SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne
1




                                     โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
                                  เอกสารประกอบการเรี ยนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 2
                                หน่ วยการเรี ยนรู้ที่ 3 แสง      ตัวชี้วัด ว 5.1 ม.2/1,ม.2/2, ม.2/3
                       ประเภทเอกสาร            ข้ อสอบ/แบบทดสอบ              เอกสารสื่ อการสอน          อื่นๆ
              ผู้สอน ครู มณีรัตน์ กาลสุ วรรณ และครู สุกัญญา นาคอ้ น ห้ อง ม.2/1 -2/7 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2555




                                                        ใบความรู้
                                        เรื่อง การสะท้ อนและการหักเหของแสง

แสง (Light) เป็ นพลังงานที่อยูในรู ปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ซึ่งแสงมีสมบัติดงนี้
                              ่                                         ั
         1.     แสงเป็ นคลื่นตามขวาง
         2.     แสงเดินทางโดยไม่จาเป็ นต้องอาศัยตัวกลาง
         3.     แสงเดินทางในสุ ญญากาศได้ดวยความเร็ ว 3 x 108 เมตร/วินาที
                                           ้
         4.     แสงเดินทางเป็ นเส้นตรงในตัวกลางชนิดเดียวกัน
         5.     แสงจะเกิดการหักเหได้เมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน
ภาพ ( Image) เกิดจากการการสะท้อนของแสงจากวัตถุที่กระจก และการหักเหของแสงผ่านเลนส์ มี 2 ชนิดได้แก่
        1. ภาพจริง เกิดจากรังสี ของแสงตัดกันจริ ง จะเกิดภาพหน้ากระจกหรื อหลังเลนส์ ต้องมีฉากรับภาพ ภาพที่ได้
จะมีลกษณะหัวกลับกับวัตถุ เช่น ภาพที่ปรากฏบนจอภาพยนตร์ เป็ นต้น
     ั
        2. ภาพเสมือน เกิดจากรังสี ของแสงเสมือนตัดกันโดยการต่อรั งสี ของแสง จะเกิดภาพด้านหลังกระจกหรื อ
หน้าเลนส์ ไม่ตองมีฉากรับภาพ ภาพที่ได้จะมีลกษณะหัวตั้งเหมือนกับวัตถุ เช่น ภาพเกิดจากแว่นขยาย เป็ นต้น
              ้                           ั

การสะท้ อนของแสง
          การสะท้อน เมื่อแสงตกกระทบกับวัตถุแสงบางส่ วนจะสะท้อนจากวัตถุแล้วเข้าสู่ นยน์ตา จะเกิดการรับรู ้และมองเห็น
                                                                                   ั
วัตถุน้ นได้ เป็ นไปตามกฎการสะท้อนของแสง
        ั
          กฎการสะท้อนของแสง
          1. มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน
          2. รังสี ตกกระทบ รังสี สะท้อนละเส้นแนวฉากอยูในระนาบเดียวกัน
                                                      ่
2


การเกิดภาพจากกระจกเงาและเลนส์
การเกิดภาพจากกระจกเงา แบ่ งเป็ น 2 ชนิด
     1. กระจกเงาราบ
     2. กระจกเงาโค้ง แบ่งเป็ น
        - กระจกโค้งนูน หรื อกระจกนูน
        - กระจกโค้งเว้า หรื อกระจกเว้า
กระจกเงาราบ
กระจกเงาราบ คือ กระจกแบนราบ ซึ่ งมีดานหนึ่งสะท้อนแสง ดังนั้นภาพที่เกิดขึ้นจึงเป็ นภาพเสมือน อยูหลังกระจก มีระยะภาพ
                                    ้                                                          ่
เท่ากับระยะวัตถุ และขนาดภาพเท่ากับขนาดวัตถุ ภาพที่ได้จะกลับด้านกันจากขวาเป็ นซ้ายของวัตถุจริ ง




รูปแสดงการเกิดภาพจากกระจกเงาราบ


การหาจานวนภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ 2 บาน วางทามุมกัน หาได้ จากสู ตร

กาหนดให้

n = จานวนภาพที่มองเห็น
u = มุมที่กระจกเงาราบ 2 บานวางทามุมต่อกัน

ถ้าผลลัพธ์ n ที่ได้ไม่ลงตัว ให้ปัดเศษขึ้นเป็ นหนึ่งได้

ตัวอย่ างที่ 1 กระจกเงาราบ 2 บาน วางนามุม 60 องศาต่อกัน จงหาจานวนภาพที่เกิดขึ้น
วิธีคด จากสู ตร
     ิ




       = 5 ภาพ
        จานวนภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ 2 บานวางทามุมต่อกัน 60 องศา เท่ากับ 5 ภาพ ตอบ
3

