ชีวตและประวัติของสุ นทรภู่ ิ ง. ๒๖ มิถุนายน เป็ นวันเกิดสุ นทรภู่
  • 64. “ อย่าเกียจคร้านการทางานนะพวกเรา งานหนักงานเบาเหนื่อยแล้วเราพักผ่อนก็หาย ไม่ทางานหลบหลีกงานเฝ้ าเกียจคร้านเอาแต่สบาย แก่จนตายขอทานายว่าไม่เจริ ญ” ๕. เนื้อเพลงข้างต้นมีความหมายตรงกับข้อใด ก. ความขยัน ข. การทางาน ค. การพักผ่อน ง. ความเกียจคร้าน ๖. ข้อใดแบ่งวรรคตอนการอ่านในใจได้ถูกต้อง ก. กาญจนบุรี / เป็ นจังหวัดหนึ่งในภาคกลาง ข. กาญจนบุรีเป็ น / จังหวัดหนึ่งในภาคกลาง ค. กาญจนบุรี / เป็ นจังหวัดหนึ่ง / ในภาคกลาง ง. กาญจนบุรีเป็ นจังหวัด / หนึ่งในภาคกลาง ๗. ข้อใดใช้เครื่ องหมาย เพื่อแบ่งช่วงระยะสายตาการอ่านในใจได้ถูกต้อง ก. กาญจนบุรี เป็ นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ยคก่อนประวัติศาสตร์ ุ ข. กาญจนบุรี เป็ นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ค. กาญจนบุรีเป็ นเป็ นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ง. กาญจนบุรี เป็ นแหล่ง อารยธรรมเก่าแก่ยคก่อนประวัติศาสตร์ ุ
  • 65. ๘. จังหวัดกาญจนบุรี สร้างขึ้นในสมัยใด ่ ั ก. พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหว ่ ่ ั ข. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว ่ ั ค. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูหว ่ ั ง. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว ๙. จังหวัดกาญจนบุรี มีความสาคัญทางด้านประวัติศาสตร์ อย่างไร ก. มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ข. มีธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์เช่น ถ้ า น้ าตก ค. มีลาน้ าแควน้อยไหลมาบรรจบกับลาน้ าแควใหญ่ ง. เป็ นสถานที่การทาสงครามโลกครั้งที่ ๒ ่ ั ๑๐. พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหว สร้างเมืองกาญจนบุรี ขึ้นใน พ.ศ. ใด ่ ก. พ.ศ. ๒๓๗๔ ข. พ.ศ. ๒๗๓๔ ค. พ.ศ. ๒๔๓๗ ง. พ.ศ. ๒๓๔๗
  • 66. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึ กเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ชุดที่ ๑ เรื่องการอ่านในใจลาดับความคิด ตอนที่ ๑ ๑. จานวนบรรทัด …............................................. บรรทัด ๒. ใช้ เวลาในการอ่าน .................................................. นาที ๓. ระดับคะแนน ....................................................... คะแนน ตอนที่ ๒ ข้ อ ก ข ๒ ๓ ข ๖ X X ๗ X ๔ ๕ ง ข้ อ ก X ๑ ค X ๙ ๑๐ ง X ๘ X ค X X X
  • 67. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึ กเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ชุดที่ ๑ เรื่องการอ่านในใจลาดับความคิด ตอนที่ ๑ ๑. จานวนบรรทัด …............................................. บรรทัด ๒. ใช้ เวลาในการอ่าน .................................................. นาที ๓. ระดับคะแนน ....................................................... คะแนน ตอนที่ ๒ ข้ อ ก ข ๑ X ๒ ๕ ง ข้ อ ก ๘ ค ง X ๗ X X ข ๖ X ๓ ๔ ค X X ๙ X ๑๐ X X
