SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
การเปรียบเทียบอุณหภูมิในหนวยตาง
ตัวอยาง... เมื่อนําปรอทมาวัดที่คนไขปรากฎวาอานคา
อุณหภูมิได 38 องศาเซนเซียส...
พลังงานความรอน
(Heat Energy)
พลังงานความรอน (Heat Energy)
พลังงานความร้อน เปนรูปแบบหนึ่งของพลังงาน ซึ่งมนุษยเราไดพลังงาน
ความรอนมาจากหลายแหงดวยกัน เชน จากดวงอาทิตย, พลังงานในของเหลวรอน
ใตพื้นพิภพ, การเผาไหมของเชื้อเพลิง, พลังงานไฟฟา, พลังงานนิวเคลียร, พลังงาน
น้ําในหมอตมน้ํา, พลังงานเปลวไฟ
ผลของความรอนทําใหสารเกิดการเปลี่ยนแปลง เชน อุณหภูมิสูงขึ้น หรือมี
การเปลี่ยนสถานะไป และนอกจากนี้แลว พลังงานความรอนยังสามารถทําใหเกิด
การเปลี่ยนแปลงทางเคมีไดอีกดวย หนวยที่ใชวัดปริมาณความรอน คือ แคลอรี่ (cal)
หรือจูล (J) โดยใชเครื่องมือที่เรียกวา แคลอรี่มิเตอร
หน่วยที่ใช้วัดปริมาณความร้อนในระบบต่างๆ ระบบเมตริก ใชพลังงาน
ความรอนในหนวยของ แคลอรี่ (Cal) หรือกิโลแคลอรี่ (Kcal) ระบบเอสไอ ใช
พลังงานความรอนในหนวยของ จูล (J) หรือกิโลจูล (KJ) ระบบอังกฤษ ใชพลังงาน
ความรอนในหนวยของ บีทียู (Btu)
นิยามของปริมาณความรอน
ปริมาณความรอน 1 Cal คือ
ปริมาณความรอนที่ทําใหน้ํา มวล 1 กรัมมีอุณหภูมิสูงขึ้น 1 องศาเซลเซียส
ปริมาณความรอน 1 Kcal คือ
ปริมาณความรอนที่ทําใหน้ํามวล 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิสูงขึ้น 1
องศาเซลเซียส (ปริมาณความรอน 1 กิโลแคลอรี่ = 1,000 Cal)
ปริมาณความรอน 1 Btu คือ
ปริมาณความรอนที่ทําใหน้ํามวล 1 ปอนดมีอุณหภูมิสูงขึ้น 1
องศาฟาเรนไฮด โดยที่ปริมาณความรอน 1 Btu = 252 Cal
หนวยการวัดน้ําหนัก
ในระบบเมตริกเทียบกับระบบอังกฤษ (โดยประมาณ)
1 กิโลกรัม เทากับ 2.2046 ปอนด
BTU แอรคืออะไร คํานวณ BTU แอรอยางไร เรามีคําตอบ
BTU (British Thermal Unit) คือ หนวยที่ใชวัดปริมาณความรอนหนวยหนึ่ง ( ซึ่งเปนที่นิยมใช
กันมากในระบบของแอร ) สามารถเทียบไดกับหนวยจูลหรือแคลอรีในระบบสากล โดยที่ความรอน 1
Btu คือปริมาณความรอนที่ทําใหน้ํา 1 ปอนดมีอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง 1 องศาฟาเรนไฮด แอรนั้น
จะวัดกําลังความเย็นหรือความสามารถในการดึงความ รอน ( ถายเทความรอน ) ออกจากหองปรับ
อากาศในหนวยบีทียู ( Btu ) เชนแอรขนาด 14,000 บีทียูตอชั่วโมง หมายความวาแอรเครื่องนั้นมี
ความสามารถในการดึงความรอนออกจาก หองปรับอากาศ 14,000 บีทียูภายในเวลา 1 ชั่วโมง
วิธีคํานวน BTU แอร นั้นมีคนถามมาเปนจํานวนมาก การคํานวณคา BTU นั้นถาจะใหไดคาที่ตรงจริง
ขึ้นอยูกับหลายปจจัยมาก วันนี้เราจึงมีวิธีคํานวณ BTU โดยประมาณมาแนะนํา
BTU = พื้นที่หอง(กวางxยาว) x ตัวแปร ]
ตัวแปรแบงได 2 ประเภท
700 = หองที่มีความรอนนอยใชเฉพาะกลางคืน
800 = หองที่มีความรอนสูงใชกลางวันมาก
Note:กรณีที่หองสูงกวา 2.5 เมตร บวกเพิ่ม 5 %
ทราบหรือ ...ไม รูไวใชวา... ใสบาแบกหาม
• เจมส จูล นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษพบวาพลังงานความรอน 1 แคลอ
รี่เกิดจากการทํางาน 4.2 จูล ดังนั้นเราจึงใชตัวเลขคานี้คํานวณพลังงาน
ความรอนจากแคลอรี่เปนจูลได นั่นคือ
1 Cal = 4.2 J หรือ
1 Kcal = 4,200 J