กระจกโค้ง
1. กระจกเว้ า มีลกษณะสาคัญดังนี้
                 ั
         - เป็ นกระจกรวมแสง
         - เกิดทั้งภาพเสมือนและภาพจริ ง มีท้ งขนาดเล็ก ใหญ่ หรื อเท่ากับวัตถุ
                                             ั
         - รังสี ตกกระทบและรังสี สะท้อนอยูดานเดียวกับจุดศูนย์กลางความโค้ง ดังรู ป
                                           ่ ้




                  รูปแสดงรังสี ตกกระทบและรังสี สะท้ อนของกระจกเว้ า



2. กระจกนูน มีลกษณะสาคัญดังนี้
               ั
        - เป็ นกระจกกระจายแสง
        - ทาให้เกิดภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุ
        - รังสี ตกกระทบและรังสี สะท้อนอยูคนละด้านกับจุดศูนย์กลางความโค้ง ดังรู ป
                                         ่




                   รูปแสดงรังสี ตกกระทบและรังสี สะท้ อนของกระจกนูน
4




        ส่ วนประกอบของกระจกโค้ง
        1. จุดศูนย์กลางความโค้ง ตามรู ปคือจุด C เป็ นจุดที่เมื่อมีรังสี ตกกระทบกระจกผ่านจุดนี้รังสี สะท้อนจะผ่านทางเดิม
             (แต่มีทิศตรงข้าม)
        2. ขั้วกระจก ตามรู ปคือจุด O เป็ นจุดที่แบ่งครึ่ งกระจกออกเป็ น 2 ส่ วนเท่าๆ กัน
        3. จุดโฟกัส ตามรู ปคือจุด F เป็ นจุดรวมรังสี สะท้อน
        4. เส้นแกนมุขสาคัญ ในรู ปคือเส้นตรงที่ลากผ่านจุด C F O
        5. ความยาวโฟกัส f คือระยะจากจุด O ถึงจุด F
        6. รัศมีความโค้งของกระจก R จะเท่ากับ 2f

ตารางแสดงตัวอย่ างประโยชน์ ของกระจกเว้ าและกระจกนูน

                        กระจกเว้ า                                                   กระจกนูน
1. ทันตแพทย์ใช้ส่องดูฟันผูป่วย เพื่อให้เห็นภาพของฟันมี
                           ้                              1. ใช้ติดรถยนต์หรื อรถจักรยานยนต์เพื่อดูรถที่ตามมาข้าง
ขนาดใหญ่กว่าปกติ                                          หลัง และจะมองเห็นมุมที่กว้างกว่ากระจกเงาราบ
2. ใช้ในกล้องจุลทรรศน์เพื่อช่วยรวมแสงให้ตกที่แผ่นสไลด์    2. ใช้ติดตั้งบริ เวณทางเลี้ยวเพื่อช่วยให้เห็นรถที่ว่งสวนทาง
                                                                                                              ิ
เพื่อทาให้เราเห็นภาพชัดขึ้น                               หรื ออ้อมมาก็ได้



การเขียนทางเดินของแสงเพื่อหาตาแหน่ งภาพ มีหลักการเขียนดังนี้

        1. จากจุดปลายของวัตถุ ลากเส้นตรงให้ขนานกับแกนมุขสาคัญ แล้วสะท้อนผ่านจุดโฟกัสของกระจกแล้ว
สะท้อนกลับทางเดิม
        2. จากจุดปลายของวัตถุเช่นเดียวกับข้อแรก ลากเส้นตรงผ่านจุดศูนย์กลางความโค้งของกระจกแล้วสะท้อนผ่าน
ทางเดิม
        3. รังสี ที่ตดกันจะเป็ นตาแหน่งของภาพจริ ง ส่ วนตาแหน่งที่รังสี สะท้อนเหมือนตัดกันเป็ นตาแหน่งของ
                     ั
ภาพเสมือน
5

ตารางแสดงการเกิดภาพจากกระจกเว้า
6




ตารางแสดงการเกิดภาพจากกระจกนูน
7




สู ตรที่ใช้ คานวณเกียวกับกระจกโค้ง
                    ่


สู ตร =




เมื่อ     m คือ กาลังขยายของกระจก
          I คือ ขนาดหรื อความสู งของภาพ
          O คือ ขนาดหรื อความสู งของวัตถุ