  • 68. เฉลยแบบฝึ กเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ชุดที่ ๑ การอ่านในใจ เฉลยแบบฝึ กกิจกรรมที่ ๑ ๑. การรู้ ความหมายของคา ๒. การเลือนช่ วงระยะสายตา ่ ๓. เคลือนไหวริมฝี ปาก ่ ๔. ๑๕ นิว ้ ๕. ตั้งความมุ่งหมายในการอ่าน
  • 69. เฉลยแบบฝึ กเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ชุดที่ ๑ การอ่านในใจ เฉลยแบบฝึ กกิจกรรมที่ ๑ ตอนที่ ๑ ๑. ความหมายโดยตรง ผลไม้ชนิดหนึ่งที่หล่นจากต้นสู่ พ้ืนดิน ความหมายโดยนัย ได้รับประโยชน์โดยไม่ได้คาดหวัง ๒. ความหมายโดยตรง ผลไม้ชนิดหนึ่ง ความหมายโดยนัย ๓. เรื่ องที่สามารถทาได้โดยง่าย ความหมายโดยตรง สัตว์ชนิดหนึ่ง ความหมายโดยนัย ๕. ความหมายโดยตรง ผลไม้ชนิดหนึ่ง ความหมายโดยนัย ๔. สิ่ งที่ยงใหญ่ ิ่ ทาอะไรไม่เป็ นผล ความหมายโดยตรง สัตว์ชนิดหนึ่ง ความหมายโดยนัย ความดุร้าย
  • 70. ตอนที่ ๒ ๑. นางฟา ้ ๒. พลอย ๓. ลงโทษ ๔. วิทยาศาสตร์ ๕. แข็งแรง
  • 71. เฉลยแบบฝึ กกิจกรรมที่ ๓ ตอน ๑ ด ต พ ฟ ม ตอน ๒ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ร ตอน ๓ ตอบ ๓ ษ ส ฬ อ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๑ ตอน ๔ ๒ ๔ ๑ ตอน ๕ ตอบ ๓ ศ ๑๕ ๑๔ ล ตอบ ๔ ตอน ๖ ๑ ๔ ๒ ตอบ ๒
  • 72. เฉลยแบบฝึ กกิจกรรมที่ ๔ “เมือเขาเจริญถึงทีสุดแล้ว / ก็จะกลับมาสู่ ความสวยงามของ ่ ่ ธรรมชาติอก / ในเมืองใหญ่ ๆ / ของประเทศทีเ่ จริญทีสุดแล้ว / ผู้คน ี ่ เริ่มเบื่อหน่ ายกับสิ่ งประดิษฐ์ ททาความสะดวกสบายให้ กบมนุษย์ ี่ ั เริ่มเบื่อห้ องแอร์ / เบื่อคอมพิวเตอร์ / ระบบกดปุ่ มทีให้ ความ ่ สะดวกหันมาเล่นธรรมชาติกนมากขึน / บางคนหนีเข้ าป่ าไป ั ้ เป็ นเดือน / เพราะความยุ่งเหยิงของบ้ านเมืองทีมนกัดกินหัวใจ” ่ ั ( คนเผ่าถ่ าน นิมต ภูมถาวร หน้ า ๗๖) ิ ิ
  • 73. เฉลยแบบฝึ กกิจกรรมที่ ๕ มอเตอร์ ไซด์ เพือคนพิการ ่ ความพิการอวัยวะสาหรับหลายคนไม่ ใช่ อปสรรค / หรือปัญหาใหญ่ ุ เท่ าภูเขา / ทีจะไม่ สามารถก้าวข้ ามไปได้ / สาหรับความคิดสร้ างสรรค์ บวกความ ่ ตั้งใจ / และความมานะอดทน / ทาให้ คนพิการไม่ว่าจะแขน / ขา / หรือส่ วนอืน ๆ ่ ของร่ างกาย / ก็สามารถใช้ ชีวตได้ ใกล้เคียงกับคนปกติ / อย่างกลุ่มผู้มภาวะ ิ ี อัมพาตของร่ างกายส่ วนล่าง / ยังขีมอเตอร์ ไซด์ ทออกแบบพิเศษได้ / แถมยังคว้ า ่ ี่ แชมป์ มากอดได้ อกต่ างหาก ี (ทีมา หนังสือพิมพ์ มติชนรายวัน วันศุกร์ ที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๕๑ ปี ที่ ๓๑ ฉบับที่ ๑๑๐๔๕ หน้ า ๒๖) ่
  • 74. เฉลยแบบฝึ กกิจกรรมที่ ๖ กาญจนบุรีศรีสยาม กาญจนบุรี / ดินแดนที่ / สุ ขสันต์อาจิณ แดนอุดมด้วยทรัพย์สิน / ผืนแผ่นดินทองของชาติไทย ดินแดนสวยประหลาด / ธรรมชาติเลอล้ าถิ่นใด งามถ้ าธารน้อยใหญ่ / เพลินใจเมื่อยามได้ชม ตื่นตา / ครั้นมาน้ าตกพลิว / ตกรื่ นรมย์ ้ ่ ั่ เสี ยงครื่ นครั่นโครม / พลิ้วพรมอยูชวกาล ไทรโยคทั้งใหญ่นอย / สวยหยดย้อยและดูตระการ ้ สวยเอราวัณ / แม้นถิ่นวิมาน / ตราตรึ ง ที่มา : www.kanchanaburi.go.th/au/song.php