SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne
สื่ อประกอบการเรี ยนการสอน
          เรื่ อง
     ประโยคความซ้อน
จัดทาโดย คุณครู ฐาปกรณ์ กระแจะจันทร์
  ครู ปฏิบติการสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย
          ั
    โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุรี
ประโยคความซ้ อน (สังกรประโยค) คือประโยคที่ประกอบด้วยประโยค
หลักและประโยคย่อย (มุขยประโยค) มารวมเป็ นประโยคเดียวกัน โดยมีประ
พันธสรรพนาม (ผู, ที่, ซึ่ง, อัน) ประพันธวิเศษณ์ หรื อบุพบทเป็ นบทเชื่อม
               ้
(อนุประโยค)

       -ประโยคหลัก (มุขยประโยค) คือ ประโยคที่เป็ นใจความสาคัญที่
ต้องการสื่ อสาร
       -ประโยคย่อย (อนุประโยค) คือ ประโยคที่ทาหน้าที่ขยายความ
ประโยคหลักให้สมบูรณ์ยงขึ้น
                     ิ่
ตัวอย่าง

ประโยคความซ้ อน ประโยคหลัก ประโยคย่ อย                               ตัวเชื่อม
                (มุขยประโยค) (อนุประโยค)
ฉันรักเพื่อนที่มีนิสย
                    ั   ฉันรักเพื่อน     ที่มีนิสยเรียบร้ อย
                                                 ั             ที่
เรียบร้ อย                                                     (แทนคาว่า"เพื่อน")

พ่อแม่ทางานหนักเพื่อ    พ่อแม่ทางานหนัก ลูกจะมีอนาคตสดใส       เพื่อ
ลูกจะมีอนาคตสดใส                        (ทางานหนักเพื่ออะไร)   (ขยายวิเศษณ์"หนัก")

เขาบอกให้               เขาบอก           ฉันลุกขึ ้นยืนทันที   ให้
ฉันลุกขึ ้นยืนทันที                      (ขยายกริยา"บอก"
                                         บอกว่าอย่างไร)
่
          -ประโยคย่อย (อนุประโยค) ที่ซอนอยูน้ ีอาจทาหน้าที่เป็ นประธาน บทขยายประธาน
                                      ้
กรรม หรื อบทขยายกรรมของประโยคหลัก (มุขยประโยค)
อนุประโยคแบ่ งออกเป็ น ๓ อย่ าง คือ
     ๓.๑ นามานุประโยค หมายถึง ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็ นประธานหรื อกรรมของประโยค
 เช่น
 ประโยคความซ้ อน            ประโยคหลัก            ประโยคย่ อย            ตัวเชื่อม
                            (มุขยประโยค)          (นามานุประโยค)
 นายกรัฐมนตรี พดว่าู        นายกรัฐมนตรี พด
                                          ู       เยาวชนไทยต้องมี        ว่า
 เยาวชนไทยต้องมีความ                              ความซื่อสัตย์สุจริ ต
 ซื่อสัตย์สุจริ ต                                 (เป็ นกรรม)
 พี่สาวทาให้นองชายเลิกเล่น พี่สาว
                 ้                                ให้นองชายเลิกเล่น
                                                        ้                ให้
 เกม                                              เกม
๓.๒ คุณานุประโยค หมายถึง อนุประโยคทีทาหน้ าทีเ่ หมือนคาวิเศษณ์ เพือขยายนาม
                                             ่                        ่
หรือสรรพนามให้ ได้ ความชัดเจนยิงขึนทาหน้ าทีเ่ ช่ นเดียวกับวิเศษ คุณานุประโยคมัก
                                 ่ ้
จะใช้ ประพันธสรรพนาม(ที่ ซึ่ง อัน ว่ า ผู้) เป็ นตัวเชื่อม เช่ น
  ประโยคความซ้ อน              ประโยคหลัก               ประโยคย่ อย         ตัวเชื่อม
                               (มุขยประโยค)             (คุณานุประโยค)

  บ้ านสวยที่อยูบนภูเขา
                ่              บ้ านสวยเป็ นของนักร้ อง ที่อยูบนภูเขา
                                                             ่              ที่
  นันเป็ นของนักร้ องชื่อดัง
     ้                         ชื่อดัง                  (บ้ านอยูบนภูเขา)
                                                                 ่