หลักการกาหนดเครื่องหมาย
ในการคานวณหาตาแหน่งและชนิดของภาพจะต้องมีการกาหนดเครื่ องหมาย - และ + สาหรับปริ มาณต่างๆ ในสมการดังนี้
1. ระยะวัตถุ ( s ) ถ้าวัตถุอยูหน้ากระจก s มีเครื่ องหมายเป็ น + ถ้าวัตถุอยูหลังหลังกระจก s มีเครื่ องหมายเป็ น -
                              ่                                            ่
2. ระยะภาพ ( s' ) ภาพจริ ง s' เป็ น + ภาพเสมือ s' เป็ น -
3. ระยะโฟกัส ( f ) f ของกระจกเว้า มีเครื่ องหมาย + และ f ของกรจกนูน มีเครื่ องหมาย -
4. กาลังขยาย ( m ) ภาพจริ ง กาลังขยายเป็ น + ภาพเสมือน กาลังขยายเป็ น –

ตัวอย่ างที่ 1 วางวัตถุไว้หน้ากระจกโค้ง ห่างจากกระจก 8 เซนติเมตร เกิดภาพเสมือนห่างจากกระจก 4 เซนติเมตร จงหาความยาว
โฟกัสและชนิดของกระจก
วิธีทา
8

ตัวอย่ างที่ 2 วัตถุอยูหน้ากระจกเว้าเป็ นระยะ 10 เซนติเมตร เกิดภาพจริ งหน้ากระจกที่ระยะ 15 เซนติเมตร กระจกเว้ามีรัศมีความ
                       ่
โค้งเท่าใด
วิธีทา




ตัวอย่ างที่ 3 วางวัตถุสูง 5 เซนติเมตร ไว้หน้ากระจกโค้งเป็ นระยะ 50 เซนติเมตร ได้ภาพเสมือนขนาดสู ง 3 เซนติเมตร จงหา
ชนิดของกระจก และความยาวโฟกัสของกระจก
วิธีทา




ตัวอย่ างที่ 4 จะต้องวางวัตถุห่างจากกระจกเว้าเท่าไร จึงได้ภาพจริ งขยายเป็ น 2 เท่าของวัตถุ ถ้ารัศมีความโค้งของกระจกเป็ น
6 เซนติเมตร
วิธีทา
9

เลนส์
เลนส์ (lens) คือ วัตถุโปร่ งใสที่มีผิวหน้าโค้งทาจากแก้วหรื อพลาสติก เลนส์แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด ได้แก่ เลนส์นูนและเลนส์เว้า

    1. เลนส์ นูน
       เลนส์นูน (convex lens) คือ เลนส์ที่มีลกษณะหนาตรงกลางและบางที่ขอบ ดังรู ป
                                             ั




รูปแสดงลักษณะเลนส์ นูน




รูปแสดงส่ วนสาคัญและรังสี บางรังสี ของเลนส์

เลนส์นูนทาหน้าที่รวมแสงขนานไปตัดกันที่จุดๆ หนึ่ง ซึ่ งแนวหรื อทิศทางของแสงที่เข้ามายังเลนส์สามารถเขียนแทนด้วยรังสี ของ
แสง ถ้าแสงมาจากระยะไกลมากเรี ยกระยะนี้ว่า " ระยะอนันต์"เช่น แสงจากดวงอาทิตย์หรื อดวงดาวต่างๆ แสงจะส่ องมาเป็ นรังสี
ขนาน เมื่อรังสี ของแสงผ่านเลนส์จะมีการหักเหและไปรวมกันที่จุดๆ หนึ่งเรี ยกว่า "จุดโฟกัส (F)" ระยะจากจุดโฟกัสถึงกึ่งกลาง
เลนส์ เรี ยกว่า "ความยาวโฟกัส (f)" และเส้นตรงที่ลากผ่านจุดศูนย์กลางความโค้งของผิวทั้งสองของเลนส์เรี ยกว่า " แกนมุขสาคัญ
(principal axis)"

ภาพที่เกิดจากเลนส์ นูน
ภาพจากเลนส์นูนเป็ นภาพที่เกิดจากรังสี หกเหไปพบกันที่จุดๆ หนึ่ง ซึ่ งมีท้ งภาพจริ งและภาพเสมือนขึ้นอยูกบตาแหน่งวัตถุที่วาง
                                       ั                                 ั                           ่ ั
หน้าเลนส์ ดังรู ป
10

รูปแสดงตัวอย่างภาพจริงและภาพเสมือนที่เกิดจากเลนส์ นูน




(ก) การเกิดภาพเมื่อวัตถุอยู่ห่างเลนส์ นูนระยะไกลกว่ าความยาวโฟกัส




(ข) การเกิดภาพเมื่อวัตถุอยู่ห่างจากเลนส์ นูนที่ระยะใกล้ กว่ าความยาวโฟกัส

รูปแสดงตัวอย่างการเกิดภาพที่ตาแหน่ งต่ างๆ ของเลนส์ นูน
11




ตารางแสดงภาพทีเ่ กิดจากเลนส์ นูน
12

เลนส์ เว้ า
เลนส์เว้า (concave lens) คือ เลนส์ที่มีลกษณะบางตรงกลางและหนาที่ขอบ ดังรู ป
                                        ั




