SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  33
Télécharger pour lire hors ligne
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง

                         จัดทาโดย

          1.ด.ญ.เจนจิรา นุชนิ่ม           เลขที่ 17

          2.ด.ญ.ชลัญธร สืบกลัด            เลขที่ 18

          3.ด.ญ.ฐิตภา โพธิ์เงิน
                   ิ                      เลขที่ 19

          4.ด.ญ.ดารุณี โพธิ์ด้วง          เลขที่ 21

          5.ด.ญ.ศกลวรรณ ปิ่ นแก้ ว เลขที่ 30

          6.ด.ญ.สุ ภทนาพร สิ ทธิคุณ เลขที่ 33
                    ั

                   มัธยมศึกษาปี ที่ 2/4

                          เสนอ
                นายทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม




           รายวิชา IS2            รหัส ว20292

             ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี

     สานักงานเขตพืนทีการศึกษา มะยมศึกษา เขต 8
                  ้ ่
ก

                                                   คานา
       รายงานวิชา IS2 (การสื่อสารและการนาเสนอ) จัดทาขึนเพือใช้ เป็ นส่ วนหนึ่งในการเรียนการสอนวิชา
                                                      ้ ่
IS2 (การสื่อสารและการนาเสนอ) โดยแบ่ งเป็ นบท ๆ ดังนี้ 1.บทนา 2.ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3.การ
ยอมรับ      4.เศรษฐกิจพอเพียง กับการศึกษา 5.บทสรุป และนีกคอเนือหาทั้งหมดที่รวมอยู่ในเล่มนี้ ซึ่ง
                                                        ้็ ื ้
คุณครูให้ ทาเป็ นกลุ่ม ๆ กลุ่มละ 6 คน จากนั้นก็ให้ ทา Blog เผยแผ่

       หวังเป็ นอย่ายิงว่าจะเป็ นประโยชน์ ต่อผู้ที่มาศึกษาหาความรู้ หรือผู้ที่สนใจ ก็สามารถเข้ามาอ่านอันได้
                      ่
นะค่ะ และหากมีข้อบ่กพร้ องประการใดผู้จดทาขออภัยไว้ ณ ที่นีด้วย
                                      ั                   ้



                                                                                        คณะผู้จดทา
                                                                                               ั
ข

                                         กิตกรรมประกาศ
       รายงานโครงงานฉบับนี้ สาเร็จลุล่วงไปได้ ด้วยความเมตตาช่ วยเหลืออย่างดียงจากคุณพ่อ คุณแม่
                                                                             ิ่
จากกาลังใจดี ๆ ซึ่งทาให้ มกาลังใจที่จะทาให้ สาเร็จ และต้องขอขอบคุณ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอียม ทีให้
                          ี                                                                ่    ่
คาปรึกษา และบอกแนวทางในการทาโครงงานครั้งนี้ จนสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอขอบคุณท่ านอาจารย์ทุก
ๆ ท่ าน ที่ให้การแนะนาและให้ใช้ บริการห้ องคอมพิวเตอร์ ร่ วมถึงการปริ้นงาน และต้องขอขอบคุณเพือน ๆ
                                                                                             ่
ในกลุ่มที่ช่วยกันทางาน ช่ วยกันคิด และช่ วยกันหาเนือหา
                                                   ้

      และความดีอนเกิดจากการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ผู้เขียนขอมอบแด่บดา มารดา ครู อาจารย์ และผู้มี
                ั                                                ิ
พระคุณทุกท่ าน ผู้เขียนมีความซาบซึ้งในความกรุณาอันดียงจากทุกท่ านที่ได้กล่าวนามมา และขอกราบ
                                                          ิ่
ขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้



                                                                           คณะผู้จดทา
                                                                                  ั
ค

                                     สารบัญ

เรื่อง                                        หน้ า
คานา                                             ก

กิตติกรรมประกาศ                                  ข

สารบัญ                                           ค

สารบัญภาพ                                        ง

สารบัญตาราง                                      จ

บทที่ 1 บทนา                                     1

บทที่ 2 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง                   2-11