โดยปริมาณความรอน 1 จูล (1 J) คือ ปริมาณความรอนที่มีขนาดเทากับ
งานที่เกิดจากแรง 1 นิวตัน (N) กระทําตอวัตถุแลวมีผลใหวัตถุนั้น
เคลื่อนที่ไปตามทิศทางของแรงกระทําเปนระยะทาง 1 เมตร (m)
อุณหภูมิ (Temperature)
• อุณหภูมิ (Temperature) คือ คุณสมบัติทางกายภาพของระบบ
โดยจะใชเพื่อแสดงถึงระดับพลังงานความรอน เปนการแทนความรูสึก
ทั่วไปของคําวา "รอน" และ "เย็น" โดยสิ่งที่มีอุณหภูมิสูงกวาจะถูกกลาว
วารอนกวา หนวย SI ของอุณหภูมิ คือ เคลวิน
มาตราวัดอุณหภูมิ
มาตรฐานวัดหลัก ไดแก
เทอรโมมิเตอร (Thermometer)
เทอรโมมิเตอรเปนเครื่องมือสําหรับวัดระดับความรอนหรืออุณหภูมิ
ประดิษฐขึ้นโดยอาศัยหลักการขยายตัวของของเหลวเมื่อไดรับความรอน และ
หดตัวเมื่อคายความรอน ของเหลวที่ใชบรรจุในกระเปาะแกวของเทอรโมมิเตอร
คือปรอทหรือแอลกอฮอลที่ผสมกับสีแดง เมื่อแอลกอฮอลหรือปรอทไดรับความ
รอน จะขยายตัวขึ้นไปตามหลอดแกวเล็กๆ เหนือกระเปาะแกว และจะหดตัวลง
ไปอยูในกระเปาะตามเดิมถาอุณหภูมิลดลง สาเหตุที่ใชแอลกอฮอลหรือปรอท
บรรจุลงในเทอรโมมิเตอรเพราะของเหลวทั้งสองนี้ไวตอการเปลี่ยนแปลงของ
อุณหภูมิ และไมเกาะผิวของหลอดแกว แตถาเปนของเหลวชนิดอื่น เชน น้ําจะ
เกาะผิวหลอดแกว เมื่อขยายตัวหรือหดตัว จะติดคางอยูในหลอดแกวไมยอม
กลับมาที่กระเปาะ การอานเทอรโมมิเตอรตองใหระดับของของเหลวใน
หลอดแกวอยูในระดับสายตา ถาเปนเทอรโมมิเตอรชนิดบรรจุดวยปรอท ใหอาน
ตัวเลขบริเวณฐานของสวนนูน สวนเทอรโมมิเตอรชนิดแลกอฮอล ใหอานตัวเลข
บริเวณสวนที่เวาที่สุด
การวัดอุณหภูมิ
• การวัดอุณภูมิ เราสามารถทราบไดโดยการ วัดระดับความรอนของสิ่งนั้นๆ
เครื่องมือที่ใชวัดระดัความรอน เรียกวา "เทอรโมมิเตอร" ซึ่งทั่วไปนิยมใชบอก
องศาเซลเซียส และองศาฟาเรนไฮต การใชโดยการใหกระเปาะ
เทอรโมมิเตอรสัมผัสกับสิ่งที่ตองการวัดโดยตรงจริงๆเทานั้นและตั้งตรง อาน
สเกลตองอานในระดับสายตาและระดับเดียวกับของเหลวในเทอรโมมิเตอร
• หลักการทํางานของเทอรโมมิเตอร จะบรรจุของเหลวที่ในปรอท หรือ
แอลกอฮอลผสมสี เหตุที่ใชของเหลวนี้เพราะมีคุณสมบัติในการขยายและหด
ตัว หลักการสําคัญของเทอรโมมิเตอรมีอยูวา สารเมื่อไดรับความรอนจะ
ขยายตัว และเมื่อลดความรอนจะหดตัว หรือมีการเปลี่ยนแปลงอุญหภูมิ
การอานคาอุณหภูมิจากเทอรโมมิเตอร
การถายโอนพลังงาน (Heat Transfer)
การถายโอนพลังงานความรอน (Heat Transfer) วัตถุที่มีอุณหภูมิตางกัน วัตถุหนึ่ง
มีอุณหภูมิสูงกวาวัตถุหนึ่งจะทําใหเกิดการถายพลังงานความรอนจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปยังวัตถุ
ที่มีอุณหภูมิต่ํากวา การถายเทพลังงานความรอนจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งนี้เรียกวา การถายโอน
พลังงานความรอน นักเรียนคิดวา การถายโอนพลังงานความรอนจะเกิดขึ้นไดดวยวิธีใดบาง เมื่อนํา
เสนลวดเสนหนึ่งมาลนไฟ แลวใชมือจับปลายเสนลวดใหหางจากเปลวไฟประมาณ 10 เซนติเมตร
เราจะรูสึกรอนและเมื่อเวลาผานไปนาน ๆ จะรูสึกรอนขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งๆที่บริเวณดังกลาวจะไมรูสึก
รอนถาไมมีเสนลวด แสดงวาความรอนเคลื่อนที่ผานเสนลวดมาถึงมือเรา ตามทฤษฎีแลวสามารถ