รูปแสดงลักษณะเลนส์ เว้ า

ภาพที่เกิดจากเลนส์ เว้ า
เมื่อแสงส่ องผ่านเลนส์เว้ารังสี หกเหของแสงจะกระจายออก ดังรู ป
                                 ั




                    รูปแสดงภาพที่เกิดจากเลนส์ เว้ าเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่ างๆ
13

ตารางแสดงภาพทีเ่ กิดจากเลนส์ เว้า
14

การหาชนิดและตาแหน่ งของภาพจากวิธีการคานวณ
การหาตาแหน่งภาพที่ผ่านมาใช้วิธีเขียนแผนภาพของรังสี ยังมีอีกวิธีที่ใช้หาตาแหน่งภาพคือ วิธีคานวณ ซึ่ งสู ตรที่ใช้ในการ
คานวณมีดงต่อไปนี้
         ั



สู ตร =




เมื่อ m คือ กาลังขยายของเลนส์
      I คือ ขนาดหรื อความสู งของภาพ
      O คือ ขนาดหรื อความสู งของวัตถุ

หลักการกาหนดเครื่องหมาย
ในการคานวณหาตาแหน่งและชนิดของภาพจะต้องมีการกาหนดเครื่ องหมาย - และ + สาหรับปริ มาณต่างๆ ในสมการดังนี้
1. ระยะวัตถุ ( s ) ถ้าวัตถุอยูหน้าเลนส์ s มีเครื่ องหมายเป็ น + ถ้าวัตถุอยูหลังเลนส์ s มีเครื่ องหมายเป็ น -
                              ่                                            ่
2. ระยะภาพ ( s' ) ภาพจริ ง s' เป็ น + ภาพเสมือ s' เป็ นลบ
3. ระยะโฟกัส ( f ) f ของเลนส์นูนมีเครื่ องหมาย + และ f ของเลนส์เว้ามีเครื่ องหมาย -
4. กาลังขยาย ( m ) ภาพจริ ง กาลังขยายเป็ น + ภาพเสมือน กาลังขยายเป็ น -
15

ตัวอย่ างที่ 1 วางวัตถุห่างจากเลนส์นูนเป็ นระยะ 12 เซนติเมตร ถ้าเลนส์นูนมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร จะเกิดภาพชนิดใด และ
ที่ตาแหน่งใด




ตัวอย่ างที่ 2 วางวัตถุห่างจากเลนส์นูนเป็ นระยะ 25 เซนติเมตร ปรากฏว่าเกิดภาพเสมือนห่างจากเลนส์ 15 เซนติเมตร เลนส์น้ ีเป็ น
เลนส์ชนิดใดและมีความยาวโฟกัสเท่าไร

วิธีทา จากสู ตร




ค่า f เป็ นลบ มีค่า 37.5                          เซนติเมตร เป็ นเลนส์เว้า ตอบ
16

ตัวอย่ างที่ 3 วางวัตถุห่างจากเลนส์เว้าเป็ นระยะทาง 20 เซนติเมตร เกิดภาพหน้าเลนส์และอยูห่างจากเลนส์ 8 เซนติเมตร จงหา
                                                                                       ่
ความยาวโฟกัสของเลนส์เว้าและกาลังขยายของเลนส์




  ความยาวโฟกัสของเลนส์เว้าเท่ากับ 13.3 เซนติเมตร ตอบ
หากาลังขยายใช้สูตร



แทนค่า



= -0.4
   ภาพที่เกิดเป็ นภาพเสมือน มีกาลังขยายเท่ากับ 0.4 เท่าของวัตถุ ตอบ

Contenu connexe

Tendances

แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
nik2529
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
พัน พัน
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
Jariya Jaiyot
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
sripai52
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
พัน พัน
 

Tendances (20)

พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 

En vedette

การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
พัน พัน
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
dnavaroj
 
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
Jiraporn
 
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
dnavaroj
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรงเอกสารประกอบการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรง
jatoorong
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
Sunutcha Physic
 
สรุปการเคลื่อนที่
สรุปการเคลื่อนที่สรุปการเคลื่อนที่
สรุปการเคลื่อนที่
KunKru Earn
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
Wann Rattiya
 
เรื่องที่ 13 แสง
เรื่องที่ 13  แสงเรื่องที่ 13  แสง
เรื่องที่ 13 แสง
thanakit553
 

En vedette (17)

ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
 
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรงเอกสารประกอบการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรง
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
 
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
สรุปการเคลื่อนที่
สรุปการเคลื่อนที่สรุปการเคลื่อนที่
สรุปการเคลื่อนที่
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
เรื่องที่ 13 แสง
เรื่องที่ 13  แสงเรื่องที่ 13  แสง
เรื่องที่ 13 แสง
 

Similaire à ใบความรู้เรื่องแสง

บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
parinya
 
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
thanakit553
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
dnavaroj
 
เลนส์
เลนส์เลนส์
เลนส์
kruruty
 
กล้องสองตา2
กล้องสองตา2กล้องสองตา2
กล้องสองตา2
karuehanon
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
Wilailak Luck
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
Wilailak Luck
 
ประวัติกล้อง
ประวัติกล้องประวัติกล้อง
ประวัติกล้อง
Kru_sawang
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
Apinya Phuadsing
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
nang_phy29
 

Similaire à ใบความรู้เรื่องแสง (20)

บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
บทที่ 13 แสงและทัศนูปกรณ์
 
Lesson13
Lesson13Lesson13
Lesson13
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์
 
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
 
P14
P14P14
P14
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
148
148148
148
 
เลนส์
เลนส์เลนส์
เลนส์
 
Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 
Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 
Light[1]
Light[1]Light[1]
Light[1]
 
กล้องสองตา2
กล้องสองตา2กล้องสองตา2
กล้องสองตา2
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
 
ประวัติกล้อง
ประวัติกล้องประวัติกล้อง
ประวัติกล้อง
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 