บทที่ 3 การยอมรับ                               11-12

บทที่ 4 เศรษฐกิจพอเพียงกับการศึกษา              13-21

บทที่ 5 บทสรุป                                  22-25

บรรณานุกรม                                      26

ภาคผนวก                                         27
ง


                                   สารบัญภาพ
เรื่อง                                         หน้ า

2.1 ภาพองค์ประกอบเศรษฐกิจพอเพียง                       9

2.2 ภาพตัวอย่างเศรษฐกิจพอเพียง                         12

2.3 ภาพตัวอย่างเศรษฐกิจพอเพียง                         14
จ

                                     สารบัญ ตาราง
เรื่อง                                              หน้ า

4.1ตารางการมีส่วนร่ วมของผู้ปกครองและชุมชน                  25

5.1 ตารางทางสายกลาง                                         27
1



                                      บทที่ 1 บทนา
         ในอดีตสังคมไทยเป็ นสังคมเกษตรกรรม มีการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ เป็ นอาชีพหลัก เป็ นสังคม
แบบเอื้ออารี มีการแลกเปลี่ยนอาหารการกินกัน โดยไม่มีการใช้เงินตรา ทําให้ไม่มีหนี้สินล้นพ้นตัว
เหมือนกับในยุคปัจจุบน เนื่องจากการที่ประเทศไทยรับเอาวัฒนธรรมของต่างประเทศเข้ามา ทําให้คนไทย
                        ั
หลงค่านิยมเหล่านั้น จนลืมรากเหง้าของความเป็ นไทย หลงวัตถุนิยม ทําให้ใช้จ่ายอย่างสิ้นเปลือง เมื่อเกิด
วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ                                          ทําให้คนไทยพบกับปัญหาต่างๆตามมา
คุณภาพของคนไทยส่วนมากตํ่าลง แต่ยงดีที่เราชาวไทยที่มีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นนักคิด
                                          ั                              ์                 นันก็คือ
                                                                                             ่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 พระองค์ทรงตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว ทําให้
                           ่ ั
เกิดแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทําให้คนไทยหลายๆหน่วยงานได้นาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับ
                                                                     ํ
ใช้ในหน่วยงานของตนเอง                                                         จนสามารพึ่งตนเองได้
          คนไทยในชนบทโดยเฉพาะเกษตรกรไทย ได้ลองนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ มีการจัดการ
บริ หารทรัพยากรดินอย่างมีหลักการ สามารถวางแผนปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ จนสามารถเลี้ยงตนเองได้ ผลิตผล
ทางการเกษตรที่มีมากพอก็สามารถนํามาจําหน่ายและสร้างรายได้ให้กบครัวเรื อน
                                                                ั              มีการทําบัญชีรายรับ
รายจ่าย และวางแผนครอบครัวที่ดีข้ ึน ทําให้คุณภาพของคนไทยจํานวนมากดีข้ ึน สามารถพึ่งตนเองได้ และ
เป็ นครอบครัวที่มีความสุข
          ศูนย์เทคโนโลยีที่เหมาะสม (ศทม.) ก็เป็ นหน่วยงานหนึ่งของท้องถิ่น ที่มุ่งเน้นการศึกษาและ
เผยแพร่ องค์ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นจังหวัดสกลนคร และผูที่สนใจ
                                                                                           ้
ทัวไปได้มาศึกษาดูงาน เพื่อนําความรู้ดงกล่าวไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน โดยนําหลักการ ทฤษฎีที่ได้
  ่                                   ั
จากการศึกษาจาก ศทม. ไปทดลองจริ ง ดังนั้นทาง ศทม. จึงได้คิดและออกแบบสิ่งประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์
ใหม่ๆออกมา เพื่อเป็ นต้นแบบของผูที่สนใจต่อไป
                                    ้
2


                        บทที่ 2 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคือ
 เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดํารงอยูและปฏิบติตนของประชาชนในทุกระดับ
                                                  ่      ั                                   ตั้งแต่
ระดับครอบครัว ระดับชุมชน ถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริ หารประเทศ ให้ดาเนินไปในทางสายกลาง
                                                                        ํ
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้กาวทันต่อยุคโลกาภิวตน์
                                 ้                 ั          ความพอเพียง       หมายถึ ง      ความ
พอประมาณ         ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเป็ นที่จะต้องมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมี
                                                                     ้
ผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความ
รอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิงในการนําวิชาต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและดําเนินการทุกขั้นตอน
                               ่
และขณะเดียวกันจะต้องเสริ มสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฏี และ
นักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจรติและให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดําเนินชีวิต
                         ํ
ด้วยความอดทน         ความเพียรมีสติปัญญาและความรอบคอบ       เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้
เป็ นอย่างดี”


     ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ จึงประกอบหลักการหกวิชา และหลักธรรมหลาย
ประการอาทิ
          1. เป็ นปรัชญาแนวทางการดํารงอยูและปฏิบติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว
                                         ่      ั
ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ
          2. เป็ นปรัชญาในการพัฒนาและบริ หารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง
                                                      ํ
          3. จะช่วยพัฒนาเศรษฐกิจให้กาวทันโลกยุคโลกาภิวตน์ เพื่อให้สมดุล และพร้อมต่อการรองรับการ
                                    ้                 ั
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ น
อย่างดี
           4. ความพอเพียง หมายถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเป็ นที่จะต้องมีระบบ
ภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน
      ้
          5. จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอยและความระมัดระวังอย่างยิงในการนําวิชาการต่าง ๆ มา
                                                                     ่
ใช้ในการวางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอน
3

       6. จะต้องเสริ มสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจ
ในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริ ต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสมดําเนินชีวิตด้วย
                 ํ
ความอดทน ความเพียร มีสติปัญญาและความรอบคอบ

สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
         นิยามของความพอเพียง ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม กันดังนี้
          „ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง
                                                       ้
และผูอื่น เช่น การผลิตและการบริ โภคที่อยูในระดับพอประมาณ
       ้                                    ่
           „ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็ นไปอย่างมี
เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ
อย่างรอบคอบ
           „ การมีภูมคุมกันในตัวที่ดี หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้าน
                     ิ ้
ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้
และไกล
เงื่อนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยูในระดับความพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้
                                                            ่
และคุณธรรมเป็ นพื้นฐาน                                                                          กล่าวถือ
          „ เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความ
รอบคอบที่จะนําความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวัง
ในขั้นปฏิบติ    ั
           „ เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้าง ประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรม เช่น มีความ
ซื่อสัตย์สุจริ ต ความอดทน ความเพียร ใช้สติปัญญาในการดําเนินชีวตไม่โลภ และไม่ตระหนี่
                                                                    ิ
4




                          2.1 ภาพองค์ประกอบเศรษฐกิจพอเพียง


แนวทางปฏิบัต/ิ ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ
                   ่
    จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยังยืน พร้อมรับต่อ
                                                                             ่
การเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมสิ่งแวดล้อมความรู้และเทคโนโลยี


แนวคิดพัฒนาภูมปัญญาไทย
              ิ
     จากพระราชดํารัส เศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงมีพระบรมราโชวาทครั้งแรกในปี พ.ศ. 2517 นั้นพระองค์มี
พระราชประสงค์จะให้เป็ นแนวคิดนําในการพัฒนาประเทศ เพราะถ้าย้อนกลับไปศึกษาพระบรมราโชวาท
ดังกล่าว จะเห็นได้ว่า เริ่ มต้นจากความสําคัญในการพัฒนาประเทศ จะต้องเน้นการสร้างพื้นฐาน คือ “การ
พอมี พอกิน พอใช้ ” ถึงแม้ว่าที่กล่าวถึงส่วนใหญ่จะเป็ นการแก้ไขปัญหาให้กบเกษตรกร และการจัดการด้าน
                                                                       ั
เกษตรกรรม ซึ่งเป็ นอาชีพหลักของคนไทย แต่ในความเป็ นจริ งพระองค์มีพระราชประสงค์ให้เศรษฐกิจ
พอเพียง สามารถครอบคลุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกประเภทจากการที่ทรงเน้นเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะ
ยุทธศาสตร์สาคัญในการพัฒนาประเทศดังกล่าวมาเป็ นเวลา 27 ปี (พ.ศ. 2517 - 2537 ) แต่กระนั้นคนส่วน
            ํ
ใหญ่ซ่ึงรวมทั้งนักวิชาการ ข้าราชการระดับสูงเป็ นจํานวนมาก ก็ยงไม่เข้าใจในความหมายของเศรษฐกิจ
                                                                  ั
พอเพียง ใน ปี พ.ศ. 2541 จึงทรงเน้นประเด็นนี้อกครั้ง “…เมือปี 2517 วันนั้นได้ พดว่า เราควรปฏิบัติ
                                                 ี            ่                ู
ให้ พอมี พอกิน พอมี พอกิน ก็แปลว่าเศรษฐกิจพอเพียงนั้นเอง..”
5


    หลังวิกฤตการทางเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2540 ที่นกวิชาการ กล่าวว่า เป็ นวิกฤตการณ์ฟองสบู่แตกผูคนตก
                                                 ั                                          ้
งานเดินทางกลับบ้าน และต้องหันไปพึ่งพิงทรัพยากรพื้นฐานในท้องถิ่น และประชาชนส่วนใหญ่อยูใน       ่
ภาวะขวัญเสีย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงพระราชทานพระบรมราโชวาท เน้นยํ้าแนวพระราชดําริ
                                        ่ ั
เศรษฐกิจพอเพียงให้เป็ นแนวทางสําหรับประชาชน           จะต้องพยายามยืนหยัดด้วยตนเองบนพื้นฐานของ
ทรัพยากรที่มีอยูจริ ง ลดการพึ่งพิงจากภายนอก ขณะเดียวกันก็พยายามพัฒนาศักยภาพและความยังยืนใน
                ่                                                                         ่
ระบบที่ตนมีอยู่ การที่กระบวนการเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ แต่ละหน่วยการผลิตในระบบจะต้องพยายามเข้าใจ
เห็นคุณค่า และข้อจํากัดของฐานทรัพยากรในท้องถิ่นของตน จึงจะสามารถดึงคุณค่าที่มีอยูมาใช้ประโยชน์
                                                                                   ่
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งตระหนักในความจําเป็ นที่จะต้องควบคุมการใช้ประโยชน์ทรัพยากรนั้นใน
ขอบเขตไม่เกินขีดจํากัด จนอาจกลายเป็ นการทําลายฐานทรัพยากรของตนไปด้วย นันคือการที่ประชาชน
                                                                               ่
จะต้องเข้าใจการจัดการทรัพยากรท้องถิ่นในระบบเศรษฐกิจพอเพียง           ภายหลังผ่านพ้นวิกฤตเศรษฐกิจ
รัฐบาลได้ดาแนวคิดพระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการพัฒนาประเทศ จะเห็นได้จากแผนพัฒนา
             ํ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549 ) การสร้างงาน โครงการกองทุนหมู่บาน สินค้า
                                                                                       ้
หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ การสร้างความเข้มแข็งให้กบชุมชน เพื่อให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ ซึ่ง
                                                    ั
หลายหมูบานประสบความสําเร็ จเป็ นแบบอย่างที่ดีในการบริ หารและการจัดการทรัพยากรในท้องถิ่นของ
         ่ ้
ตนเองสู่การพัฒนาที่ยงยืนในโอกาสต่อไป
                      ั่