อธิบายไดวา โมเลกุลของเสนลวด เมื่อไดรับความรอนก็จะมีพลังงานจลนมากขึ้น เกิดการสั่นแรงขึ้น
ทําใหเกิดการชน เกิดการขัดสีดกับโมเลกุลขางเคียง ทําใหโมเลกุลขางเคียงมีอุณหภูมิสูงขึ้น มี
พลังงานจลนมากขึ้น เกิดการสั่นแรงขึ้นและเกิดการขัดสีกับโมเลกุลที่อยูถัดไปเชนนี้เรื่อยๆ จนความ
รอนถูกสงมาถึงมือเรา เราสามารถกลาวไดอีกวาความรอนสามารถสงผานเสนลวดได เสนลวดเปน
เสมือนทางที่นําความรอนมาสูมือเรา และสรุปไดวา "ความรอนสามรถถายโอนไดดวยวิธีการนํา
ความรอน" ซึ่งกรณีการนําความรอนนี้ตองอาศัยตัวกลางในการถายโอนพลังงานความรอน ในการ
ถายโอนพลังงานความรอนจะมี 3 แบบดวยกัน คือ การนําความรอน การพาความรอน และ การแผ
รังสีความรอน โดยการนําความรอนและพาความรอนตองอาศัยตัวกลางในการถายโอนพลังงาน
ความรอน สวนในการแผรังสีความรอนไมตองใชตัวกลางในการถายโอนพลังงานความรอน
พิจารณาจากรูป...
สมดุลทางความรอน (Thermal equilibrium)
อุณหภูมิเปนคุณสมบัติตัวหนึ่งที่ใชบอกระดับพลังงานของระบบ ถานําวัตถุสอง
กอนที่อุณหภูมิตางกันมาสัมผัสกันก็จะเกิดการถายเทความรอนจากวัตถุที่มีอุณหภูมิ
สูงกวาไปยังวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ํากวา จนกวาอุณหภูมิของวัตถุทั้งสองเทากัน
กระบวนการการถายเทความรอนจึงจะสิ้นสุดลง ณ จุดที่อุณหภูมิของวัตถุทั้งสอง
เทากันนี้เราเรียกวาสมดุลทางความรอน (Thermal equilibrium)
สําหรับกฏขอที่ศูนยของเทอรโมไดนามิกสซึ่งเปนกฏที่กลาวถึงสมดุลทางความรอนได
กลาววา "ถาวัตถุสองกอนตางก็มีความสมดุลทางความรอนกับวัตถุกอนที่สามวัตถุทั้ง
สามกอนก็จะมีความสมดุลทางความรอนตอกัน" ดังตัวอยางเชน ถานําน้ํารอน
อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียสผสมกับน้ําที่อุณหภูมิหอง (25 องศาเซลเซียส) น้ําที่ไดจะ
มีอุณหภูมิสูงกวาอุณหภูมิหอง แตต่ํากวา 70 องศาเซลเซียส ซึ่งที่เปนเชนนี้เนื่องจาก
น้ํารอนไดถายโอนพลังงานความรอนใหกับน้ําเย็น จนกระทั่งน้ําที่ผสมกันมีอุณหภูมิ
เทากัน การถายโอนพลังงานความรอนจึงหยุด
ความรอนกับอุณหภูมิ
อุณหภูมิเปนปริมาณที่บอกระดับความรอนในวัตถุ เราใชเทอรโมมิเตอร
ในการวัดอุณหภูมิ เทอรโมมิเตอรจะมีขนาด รูปรางและลักษณะแตกตางกัน
ไปตามลักษณะการใชงาน อุณหภูมิมีหนวยเปนเคลวิน (K) เราเรียก
ความสามารถในการกักเก็บความรอนของวัตถุวา ความจุความรอน และถา
พิจารณาความจุความรอนเทียบตอหนึ่งหนวยมวลจะเรียกวา
ความจุความรอนจําเพาะ
โดยที่เราสามารถหาความจุความรอนจําเพาะไดจากสมการ เมื่อ
Q = พลังงานความรอนมีหนวยเปนจูล (J)
m = มวลของวัตถุ (g)
t = อุณหภูมิของวัตถุที่เปลี่ยนไป (K)
c = ความจุความรอนจําเพาะ (J/g.K)
โดยที่ ความจุความรอนจําเพาะของน้ําและน้ําแข็งเทากับ 4,000 J/kg.K
ความจุความรอนจําเพาะของเหล็กเทากับ 450 J/kg.K
ความรอนกับสถานะของสาร
สสารมี 3 สถานะคือ ของแข็ง, ของเหลว และกาซ สารบางอยางจะ
มีทั้งหมดได 3 สถานะ เชน น้ํา กลาวคือน้ําแข็งเมื่อไดรับความรอนจะ
หลอมเหลวจนหมดเปลี่ยนสถานะจากของแข็งกลายเปนของเหลว
จากนั้นเมื่อน้ําไดรับความรอนที่อุณหภูมิประมาณ 100 ํC จะเปลี่ยน
สถานะจากของเหลวกลายเปนไอ
• ซึ่งขณะที่วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะ อุณหภูมิของวัตถุจะมีคาคงที่