Plus de พัน พัน

Plus de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ใบความรู้เรื่องแสง

  • 1. 1 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี เอกสารประกอบการเรี ยนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 2 หน่ วยการเรี ยนรู้ที่ 3 แสง ตัวชี้วัด ว 5.1 ม.2/1,ม.2/2, ม.2/3 ประเภทเอกสาร ข้ อสอบ/แบบทดสอบ เอกสารสื่ อการสอน อื่นๆ ผู้สอน ครู มณีรัตน์ กาลสุ วรรณ และครู สุกัญญา นาคอ้ น ห้ อง ม.2/1 -2/7 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2555 ใบความรู้ เรื่อง การสะท้ อนและการหักเหของแสง แสง (Light) เป็ นพลังงานที่อยูในรู ปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ซึ่งแสงมีสมบัติดงนี้ ่ ั 1. แสงเป็ นคลื่นตามขวาง 2. แสงเดินทางโดยไม่จาเป็ นต้องอาศัยตัวกลาง 3. แสงเดินทางในสุ ญญากาศได้ดวยความเร็ ว 3 x 108 เมตร/วินาที ้ 4. แสงเดินทางเป็ นเส้นตรงในตัวกลางชนิดเดียวกัน 5. แสงจะเกิดการหักเหได้เมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน ภาพ ( Image) เกิดจากการการสะท้อนของแสงจากวัตถุที่กระจก และการหักเหของแสงผ่านเลนส์ มี 2 ชนิดได้แก่ 1. ภาพจริง เกิดจากรังสี ของแสงตัดกันจริ ง จะเกิดภาพหน้ากระจกหรื อหลังเลนส์ ต้องมีฉากรับภาพ ภาพที่ได้ จะมีลกษณะหัวกลับกับวัตถุ เช่น ภาพที่ปรากฏบนจอภาพยนตร์ เป็ นต้น ั 2. ภาพเสมือน เกิดจากรังสี ของแสงเสมือนตัดกันโดยการต่อรั งสี ของแสง จะเกิดภาพด้านหลังกระจกหรื อ หน้าเลนส์ ไม่ตองมีฉากรับภาพ ภาพที่ได้จะมีลกษณะหัวตั้งเหมือนกับวัตถุ เช่น ภาพเกิดจากแว่นขยาย เป็ นต้น ้ ั การสะท้ อนของแสง การสะท้อน เมื่อแสงตกกระทบกับวัตถุแสงบางส่ วนจะสะท้อนจากวัตถุแล้วเข้าสู่ นยน์ตา จะเกิดการรับรู ้และมองเห็น ั วัตถุน้ นได้ เป็ นไปตามกฎการสะท้อนของแสง ั กฎการสะท้อนของแสง 1. มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน 2. รังสี ตกกระทบ รังสี สะท้อนละเส้นแนวฉากอยูในระนาบเดียวกัน ่
  • 2. 2 การเกิดภาพจากกระจกเงาและเลนส์ การเกิดภาพจากกระจกเงา แบ่ งเป็ น 2 ชนิด 1. กระจกเงาราบ 2. กระจกเงาโค้ง แบ่งเป็ น - กระจกโค้งนูน หรื อกระจกนูน - กระจกโค้งเว้า หรื อกระจกเว้า กระจกเงาราบ กระจกเงาราบ คือ กระจกแบนราบ ซึ่ งมีดานหนึ่งสะท้อนแสง ดังนั้นภาพที่เกิดขึ้นจึงเป็ นภาพเสมือน อยูหลังกระจก มีระยะภาพ ้ ่ เท่ากับระยะวัตถุ และขนาดภาพเท่ากับขนาดวัตถุ ภาพที่ได้จะกลับด้านกันจากขวาเป็ นซ้ายของวัตถุจริ ง รูปแสดงการเกิดภาพจากกระจกเงาราบ การหาจานวนภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ 2 บาน วางทามุมกัน หาได้ จากสู ตร กาหนดให้ n = จานวนภาพที่มองเห็น u = มุมที่กระจกเงาราบ 2 บานวางทามุมต่อกัน ถ้าผลลัพธ์ n ที่ได้ไม่ลงตัว ให้ปัดเศษขึ้นเป็ นหนึ่งได้ ตัวอย่ างที่ 1 กระจกเงาราบ 2 บาน วางนามุม 60 องศาต่อกัน จงหาจานวนภาพที่เกิดขึ้น วิธีคด จากสู ตร ิ = 5 ภาพ จานวนภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ 2 บานวางทามุมต่อกัน 60 องศา เท่ากับ 5 ภาพ ตอบ
  • 3. 3 กระจกโค้ง 1. กระจกเว้ า มีลกษณะสาคัญดังนี้ ั - เป็ นกระจกรวมแสง - เกิดทั้งภาพเสมือนและภาพจริ ง มีท้ งขนาดเล็ก ใหญ่ หรื อเท่ากับวัตถุ ั - รังสี ตกกระทบและรังสี สะท้อนอยูดานเดียวกับจุดศูนย์กลางความโค้ง ดังรู ป ่ ้ รูปแสดงรังสี ตกกระทบและรังสี สะท้ อนของกระจกเว้ า 2. กระจกนูน มีลกษณะสาคัญดังนี้ ั - เป็ นกระจกกระจายแสง - ทาให้เกิดภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุ - รังสี ตกกระทบและรังสี สะท้อนอยูคนละด้านกับจุดศูนย์กลางความโค้ง ดังรู ป ่ รูปแสดงรังสี ตกกระทบและรังสี สะท้ อนของกระจกนูน