  ครูทกคนไม่ชอบนักเรียน
       ุ                       ครูทกคนไม่ชอบ
                                    ุ                   ที่แต่งตัวไม่สภาพ
                                                                      ุ     ที่
  ที่แต่งตัวไม่สภาพ
                ุ              นักเรียน                 เรียบร้ อย
  เรียบร้ อย
  คนซึงไปรับรางวัลเป็ น
       ่                       คนเป็ นน้ องสาวของ       ซึงไปรับรางวัล
                                                          ่                 ซึง
                                                                              ่
  น้ องสาวของฉันเอง            ฉันเอง                   (คนไปรับรางวัล)
๓.๓ วิเศษณานุประโยค คือ อนุประโยคที่ทาหน้าที่ขยายกริ ยาหรื อวิเศษณ์
เรี ยกว่า วิเศษณานุประโยค โดยสังเกตจากสันธาน เมื่อ จน เพราะ ราวกับ ระหว่างที่ฯลฯ
เช่น
   ประโยคความซ้ อน        ประโยคหลัก          ประโยคย่ อย       ตัวเชื่อม
                          (มุขยประโยค)        (วิเศษณานุประโยค)
   นักเรียนถูกลงโทษไม่ให้ นักเรียนถูกลงโทษ ไม่ให้ ออกนอกบริเวณ       -
   ออกนอกบริเวณ                            โรงเรียน
   โรงเรียน
   หล่อนไปทางานตังแต่ หล่อนไปทางาน
                    ้                      ตังแต่ฟ้าเพิ่งจะสาง ๆ ตังแต่
                                             ้                     ้
   ฟ้ าเพิ่งจะสาง ๆ                        เท่านันเอง
                                                  ้
   เท่านันเอง
           ้
   ข้ อสังเกต ประโยคความซ้อนลักษณะนี้ ประโยคผลจะมาก่อนประโยคเหตุ
ข้ อสังเกต ประโยคความซ้อน
              -ถ้ามีอนุประโยคทาหน้าที่เป็ นนาม
                     ่
หรื อมีคา "ว่า" อยูในประโยค
เรี ยกว่า นามานุประโยค
              - ถ้าอนุประโยคมีคาว่า "ที่" "ซึ่ ง"
            ่
"อัน" อยูหน้าประโยค
เรี ยกว่า คุณานุประโยค
              - ถ้าอนุประโยคมีคาว่า "เมื่อ"
                    ่ ่
"เพราะ" "แม้วา" อยูหน้าประโยค
เรี ยกว่า วิเศษณานุประโยค
คาถามท้ายบท
๑.ข้อใดคือความหมายของ มุขยประโยค ที่ถูกต้อง?
ก.   ประโยคที่เป็ นใจความสาคัญที่ตองการสื่ อสาร
                                   ้
ข.   ประโยคที่ทาหน้าที่ขยายความประโยคหลักให้สมบูรณ์ยงขึ้น
                                                    ิ่
ค.   ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็ นประธานหรื อกรรมของประโยค
ง.   อนุประโยคที่ทาหน้าที่ขยายกริ ยาหรื อวิเศษณ์
๒.ประโยคความซ้อนเรี ยกเป็ นชื่อในภาษาบาลีสันสกฤต ในข้อใด ?
ก. เอกรรถประโยค
ข. อเนกรรถประโยค
ค. สังกรสังโยค
ง. มุขยประโยค
๓.ประโยคใดเป็ นประโยคความซ้อน?
ก. เด็ก ๆ กาลังช่วยกันทางานในห้อง
ข. สุเทพร้องเพลงเพราะกว่าสมบัติ
ค. ตารวจที่สอบปากคาแดงเป็ นพ่อสุเทพ
ง. น้ าไหลบ่าเข้าท่วมบ้านเรื อนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่
๔.ประโยคความซ้อนมีกี่ชนิด?
ก. ๑ ชนิด
ข. ๒ ชนิด
ค. ๓ ชนิด
ง. ๔ ชนิด
๕.“เด็กอ้วนที่เดินริ มถนนคนนั้นเป็ นดาราภาพยนตร์ ” จัดเป็ นประโยคความ
ซ้อนชนิดใด?
ก. นามานุประโยค
ข. คุณานุประโยค
ค. วิเศษณานุประโยค
ง. มุขยประโยค
๖.ประโยคในข้อใดเป็ นประโยคความซ้อนชนิดวิเศษณานุประโยค?
 ก. ต้นไม้ลมเพราะคนแอบตัด
            ้
 ข. เพราะฝนตกเขาจึงมาสอบไม่ทน       ั
 ค. แมวที่มีนยน์ตาสี ฟ้าจับจิ้งจกเก่งมาก
              ั
 ง. ฉันเห็นเขาเมื่อเขาชูคบเพลิงขึ้น
๗.“เขาพูดเช่ นนี้ เป็ นการส่ อนิสัยชัว”ประโยคนี้ จัดเป็ นประโยคความ
                                     ่
ซ้อนชนิดใด ?
ก. นามานุประโยค
ข. คุณานุประโยค
ค. วิเศษณานุประโยค
ง. อนุประโยค