ความเหมาะสมทั้งวันนีและวันหน้ า
                    ้
    พระราชดํารัส เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 มีสาระที่สาคัญ ในการกล่าวถึงการดํารงชีพที่ไม่เป็ นไป
                                                           ํ
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง เช่น “…ขอเล่านิทานอีกเรื่ อง คือไปทางชลบุรี ครั้งหนึ่ง ก็หลายสิบปี แล้ว มี
พ่อค้าคนหนึ่งเขาบอกว่า เขาไปทําโรงงานสับปะรดกระป๋ อง เขาลงทุนเป็ นล้าน จําไม่ได้ว่ากี่ลานเพื่อสร้าง
                                                                                         ้
โรงงาน การลงทุนอย่างนั้นเลยบอกให้เขาทราบว่า ไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะว่าเคยทําโรงงานเล็ก ๆ ที่ทาง
ภาคเหนือใช้เงิน 300,000 บาทเพื่อเอาผลิตผลของชาวเขามาใส่กระป๋ องแล้วขาย ก็ได้ผล เพราะเป็ นโรงงาน
เล็กๆ แต่โรงงานเขาลงทุนเป็ นล้าน รู้สึกเสี่ยง เขาบอกว่าเขาต้องทําอย่างนั้น เขาก็ลงทุน ทําไปทํา
มา สับปะรดที่บานบึงและชลบุรีมีไม่พอ ก็ตองไปซื้อสับปะรดจากปราณบุรี ต้องขนส่งมาด้วย เสีย
                   ้                           ้
ค่าใช้จ่ายมาก ทําไปทํามาโรงงานก็ลมอย่างนี้แสดงให้เห็นว่า ทําโครงการอะไรต้องให้นึกถึงขนาดที่
                                        ้
เหมาะสมที่เรี ยกว่าอัตภาพหรื อกับสิ่งแวดล้อม     นี่พดไปพูดมายังคิดถึงอีกรายที่ลาพูน มีการตั้งโรงงาน
                                                     ู                          ํ
สําหรับแช่แข็งผลผลิตของชาวไร่ ได้ไปเยียม แล้วเขาบ่นว่า คุณภาพของข้าวโพดที่ใส่กระป๋ องสําหรับแช่
                                          ่
แข็งคุณภาพไม่ค่อยดี เขาบอกว่าจะซื้อในราคาแพงไม่ได้ ตอนนั้นไม่ทราบว่าเขาจะมีอนเป็ นอย่างไร ได้แค่
                                                                                   ั
บอกเขาว่า น่าจะส่งเสริ มให้เกษตรกรปลูกข้าวโพด ให้ได้ขาวโพดที่คุณภาพดี โรงงานจะเจริ ญ เขาบอกว่า
                                                        ้
ไม่ได้ เพราะคุณภาพไม่ดี อันนี้เป็ นปัญหาโลกแตก ถ้าไม่ให้ราคาดี หรื อไม่สนับสนุนเกษตรกรก็ทาให้      ํ
ข้าวโพดคุณภาพดีไม่ได้ เรื่ องนี้ตอนแรกอาจดูเหมือนขาดทุน ดูจะไม่ได้ประโยชน์ จะไม่ได้คุณภาพจะ
6