  • 4. 4 ส่ วนประกอบของกระจกโค้ง 1. จุดศูนย์กลางความโค้ง ตามรู ปคือจุด C เป็ นจุดที่เมื่อมีรังสี ตกกระทบกระจกผ่านจุดนี้รังสี สะท้อนจะผ่านทางเดิม (แต่มีทิศตรงข้าม) 2. ขั้วกระจก ตามรู ปคือจุด O เป็ นจุดที่แบ่งครึ่ งกระจกออกเป็ น 2 ส่ วนเท่าๆ กัน 3. จุดโฟกัส ตามรู ปคือจุด F เป็ นจุดรวมรังสี สะท้อน 4. เส้นแกนมุขสาคัญ ในรู ปคือเส้นตรงที่ลากผ่านจุด C F O 5. ความยาวโฟกัส f คือระยะจากจุด O ถึงจุด F 6. รัศมีความโค้งของกระจก R จะเท่ากับ 2f ตารางแสดงตัวอย่ างประโยชน์ ของกระจกเว้ าและกระจกนูน กระจกเว้ า กระจกนูน 1. ทันตแพทย์ใช้ส่องดูฟันผูป่วย เพื่อให้เห็นภาพของฟันมี ้ 1. ใช้ติดรถยนต์หรื อรถจักรยานยนต์เพื่อดูรถที่ตามมาข้าง ขนาดใหญ่กว่าปกติ หลัง และจะมองเห็นมุมที่กว้างกว่ากระจกเงาราบ 2. ใช้ในกล้องจุลทรรศน์เพื่อช่วยรวมแสงให้ตกที่แผ่นสไลด์ 2. ใช้ติดตั้งบริ เวณทางเลี้ยวเพื่อช่วยให้เห็นรถที่ว่งสวนทาง ิ เพื่อทาให้เราเห็นภาพชัดขึ้น หรื ออ้อมมาก็ได้ การเขียนทางเดินของแสงเพื่อหาตาแหน่ งภาพ มีหลักการเขียนดังนี้ 1. จากจุดปลายของวัตถุ ลากเส้นตรงให้ขนานกับแกนมุขสาคัญ แล้วสะท้อนผ่านจุดโฟกัสของกระจกแล้ว สะท้อนกลับทางเดิม 2. จากจุดปลายของวัตถุเช่นเดียวกับข้อแรก ลากเส้นตรงผ่านจุดศูนย์กลางความโค้งของกระจกแล้วสะท้อนผ่าน ทางเดิม 3. รังสี ที่ตดกันจะเป็ นตาแหน่งของภาพจริ ง ส่ วนตาแหน่งที่รังสี สะท้อนเหมือนตัดกันเป็ นตาแหน่งของ ั ภาพเสมือน
  • 7. 7 สู ตรที่ใช้ คานวณเกียวกับกระจกโค้ง ่ สู ตร = เมื่อ m คือ กาลังขยายของกระจก I คือ ขนาดหรื อความสู งของภาพ O คือ ขนาดหรื อความสู งของวัตถุ หลักการกาหนดเครื่องหมาย ในการคานวณหาตาแหน่งและชนิดของภาพจะต้องมีการกาหนดเครื่ องหมาย - และ + สาหรับปริ มาณต่างๆ ในสมการดังนี้ 1. ระยะวัตถุ ( s ) ถ้าวัตถุอยูหน้ากระจก s มีเครื่ องหมายเป็ น + ถ้าวัตถุอยูหลังหลังกระจก s มีเครื่ องหมายเป็ น - ่ ่ 2. ระยะภาพ ( s' ) ภาพจริ ง s' เป็ น + ภาพเสมือ s' เป็ น - 3. ระยะโฟกัส ( f ) f ของกระจกเว้า มีเครื่ องหมาย + และ f ของกรจกนูน มีเครื่ องหมาย - 4. กาลังขยาย ( m ) ภาพจริ ง กาลังขยายเป็ น + ภาพเสมือน กาลังขยายเป็ น – ตัวอย่ างที่ 1 วางวัตถุไว้หน้ากระจกโค้ง ห่างจากกระจก 8 เซนติเมตร เกิดภาพเสมือนห่างจากกระจก 4 เซนติเมตร จงหาความยาว โฟกัสและชนิดของกระจก วิธีทา
  • 8. 8 ตัวอย่ างที่ 2 วัตถุอยูหน้ากระจกเว้าเป็ นระยะ 10 เซนติเมตร เกิดภาพจริ งหน้ากระจกที่ระยะ 15 เซนติเมตร กระจกเว้ามีรัศมีความ ่ โค้งเท่าใด วิธีทา ตัวอย่ างที่ 3 วางวัตถุสูง 5 เซนติเมตร ไว้หน้ากระจกโค้งเป็ นระยะ 50 เซนติเมตร ได้ภาพเสมือนขนาดสู ง 3 เซนติเมตร จงหา ชนิดของกระจก และความยาวโฟกัสของกระจก วิธีทา ตัวอย่ างที่ 4 จะต้องวางวัตถุห่างจากกระจกเว้าเท่าไร จึงได้ภาพจริ งขยายเป็ น 2 เท่าของวัตถุ ถ้ารัศมีความโค้งของกระจกเป็ น 6 เซนติเมตร วิธีทา