แมเราจะใหความรอนอยางตอเนื่องกับวัตถุ ที่เปนเชนนี้เพราะความรอน
ถูกนําไปใชในการเปลี่ยนสถานะของวัตถุ เราเรียกความรอนที่ใชในการ
เปลี่ยนสถานะวา ความรอนแฝง หากเราพิจารณาความรอนแฝงเทียบ
หนึ่งหนวยมวล จะเรียกชื่อใหมนี้วา ความรอนแฝงจําเพาะ ใช
สัญลักษณ L เราสามารถหาคาพลังงานความรอนแฝงของการเปลี่ยน
สถานะไดจากสมการ
กราฟแสดงการดูด และการคายความรอนของสสาร
ความรอน(Thermal)
• ความรอน (Thermal)
• ความรอนเปนพลังงานรูปหนึ่งที่เปลี่ยนมาจากพลังงานรูปอื่น เชน พลังงานไฟฟา พลังงาน
กล (พลังงานศักยและพลังงานจลน) พลังงานเคมี พลังงานนิวเคลียร หรืองาน เปนตน
• พลังงานความรอนมีหนวยเปนจูล (Joule, J ) ในระบบเอสไอ (SI) แตบางครั้งอาจ
บอกเปนหนวยอื่นได เชน แคลอรี (cal) และบีทียู (BTU)
• พลังงานความรอน 1 แคลอรี คือพลังงานความรอนที่ทําใหน้ํามวล 1 กรัม มีอุณหภู
เพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส (°C ) ในชวง 14.5 °C ถึง 15.5 °C
• พลังงานความรอน 1 บีทียู คือ พลังงานความรอนที่ทําใหน้ําที่มีมวล 1 ปอนด มีอุณหภูมิ
เพิ่มขึ้น 1 องศาฟาเรนไฮต (°F) ในชวง 58.1 °F ถึง 59.1 °F
• จากการทดลองพบวา
• 1 cal = 4.186 J
• 1 BTU = 252 cal = 1055 J
ปริมาณความรอนของวัตถุ (HEAT, Q)
เปนพลังงานความรอนที่วัตถุรับเขามาหรือคายออกไป จากการศึกษาผล
ของความรอนตอสสารหรือวัตถุในชั้นนี้จะศึกษาเพียงสองดาน คือ
1. ความรอนจําเพาะ ( Specific heat ) หมายถึง พลังงานความรอนที่
ทําใหวัตถุมีอุณหภูมิสูงขึ้นหรือต่ําลงโดยสถานะยังคงรูปเดิม
2. ความรอนแฝง (Latent Heat) หมายถึง พลังงานความรอนที่ทําให
วัตถุเปลี่ยนสถานะโดยอุณหภูมิคงที่
ความจุความรอน ( Heat capacity, C ) คือความรอนที่ทําใหสาร
ทั้งหมดที่กําลังพิจารณามีอุณหภูมิเปลี่ยนไปหนึ่งหนวย โดยสถานะไมเปลี่ยน
ถาใหปริมาณความรอน ΔQ แกวัตถุ ทําใหอุณหภูมิของวัตถุเปลี่ยนไป
ΔT ดังนั้นถาอุณหภูมิของวัตถุเปลี่ยนไป 1 หนวย จะใชความรอน C คือ
การเปลี่ยนสถานะของสาร
สารและสิ่งของที่อยูรอบตัวเราจะพบวามีอยู 3 สถานะ คือ ของแข็ง (น้ําแข็ง)
ของเหลว (น้ํา) และแกส (ไอน้ํา) ได
I. ของแข็ง แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลมีคามาก ทําใหโมเลกุลอยูใกลกัน จึงทําให
รูปทรงของของแข็งไมเปลี่ยนแปลงมากเมื่อมีแรงขนาดไมมากนักมากระทํา
ตามคําจํากัดความนี้ เหล็ก คอนกรีต กอนหิน เปนของแข็ง
II. ของเหลว แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลมีคานอย โมเลกุลจึงเคลื่อนที่ไปมาได
บาง จึงทําใหรูปทรงของของเหลวเปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่ที่บรรจุ น้ํา
น้ํามัน ปรอท เปนของเหลว
III. แกส แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลมีคานอยมาก จนโมเลกุลของแกสอยูหาง
กันมากและเคลื่อนที่ไดสะเปะสะปะ ฟุงกระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ เชน
อากาศและแกสชนิดตางๆ
กิจกรรมที่ 1
พลังงานความรอนกับการเปลี่ยนแปลงของสาร
• วัตถุประสงค 1. ทดลองและอธิบายผลของพลังงานความรอน
ที่ทําใหสาร/วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลง
• อุปกรณการทดลอง