 ๘.“เขาดีจนฉันเกรงใจ”จัดเป็ นประโยคในข้อใด?
 ก. นามานุประโยค
 ข. คุณานุประโยค
 ค. วิเศษณานุประโยค
 ง. อนุประโยค
่
๙.“ อาหารสาหรับนักเรียนเล่นละครมีอยูในห้อง”จัดเป็ นประโยคความซ้อน
ชนิดนามานุประโยค เพราะข้อสังเกตข้อใด ?
ก.มีคาเชื่อม สาหรับ
ข. มีคากริ ยา ๒ คาคือ เล่นละคร และ มีอยู่
ค. มีมุขยประโยค นักเรี ยนเล่นละคร ทาหน้าที่ขยายประธาน คือ อาหาร
ง. มี อนุประโยค นักเรี ยนเล่นละคร ทาหน้าที่ขยายประธาน คือ อาหาร

๑๐.ข้อสังเกตของประโยคความซ้อนชนิดคุณานุประโยค คือข้อใด ?
 ก. มี ที่ ซึ่ง อัน นาหน้าคานามและคาสรรพนาม
 ข. มี ที่ ซึ่ง อัน ตามหลังคานามและคาสรรพนาม
 ค. มี ที่ ซึ่ง อัน นาหน้าคากริ ยาและคาวิเศษณ์
 ง. มี ที่ ซึ่ง อัน ตามหลังคากริ ยาและคาวิเศษณ์
เฉลย
๑. ก
๒. ค
๓. ค
๔. ค
๕. ค
๖. ง
๗. ก
๘. ก
๙. ง
๑O. ข

Contenu connexe

Tendances

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6sapatchanook
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 

Tendances (20)

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 

En vedette

ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 

En vedette (7)

ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 

Similaire à ประโยคความซ้อน

ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์คุณานนต์ ทองกรด
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์Wataustin Austin
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์Tongsamut vorasan
 
บาลี 11 80
บาลี 11 80บาลี 11 80
บาลี 11 80Rose Banioki
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)Nongkran Jarurnphong
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6thaneerat
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยthaneerat
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2Sitthisak Thapsri
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5ปวริศา
 
Adjectives
AdjectivesAdjectives
AdjectivesKrooTa
 

Similaire à ประโยคความซ้อน (20)

ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 
วิช
วิชวิช
วิช
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
 
บาลี 11 80
บาลี 11 80บาลี 11 80
บาลี 11 80
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
 