  • 9. 9 เลนส์ เลนส์ (lens) คือ วัตถุโปร่ งใสที่มีผิวหน้าโค้งทาจากแก้วหรื อพลาสติก เลนส์แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด ได้แก่ เลนส์นูนและเลนส์เว้า 1. เลนส์ นูน เลนส์นูน (convex lens) คือ เลนส์ที่มีลกษณะหนาตรงกลางและบางที่ขอบ ดังรู ป ั รูปแสดงลักษณะเลนส์ นูน รูปแสดงส่ วนสาคัญและรังสี บางรังสี ของเลนส์ เลนส์นูนทาหน้าที่รวมแสงขนานไปตัดกันที่จุดๆ หนึ่ง ซึ่ งแนวหรื อทิศทางของแสงที่เข้ามายังเลนส์สามารถเขียนแทนด้วยรังสี ของ แสง ถ้าแสงมาจากระยะไกลมากเรี ยกระยะนี้ว่า " ระยะอนันต์"เช่น แสงจากดวงอาทิตย์หรื อดวงดาวต่างๆ แสงจะส่ องมาเป็ นรังสี ขนาน เมื่อรังสี ของแสงผ่านเลนส์จะมีการหักเหและไปรวมกันที่จุดๆ หนึ่งเรี ยกว่า "จุดโฟกัส (F)" ระยะจากจุดโฟกัสถึงกึ่งกลาง เลนส์ เรี ยกว่า "ความยาวโฟกัส (f)" และเส้นตรงที่ลากผ่านจุดศูนย์กลางความโค้งของผิวทั้งสองของเลนส์เรี ยกว่า " แกนมุขสาคัญ (principal axis)" ภาพที่เกิดจากเลนส์ นูน ภาพจากเลนส์นูนเป็ นภาพที่เกิดจากรังสี หกเหไปพบกันที่จุดๆ หนึ่ง ซึ่ งมีท้ งภาพจริ งและภาพเสมือนขึ้นอยูกบตาแหน่งวัตถุที่วาง ั ั ่ ั หน้าเลนส์ ดังรู ป
  • 10. 10 รูปแสดงตัวอย่างภาพจริงและภาพเสมือนที่เกิดจากเลนส์ นูน (ก) การเกิดภาพเมื่อวัตถุอยู่ห่างเลนส์ นูนระยะไกลกว่ าความยาวโฟกัส (ข) การเกิดภาพเมื่อวัตถุอยู่ห่างจากเลนส์ นูนที่ระยะใกล้ กว่ าความยาวโฟกัส รูปแสดงตัวอย่างการเกิดภาพที่ตาแหน่ งต่ างๆ ของเลนส์ นูน
  • 12. 12 เลนส์ เว้ า เลนส์เว้า (concave lens) คือ เลนส์ที่มีลกษณะบางตรงกลางและหนาที่ขอบ ดังรู ป ั รูปแสดงลักษณะเลนส์ เว้ า ภาพที่เกิดจากเลนส์ เว้ า เมื่อแสงส่ องผ่านเลนส์เว้ารังสี หกเหของแสงจะกระจายออก ดังรู ป ั รูปแสดงภาพที่เกิดจากเลนส์ เว้ าเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่ างๆ
  • 14. 14 การหาชนิดและตาแหน่ งของภาพจากวิธีการคานวณ การหาตาแหน่งภาพที่ผ่านมาใช้วิธีเขียนแผนภาพของรังสี ยังมีอีกวิธีที่ใช้หาตาแหน่งภาพคือ วิธีคานวณ ซึ่ งสู ตรที่ใช้ในการ คานวณมีดงต่อไปนี้ ั สู ตร = เมื่อ m คือ กาลังขยายของเลนส์ I คือ ขนาดหรื อความสู งของภาพ O คือ ขนาดหรื อความสู งของวัตถุ หลักการกาหนดเครื่องหมาย ในการคานวณหาตาแหน่งและชนิดของภาพจะต้องมีการกาหนดเครื่ องหมาย - และ + สาหรับปริ มาณต่างๆ ในสมการดังนี้ 1. ระยะวัตถุ ( s ) ถ้าวัตถุอยูหน้าเลนส์ s มีเครื่ องหมายเป็ น + ถ้าวัตถุอยูหลังเลนส์ s มีเครื่ องหมายเป็ น - ่ ่ 2. ระยะภาพ ( s' ) ภาพจริ ง s' เป็ น + ภาพเสมือ s' เป็ นลบ 3. ระยะโฟกัส ( f ) f ของเลนส์นูนมีเครื่ องหมาย + และ f ของเลนส์เว้ามีเครื่ องหมาย - 4. กาลังขยาย ( m ) ภาพจริ ง กาลังขยายเป็ น + ภาพเสมือน กาลังขยายเป็ น -
  • 15. 15 ตัวอย่ างที่ 1 วางวัตถุห่างจากเลนส์นูนเป็ นระยะ 12 เซนติเมตร ถ้าเลนส์นูนมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร จะเกิดภาพชนิดใด และ ที่ตาแหน่งใด ตัวอย่ างที่ 2 วางวัตถุห่างจากเลนส์นูนเป็ นระยะ 25 เซนติเมตร ปรากฏว่าเกิดภาพเสมือนห่างจากเลนส์ 15 เซนติเมตร เลนส์น้ ีเป็ น เลนส์ชนิดใดและมีความยาวโฟกัสเท่าไร วิธีทา จากสู ตร ค่า f เป็ นลบ มีค่า 37.5 เซนติเมตร เป็ นเลนส์เว้า ตอบ
  • 16. 16 ตัวอย่ างที่ 3 วางวัตถุห่างจากเลนส์เว้าเป็ นระยะทาง 20 เซนติเมตร เกิดภาพหน้าเลนส์และอยูห่างจากเลนส์ 8 เซนติเมตร จงหา ่ ความยาวโฟกัสของเลนส์เว้าและกาลังขยายของเลนส์ ความยาวโฟกัสของเลนส์เว้าเท่ากับ 13.3 เซนติเมตร ตอบ หากาลังขยายใช้สูตร แทนค่า = -0.4 ภาพที่เกิดเป็ นภาพเสมือน มีกาลังขยายเท่ากับ 0.4 เท่าของวัตถุ ตอบ