• วิธีการทดลอง
• ตารางบันทึกผลการทดลอง
• อภิปรายและสรุปผลการทดลอง
• จากการทดลอง....เมื่อนํา........พบวา.........(เกิดอะไรขึ้น)

More Related Content

More from พัน พัน

การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนพัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
 

พลังงานความร้อน (Heat energy)

  • 3. พลังงานความรอน (Heat Energy) พลังงานความร้อน เปนรูปแบบหนึ่งของพลังงาน ซึ่งมนุษยเราไดพลังงาน ความรอนมาจากหลายแหงดวยกัน เชน จากดวงอาทิตย, พลังงานในของเหลวรอน ใตพื้นพิภพ, การเผาไหมของเชื้อเพลิง, พลังงานไฟฟา, พลังงานนิวเคลียร, พลังงาน น้ําในหมอตมน้ํา, พลังงานเปลวไฟ ผลของความรอนทําใหสารเกิดการเปลี่ยนแปลง เชน อุณหภูมิสูงขึ้น หรือมี การเปลี่ยนสถานะไป และนอกจากนี้แลว พลังงานความรอนยังสามารถทําใหเกิด การเปลี่ยนแปลงทางเคมีไดอีกดวย หนวยที่ใชวัดปริมาณความรอน คือ แคลอรี่ (cal) หรือจูล (J) โดยใชเครื่องมือที่เรียกวา แคลอรี่มิเตอร หน่วยที่ใช้วัดปริมาณความร้อนในระบบต่างๆ ระบบเมตริก ใชพลังงาน ความรอนในหนวยของ แคลอรี่ (Cal) หรือกิโลแคลอรี่ (Kcal) ระบบเอสไอ ใช พลังงานความรอนในหนวยของ จูล (J) หรือกิโลจูล (KJ) ระบบอังกฤษ ใชพลังงาน ความรอนในหนวยของ บีทียู (Btu)
  • 4. นิยามของปริมาณความรอน ปริมาณความรอน 1 Cal คือ ปริมาณความรอนที่ทําใหน้ํา มวล 1 กรัมมีอุณหภูมิสูงขึ้น 1 องศาเซลเซียส ปริมาณความรอน 1 Kcal คือ ปริมาณความรอนที่ทําใหน้ํามวล 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิสูงขึ้น 1 องศาเซลเซียส (ปริมาณความรอน 1 กิโลแคลอรี่ = 1,000 Cal) ปริมาณความรอน 1 Btu คือ ปริมาณความรอนที่ทําใหน้ํามวล 1 ปอนดมีอุณหภูมิสูงขึ้น 1 องศาฟาเรนไฮด โดยที่ปริมาณความรอน 1 Btu = 252 Cal
  • 6. BTU แอรคืออะไร คํานวณ BTU แอรอยางไร เรามีคําตอบ BTU (British Thermal Unit) คือ หนวยที่ใชวัดปริมาณความรอนหนวยหนึ่ง ( ซึ่งเปนที่นิยมใช กันมากในระบบของแอร ) สามารถเทียบไดกับหนวยจูลหรือแคลอรีในระบบสากล โดยที่ความรอน 1 Btu คือปริมาณความรอนที่ทําใหน้ํา 1 ปอนดมีอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง 1 องศาฟาเรนไฮด แอรนั้น จะวัดกําลังความเย็นหรือความสามารถในการดึงความ รอน ( ถายเทความรอน ) ออกจากหองปรับ อากาศในหนวยบีทียู ( Btu ) เชนแอรขนาด 14,000 บีทียูตอชั่วโมง หมายความวาแอรเครื่องนั้นมี ความสามารถในการดึงความรอนออกจาก หองปรับอากาศ 14,000 บีทียูภายในเวลา 1 ชั่วโมง วิธีคํานวน BTU แอร นั้นมีคนถามมาเปนจํานวนมาก การคํานวณคา BTU นั้นถาจะใหไดคาที่ตรงจริง ขึ้นอยูกับหลายปจจัยมาก วันนี้เราจึงมีวิธีคํานวณ BTU โดยประมาณมาแนะนํา BTU = พื้นที่หอง(กวางxยาว) x ตัวแปร ] ตัวแปรแบงได 2 ประเภท 700 = หองที่มีความรอนนอยใชเฉพาะกลางคืน 800 = หองที่มีความรอนสูงใชกลางวันมาก Note:กรณีที่หองสูงกวา 2.5 เมตร บวกเพิ่ม 5 %