Adjectives
AdjectivesAdjectives
Adjectives
 
วรรคตอน1
วรรคตอน1วรรคตอน1
วรรคตอน1
 

Plus de พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

Plus de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ประโยคความซ้อน

  • 1. สื่ อประกอบการเรี ยนการสอน เรื่ อง ประโยคความซ้อน จัดทาโดย คุณครู ฐาปกรณ์ กระแจะจันทร์ ครู ปฏิบติการสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ั โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุรี
  • 2. ประโยคความซ้ อน (สังกรประโยค) คือประโยคที่ประกอบด้วยประโยค หลักและประโยคย่อย (มุขยประโยค) มารวมเป็ นประโยคเดียวกัน โดยมีประ พันธสรรพนาม (ผู, ที่, ซึ่ง, อัน) ประพันธวิเศษณ์ หรื อบุพบทเป็ นบทเชื่อม ้ (อนุประโยค) -ประโยคหลัก (มุขยประโยค) คือ ประโยคที่เป็ นใจความสาคัญที่ ต้องการสื่ อสาร -ประโยคย่อย (อนุประโยค) คือ ประโยคที่ทาหน้าที่ขยายความ ประโยคหลักให้สมบูรณ์ยงขึ้น ิ่
  • 3. ตัวอย่าง ประโยคความซ้ อน ประโยคหลัก ประโยคย่ อย ตัวเชื่อม (มุขยประโยค) (อนุประโยค) ฉันรักเพื่อนที่มีนิสย ั ฉันรักเพื่อน ที่มีนิสยเรียบร้ อย ั ที่ เรียบร้ อย (แทนคาว่า"เพื่อน") พ่อแม่ทางานหนักเพื่อ พ่อแม่ทางานหนัก ลูกจะมีอนาคตสดใส เพื่อ ลูกจะมีอนาคตสดใส (ทางานหนักเพื่ออะไร) (ขยายวิเศษณ์"หนัก") เขาบอกให้ เขาบอก ฉันลุกขึ ้นยืนทันที ให้ ฉันลุกขึ ้นยืนทันที (ขยายกริยา"บอก" บอกว่าอย่างไร)
  • 4. -ประโยคย่อย (อนุประโยค) ที่ซอนอยูน้ ีอาจทาหน้าที่เป็ นประธาน บทขยายประธาน ้ กรรม หรื อบทขยายกรรมของประโยคหลัก (มุขยประโยค) อนุประโยคแบ่ งออกเป็ น ๓ อย่ าง คือ ๓.๑ นามานุประโยค หมายถึง ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็ นประธานหรื อกรรมของประโยค เช่น ประโยคความซ้ อน ประโยคหลัก ประโยคย่ อย ตัวเชื่อม (มุขยประโยค) (นามานุประโยค) นายกรัฐมนตรี พดว่าู นายกรัฐมนตรี พด ู เยาวชนไทยต้องมี ว่า เยาวชนไทยต้องมีความ ความซื่อสัตย์สุจริ ต ซื่อสัตย์สุจริ ต (เป็ นกรรม) พี่สาวทาให้นองชายเลิกเล่น พี่สาว ้ ให้นองชายเลิกเล่น ้ ให้ เกม เกม
  • 5. ๓.๒ คุณานุประโยค หมายถึง อนุประโยคทีทาหน้ าทีเ่ หมือนคาวิเศษณ์ เพือขยายนาม ่ ่ หรือสรรพนามให้ ได้ ความชัดเจนยิงขึนทาหน้ าทีเ่ ช่ นเดียวกับวิเศษ คุณานุประโยคมัก ่ ้ จะใช้ ประพันธสรรพนาม(ที่ ซึ่ง อัน ว่ า ผู้) เป็ นตัวเชื่อม เช่ น ประโยคความซ้ อน ประโยคหลัก ประโยคย่ อย ตัวเชื่อม (มุขยประโยค) (คุณานุประโยค) บ้ านสวยที่อยูบนภูเขา ่ บ้ านสวยเป็ นของนักร้ อง ที่อยูบนภูเขา ่ ที่ นันเป็ นของนักร้ องชื่อดัง ้ ชื่อดัง (บ้ านอยูบนภูเขา) ่ ครูทกคนไม่ชอบนักเรียน ุ ครูทกคนไม่ชอบ ุ ที่แต่งตัวไม่สภาพ ุ ที่ ที่แต่งตัวไม่สภาพ ุ นักเรียน เรียบร้ อย เรียบร้ อย คนซึงไปรับรางวัลเป็ น ่ คนเป็ นน้ องสาวของ ซึงไปรับรางวัล ่ ซึง ่ น้ องสาวของฉันเอง ฉันเอง (คนไปรับรางวัล)