  • 7. ทราบหรือ ...ไม รูไวใชวา... ใสบาแบกหาม • เจมส จูล นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษพบวาพลังงานความรอน 1 แคลอ รี่เกิดจากการทํางาน 4.2 จูล ดังนั้นเราจึงใชตัวเลขคานี้คํานวณพลังงาน ความรอนจากแคลอรี่เปนจูลได นั่นคือ 1 Cal = 4.2 J หรือ 1 Kcal = 4,200 J โดยปริมาณความรอน 1 จูล (1 J) คือ ปริมาณความรอนที่มีขนาดเทากับ งานที่เกิดจากแรง 1 นิวตัน (N) กระทําตอวัตถุแลวมีผลใหวัตถุนั้น เคลื่อนที่ไปตามทิศทางของแรงกระทําเปนระยะทาง 1 เมตร (m)
  • 8. อุณหภูมิ (Temperature) • อุณหภูมิ (Temperature) คือ คุณสมบัติทางกายภาพของระบบ โดยจะใชเพื่อแสดงถึงระดับพลังงานความรอน เปนการแทนความรูสึก ทั่วไปของคําวา "รอน" และ "เย็น" โดยสิ่งที่มีอุณหภูมิสูงกวาจะถูกกลาว วารอนกวา หนวย SI ของอุณหภูมิ คือ เคลวิน มาตราวัดอุณหภูมิ มาตรฐานวัดหลัก ไดแก
  • 9. เทอรโมมิเตอร (Thermometer) เทอรโมมิเตอรเปนเครื่องมือสําหรับวัดระดับความรอนหรืออุณหภูมิ ประดิษฐขึ้นโดยอาศัยหลักการขยายตัวของของเหลวเมื่อไดรับความรอน และ หดตัวเมื่อคายความรอน ของเหลวที่ใชบรรจุในกระเปาะแกวของเทอรโมมิเตอร คือปรอทหรือแอลกอฮอลที่ผสมกับสีแดง เมื่อแอลกอฮอลหรือปรอทไดรับความ รอน จะขยายตัวขึ้นไปตามหลอดแกวเล็กๆ เหนือกระเปาะแกว และจะหดตัวลง ไปอยูในกระเปาะตามเดิมถาอุณหภูมิลดลง สาเหตุที่ใชแอลกอฮอลหรือปรอท บรรจุลงในเทอรโมมิเตอรเพราะของเหลวทั้งสองนี้ไวตอการเปลี่ยนแปลงของ อุณหภูมิ และไมเกาะผิวของหลอดแกว แตถาเปนของเหลวชนิดอื่น เชน น้ําจะ เกาะผิวหลอดแกว เมื่อขยายตัวหรือหดตัว จะติดคางอยูในหลอดแกวไมยอม กลับมาที่กระเปาะ การอานเทอรโมมิเตอรตองใหระดับของของเหลวใน หลอดแกวอยูในระดับสายตา ถาเปนเทอรโมมิเตอรชนิดบรรจุดวยปรอท ใหอาน ตัวเลขบริเวณฐานของสวนนูน สวนเทอรโมมิเตอรชนิดแลกอฮอล ใหอานตัวเลข บริเวณสวนที่เวาที่สุด
  • 10. การวัดอุณหภูมิ • การวัดอุณภูมิ เราสามารถทราบไดโดยการ วัดระดับความรอนของสิ่งนั้นๆ เครื่องมือที่ใชวัดระดัความรอน เรียกวา "เทอรโมมิเตอร" ซึ่งทั่วไปนิยมใชบอก องศาเซลเซียส และองศาฟาเรนไฮต การใชโดยการใหกระเปาะ เทอรโมมิเตอรสัมผัสกับสิ่งที่ตองการวัดโดยตรงจริงๆเทานั้นและตั้งตรง อาน สเกลตองอานในระดับสายตาและระดับเดียวกับของเหลวในเทอรโมมิเตอร • หลักการทํางานของเทอรโมมิเตอร จะบรรจุของเหลวที่ในปรอท หรือ แอลกอฮอลผสมสี เหตุที่ใชของเหลวนี้เพราะมีคุณสมบัติในการขยายและหด ตัว หลักการสําคัญของเทอรโมมิเตอรมีอยูวา สารเมื่อไดรับความรอนจะ ขยายตัว และเมื่อลดความรอนจะหดตัว หรือมีการเปลี่ยนแปลงอุญหภูมิ
  • 12. การถายโอนพลังงาน (Heat Transfer) การถายโอนพลังงานความรอน (Heat Transfer) วัตถุที่มีอุณหภูมิตางกัน วัตถุหนึ่ง มีอุณหภูมิสูงกวาวัตถุหนึ่งจะทําใหเกิดการถายพลังงานความรอนจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปยังวัตถุ ที่มีอุณหภูมิต่ํากวา การถายเทพลังงานความรอนจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งนี้เรียกวา การถายโอน พลังงานความรอน นักเรียนคิดวา การถายโอนพลังงานความรอนจะเกิดขึ้นไดดวยวิธีใดบาง เมื่อนํา เสนลวดเสนหนึ่งมาลนไฟ แลวใชมือจับปลายเสนลวดใหหางจากเปลวไฟประมาณ 10 เซนติเมตร เราจะรูสึกรอนและเมื่อเวลาผานไปนาน ๆ จะรูสึกรอนขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งๆที่บริเวณดังกลาวจะไมรูสึก รอนถาไมมีเสนลวด แสดงวาความรอนเคลื่อนที่ผานเสนลวดมาถึงมือเรา ตามทฤษฎีแลวสามารถ อธิบายไดวา โมเลกุลของเสนลวด เมื่อไดรับความรอนก็จะมีพลังงานจลนมากขึ้น เกิดการสั่นแรงขึ้น ทําใหเกิดการชน เกิดการขัดสีดกับโมเลกุลขางเคียง ทําใหโมเลกุลขางเคียงมีอุณหภูมิสูงขึ้น มี พลังงานจลนมากขึ้น เกิดการสั่นแรงขึ้นและเกิดการขัดสีกับโมเลกุลที่อยูถัดไปเชนนี้เรื่อยๆ จนความ รอนถูกสงมาถึงมือเรา เราสามารถกลาวไดอีกวาความรอนสามารถสงผานเสนลวดได เสนลวดเปน เสมือนทางที่นําความรอนมาสูมือเรา และสรุปไดวา "ความรอนสามรถถายโอนไดดวยวิธีการนํา ความรอน" ซึ่งกรณีการนําความรอนนี้ตองอาศัยตัวกลางในการถายโอนพลังงานความรอน ในการ ถายโอนพลังงานความรอนจะมี 3 แบบดวยกัน คือ การนําความรอน การพาความรอน และ การแผ รังสีความรอน โดยการนําความรอนและพาความรอนตองอาศัยตัวกลางในการถายโอนพลังงาน ความรอน สวนในการแผรังสีความรอนไมตองใชตัวกลางในการถายโอนพลังงานความรอน
  • 14. สมดุลทางความรอน (Thermal equilibrium) อุณหภูมิเปนคุณสมบัติตัวหนึ่งที่ใชบอกระดับพลังงานของระบบ ถานําวัตถุสอง กอนที่อุณหภูมิตางกันมาสัมผัสกันก็จะเกิดการถายเทความรอนจากวัตถุที่มีอุณหภูมิ สูงกวาไปยังวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ํากวา จนกวาอุณหภูมิของวัตถุทั้งสองเทากัน กระบวนการการถายเทความรอนจึงจะสิ้นสุดลง ณ จุดที่อุณหภูมิของวัตถุทั้งสอง เทากันนี้เราเรียกวาสมดุลทางความรอน (Thermal equilibrium) สําหรับกฏขอที่ศูนยของเทอรโมไดนามิกสซึ่งเปนกฏที่กลาวถึงสมดุลทางความรอนได กลาววา "ถาวัตถุสองกอนตางก็มีความสมดุลทางความรอนกับวัตถุกอนที่สามวัตถุทั้ง สามกอนก็จะมีความสมดุลทางความรอนตอกัน" ดังตัวอยางเชน ถานําน้ํารอน อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียสผสมกับน้ําที่อุณหภูมิหอง (25 องศาเซลเซียส) น้ําที่ไดจะ มีอุณหภูมิสูงกวาอุณหภูมิหอง แตต่ํากวา 70 องศาเซลเซียส ซึ่งที่เปนเชนนี้เนื่องจาก น้ํารอนไดถายโอนพลังงานความรอนใหกับน้ําเย็น จนกระทั่งน้ําที่ผสมกันมีอุณหภูมิ เทากัน การถายโอนพลังงานความรอนจึงหยุด
  • 15. ความรอนกับอุณหภูมิ อุณหภูมิเปนปริมาณที่บอกระดับความรอนในวัตถุ เราใชเทอรโมมิเตอร ในการวัดอุณหภูมิ เทอรโมมิเตอรจะมีขนาด รูปรางและลักษณะแตกตางกัน ไปตามลักษณะการใชงาน อุณหภูมิมีหนวยเปนเคลวิน (K) เราเรียก ความสามารถในการกักเก็บความรอนของวัตถุวา ความจุความรอน และถา พิจารณาความจุความรอนเทียบตอหนึ่งหนวยมวลจะเรียกวา ความจุความรอนจําเพาะ โดยที่เราสามารถหาความจุความรอนจําเพาะไดจากสมการ เมื่อ Q = พลังงานความรอนมีหนวยเปนจูล (J) m = มวลของวัตถุ (g) t = อุณหภูมิของวัตถุที่เปลี่ยนไป (K) c = ความจุความรอนจําเพาะ (J/g.K) โดยที่ ความจุความรอนจําเพาะของน้ําและน้ําแข็งเทากับ 4,000 J/kg.K ความจุความรอนจําเพาะของเหล็กเทากับ 450 J/kg.K
  • 16. ความรอนกับสถานะของสาร สสารมี 3 สถานะคือ ของแข็ง, ของเหลว และกาซ สารบางอยางจะ มีทั้งหมดได 3 สถานะ เชน น้ํา กลาวคือน้ําแข็งเมื่อไดรับความรอนจะ หลอมเหลวจนหมดเปลี่ยนสถานะจากของแข็งกลายเปนของเหลว จากนั้นเมื่อน้ําไดรับความรอนที่อุณหภูมิประมาณ 100 ํC จะเปลี่ยน สถานะจากของเหลวกลายเปนไอ
  • 17.