  • 6. ๓.๓ วิเศษณานุประโยค คือ อนุประโยคที่ทาหน้าที่ขยายกริ ยาหรื อวิเศษณ์ เรี ยกว่า วิเศษณานุประโยค โดยสังเกตจากสันธาน เมื่อ จน เพราะ ราวกับ ระหว่างที่ฯลฯ เช่น ประโยคความซ้ อน ประโยคหลัก ประโยคย่ อย ตัวเชื่อม (มุขยประโยค) (วิเศษณานุประโยค) นักเรียนถูกลงโทษไม่ให้ นักเรียนถูกลงโทษ ไม่ให้ ออกนอกบริเวณ - ออกนอกบริเวณ โรงเรียน โรงเรียน หล่อนไปทางานตังแต่ หล่อนไปทางาน ้ ตังแต่ฟ้าเพิ่งจะสาง ๆ ตังแต่ ้ ้ ฟ้ าเพิ่งจะสาง ๆ เท่านันเอง ้ เท่านันเอง ้ ข้ อสังเกต ประโยคความซ้อนลักษณะนี้ ประโยคผลจะมาก่อนประโยคเหตุ
  • 7. ข้ อสังเกต ประโยคความซ้อน -ถ้ามีอนุประโยคทาหน้าที่เป็ นนาม ่ หรื อมีคา "ว่า" อยูในประโยค เรี ยกว่า นามานุประโยค - ถ้าอนุประโยคมีคาว่า "ที่" "ซึ่ ง" ่ "อัน" อยูหน้าประโยค เรี ยกว่า คุณานุประโยค - ถ้าอนุประโยคมีคาว่า "เมื่อ" ่ ่ "เพราะ" "แม้วา" อยูหน้าประโยค เรี ยกว่า วิเศษณานุประโยค
  • 9. ๑.ข้อใดคือความหมายของ มุขยประโยค ที่ถูกต้อง? ก. ประโยคที่เป็ นใจความสาคัญที่ตองการสื่ อสาร ้ ข. ประโยคที่ทาหน้าที่ขยายความประโยคหลักให้สมบูรณ์ยงขึ้น ิ่ ค. ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็ นประธานหรื อกรรมของประโยค ง. อนุประโยคที่ทาหน้าที่ขยายกริ ยาหรื อวิเศษณ์ ๒.ประโยคความซ้อนเรี ยกเป็ นชื่อในภาษาบาลีสันสกฤต ในข้อใด ? ก. เอกรรถประโยค ข. อเนกรรถประโยค ค. สังกรสังโยค ง. มุขยประโยค
  • 10. ๓.ประโยคใดเป็ นประโยคความซ้อน? ก. เด็ก ๆ กาลังช่วยกันทางานในห้อง ข. สุเทพร้องเพลงเพราะกว่าสมบัติ ค. ตารวจที่สอบปากคาแดงเป็ นพ่อสุเทพ ง. น้ าไหลบ่าเข้าท่วมบ้านเรื อนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ ๔.ประโยคความซ้อนมีกี่ชนิด? ก. ๑ ชนิด ข. ๒ ชนิด ค. ๓ ชนิด ง. ๔ ชนิด
  • 11. ๕.“เด็กอ้วนที่เดินริ มถนนคนนั้นเป็ นดาราภาพยนตร์ ” จัดเป็ นประโยคความ ซ้อนชนิดใด? ก. นามานุประโยค ข. คุณานุประโยค ค. วิเศษณานุประโยค ง. มุขยประโยค ๖.ประโยคในข้อใดเป็ นประโยคความซ้อนชนิดวิเศษณานุประโยค? ก. ต้นไม้ลมเพราะคนแอบตัด ้ ข. เพราะฝนตกเขาจึงมาสอบไม่ทน ั ค. แมวที่มีนยน์ตาสี ฟ้าจับจิ้งจกเก่งมาก ั ง. ฉันเห็นเขาเมื่อเขาชูคบเพลิงขึ้น
  • 12. ๗.“เขาพูดเช่ นนี้ เป็ นการส่ อนิสัยชัว”ประโยคนี้ จัดเป็ นประโยคความ ่ ซ้อนชนิดใด ? ก. นามานุประโยค ข. คุณานุประโยค ค. วิเศษณานุประโยค ง. อนุประโยค ๘.“เขาดีจนฉันเกรงใจ”จัดเป็ นประโยคในข้อใด? ก. นามานุประโยค ข. คุณานุประโยค ค. วิเศษณานุประโยค ง. อนุประโยค
  • 13. ่ ๙.“ อาหารสาหรับนักเรียนเล่นละครมีอยูในห้อง”จัดเป็ นประโยคความซ้อน ชนิดนามานุประโยค เพราะข้อสังเกตข้อใด ? ก.มีคาเชื่อม สาหรับ ข. มีคากริ ยา ๒ คาคือ เล่นละคร และ มีอยู่ ค. มีมุขยประโยค นักเรี ยนเล่นละคร ทาหน้าที่ขยายประธาน คือ อาหาร ง. มี อนุประโยค นักเรี ยนเล่นละคร ทาหน้าที่ขยายประธาน คือ อาหาร ๑๐.ข้อสังเกตของประโยคความซ้อนชนิดคุณานุประโยค คือข้อใด ? ก. มี ที่ ซึ่ง อัน นาหน้าคานามและคาสรรพนาม ข. มี ที่ ซึ่ง อัน ตามหลังคานามและคาสรรพนาม ค. มี ที่ ซึ่ง อัน นาหน้าคากริ ยาและคาวิเศษณ์ ง. มี ที่ ซึ่ง อัน ตามหลังคากริ ยาและคาวิเศษณ์
  • 15. ๑. ก ๒. ค ๓. ค ๔. ค ๕. ค
  • 16. ๖. ง ๗. ก ๘. ก ๙. ง ๑O. ข