  • 18. • ซึ่งขณะที่วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะ อุณหภูมิของวัตถุจะมีคาคงที่ แมเราจะใหความรอนอยางตอเนื่องกับวัตถุ ที่เปนเชนนี้เพราะความรอน ถูกนําไปใชในการเปลี่ยนสถานะของวัตถุ เราเรียกความรอนที่ใชในการ เปลี่ยนสถานะวา ความรอนแฝง หากเราพิจารณาความรอนแฝงเทียบ หนึ่งหนวยมวล จะเรียกชื่อใหมนี้วา ความรอนแฝงจําเพาะ ใช สัญลักษณ L เราสามารถหาคาพลังงานความรอนแฝงของการเปลี่ยน สถานะไดจากสมการ
  • 20. ความรอน(Thermal) • ความรอน (Thermal) • ความรอนเปนพลังงานรูปหนึ่งที่เปลี่ยนมาจากพลังงานรูปอื่น เชน พลังงานไฟฟา พลังงาน กล (พลังงานศักยและพลังงานจลน) พลังงานเคมี พลังงานนิวเคลียร หรืองาน เปนตน • พลังงานความรอนมีหนวยเปนจูล (Joule, J ) ในระบบเอสไอ (SI) แตบางครั้งอาจ บอกเปนหนวยอื่นได เชน แคลอรี (cal) และบีทียู (BTU) • พลังงานความรอน 1 แคลอรี คือพลังงานความรอนที่ทําใหน้ํามวล 1 กรัม มีอุณหภู เพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส (°C ) ในชวง 14.5 °C ถึง 15.5 °C • พลังงานความรอน 1 บีทียู คือ พลังงานความรอนที่ทําใหน้ําที่มีมวล 1 ปอนด มีอุณหภูมิ เพิ่มขึ้น 1 องศาฟาเรนไฮต (°F) ในชวง 58.1 °F ถึง 59.1 °F • จากการทดลองพบวา • 1 cal = 4.186 J • 1 BTU = 252 cal = 1055 J
  • 21. ปริมาณความรอนของวัตถุ (HEAT, Q) เปนพลังงานความรอนที่วัตถุรับเขามาหรือคายออกไป จากการศึกษาผล ของความรอนตอสสารหรือวัตถุในชั้นนี้จะศึกษาเพียงสองดาน คือ 1. ความรอนจําเพาะ ( Specific heat ) หมายถึง พลังงานความรอนที่ ทําใหวัตถุมีอุณหภูมิสูงขึ้นหรือต่ําลงโดยสถานะยังคงรูปเดิม 2. ความรอนแฝง (Latent Heat) หมายถึง พลังงานความรอนที่ทําให วัตถุเปลี่ยนสถานะโดยอุณหภูมิคงที่ ความจุความรอน ( Heat capacity, C ) คือความรอนที่ทําใหสาร ทั้งหมดที่กําลังพิจารณามีอุณหภูมิเปลี่ยนไปหนึ่งหนวย โดยสถานะไมเปลี่ยน ถาใหปริมาณความรอน ΔQ แกวัตถุ ทําใหอุณหภูมิของวัตถุเปลี่ยนไป ΔT ดังนั้นถาอุณหภูมิของวัตถุเปลี่ยนไป 1 หนวย จะใชความรอน C คือ
  • 22. การเปลี่ยนสถานะของสาร สารและสิ่งของที่อยูรอบตัวเราจะพบวามีอยู 3 สถานะ คือ ของแข็ง (น้ําแข็ง) ของเหลว (น้ํา) และแกส (ไอน้ํา) ได I. ของแข็ง แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลมีคามาก ทําใหโมเลกุลอยูใกลกัน จึงทําให รูปทรงของของแข็งไมเปลี่ยนแปลงมากเมื่อมีแรงขนาดไมมากนักมากระทํา ตามคําจํากัดความนี้ เหล็ก คอนกรีต กอนหิน เปนของแข็ง II. ของเหลว แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลมีคานอย โมเลกุลจึงเคลื่อนที่ไปมาได บาง จึงทําใหรูปทรงของของเหลวเปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่ที่บรรจุ น้ํา น้ํามัน ปรอท เปนของเหลว III. แกส แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลมีคานอยมาก จนโมเลกุลของแกสอยูหาง กันมากและเคลื่อนที่ไดสะเปะสะปะ ฟุงกระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ เชน อากาศและแกสชนิดตางๆ
  • 23. กิจกรรมที่ 1 พลังงานความรอนกับการเปลี่ยนแปลงของสาร • วัตถุประสงค 1. ทดลองและอธิบายผลของพลังงานความรอน ที่ทําใหสาร/วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลง • อุปกรณการทดลอง • วิธีการทดลอง • ตารางบันทึกผลการทดลอง • อภิปรายและสรุปผลการทดลอง • จากการทดลอง....เมื่อนํา........พบวา.........(เกิดอะไรขึ้น)