ได้ขาวโพดที่ฟันหลอซึ่งเขาบอกเขาต้องทิ้ง เพราะเครื่ องจักรของเขาต้องมีขนาดข้าวโพดที่เหมาะสม เมื่อ
       ้
เป็ นอย่างนั้น ความจริ งไม่ได้แช่งเขา แต่นึกในใจว่าโรงงานอยูไม่ได้ และในที่สุดก็จริ ง ๆ ก็ลม อาคารอะไร
                                                                ่                            ้
ต่างๆ ยังอยู่ เดี๋ยวนี้ แต่ไม่มีใครเป็ นเจ้าของ เกะกะอยูอย่างนั้น ฉะนั้นจะทําโครงการอะไร จะต้องทําด้วย
                                                        ่
ความรอบคอบและอย่าตาโตเกินไป….
         ข้อสําคัญอยากจะพูดถึงว่า ถ้าหากว่าเราทําโครงการที่เหมาะสม ขนาดที่เหมาะสม อาจจะดูไม่
หรู หรา แต่ว่าจะไม่ลม หรื อถ้าล้มถ้ามีอนตรายไปก็ไม่เสี่ยงมาก เช่น โรงงานผลไม้บรรจุกระป๋ องที่ริเริ่ มทํา
                        ้                   ั
ที่อาเภอฝางนั้น วันหนึ่งเขาติดต่อมาบอกว่านํ้าท่วม นํ้าจากเขาลงมาพัดโรงงานเสียหายเลยบอกว่าไม่
     ํ
เป็ นไร จะสนับสนุนเงินเพิ่มเติม เพราะที่ดินตรงนั้นซื้อแล้ว เครื่ องมือเครื่ องใช้ ก็สนับสนุนเขาอีก 400,000
บาท ก็ต้งขึ้นมาใหม่ต่อไปก็ใช้งานได้มกาไร อันนี้หลายปี แล้ว..”
           ั                              ี ํ
         จากพระราชดํารัสดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงมีตวอย่างเป็ นรู ปธรรมที่สามารถนํามา
                                                                  ่ ั     ั
ประยุกต์กบอุตสาหกรรมได้ ดังนั้น พระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียงนั้น สามารถใช้เป็ นยุทธศาสตร์ในการ
               ั
พัฒนาประเทศ             และสามารถนํามาประยุกต์ใช้กบกิจการสาขาต่างๆ
                                                     ั                         ทั้งในปัจจุบนและในอนาคต
                                                                                           ั
       “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงพระราชดํารัสชี้แนะแนวทางการ
                                                                      ่ ั
ดําเนินชีวตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจและ
             ิ
เมื่อภายหลังได้ทรงเน้นยํ้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดํารงอยูได้อย่างมันคงและยังยืน
                                                                                     ่         ่       ่
ภายใต้กระแสโลกาภิวตน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ
                          ั
ทศพิธราชธรรม นาพาให้ สุขสม
       ทุกครั้งที่ชมข่าวในพระราชสํานัก เราคนไทยทุกคนตระหนักดีในพระราชกรณี ยกิจที่พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยูหวทรงมีต่อพสกนิกรโดยเฉพาะในวันที่ 4 ธันวาคม ทุกๆ ปี พระองค์จะทรงพระราชทานพระ
           ่ ั
บรมราโชวาทให้ขอคิดสอนใจคนไทย จะเห็นได้ว่า พระองค์ทรงมีเมตตาธรรม พระราชกรณี ยกิจที่ทรง
                        ้
ปฏิบติ
     ั         เปี่ ยมล้นด้วยคุณธรรม 10 ประการ หรื อที่เรี ยกว่า ทศพิธราชธรรม ดังนี้
   1. การมีน้ าใจการให้(ทาน)ช่วยเหลือผูที่ดอยกว่าอ่อนแอกว่า
                ํ                        ้ ้
   2. การตั้งอยูในศีล(ศีล)มีความประพฤติที่ดีงาม
                    ่
   3. การบริ จาค(ปริ จาคะ)การเสียสละความสุขเพื่อประโยชน์สุขของหมู่คณะ
    4. ความซื่อตรง(อาชชวะ)ปฏิบติงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริ ต
                                    ั
   5. ความอ่อนโยน(มัททวะ)มีกิริยาสุภาพ สง่างาม
   6. ความเพียร(ตปะ)มีความเพียรพยายามในการทํางานเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
   7. ความไม่โกรธ(อักโกธะ)จิตที่มนคงไม่ฉุนเฉียว
                                      ั่
    8. ความไม่เบียดเบียน(อวิหิงสา)ไม่ข่มเหงนํ้าใจผูอื่น
                                                   ้
   9. ความอดทน(ขันติ)สามารถเผชิญกับความยากลําบากอย่างเข้มแข็ง
  10. การตั้งมันในธรรม (อวิโรธนะ) ประพฤติอยูในความดีงามเสมอต้นเสมอปลาย
                      ่                          ่
7

        จากคุณธรรมที่ทรงประกาศว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขของพสกนิกรชาว
สยาม” พระองค์จึงทรงเป็ นพ่อของแผ่นดินที่สถิตอยูในดวงใจคนไทยทุกคน โครงการพระราชดําริ ของ
                                                ่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวที่ได้ดาเนินการในการแก้ไขปัญหามีอยูมากมาย เช่น โครงการฝนหลวงเป็ น
                        ่ ั      ํ                         ่
โครงการที่แก้ไขปัญหาภัยแล้งโดยอาศัยเทคโนโลยีทาฝนหลวงหรื อฝนเทียม โครงการในพระบรมราชานุ
                                              ํ
เคราะห์ เป็ นโครงการที่พระราชทานข้อแนะนํา และแนวพระราชดําริ ให้เอกชนไปดําเนินการโครงการ
พระราชดําริ เป็ นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลดําเนินการ หรื อเรี ยกว่าโครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริ เช่น โครงการห้วยองคต อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ในพื้นที่ตาบลสมเด็จ
                                                                                       ํ
เจริ ญ อําเภอหนองปรื อ จังหวัดกาญจนบุรี




2.2 ภาพตัวอย่างของเศรษฐกิจพอเพียง
ที่มา : ครู สุรนาถ ปูชนียพงศกร


ประยุกต์ เศรษฐกิจไทยในสังคม
    จากการประมวลพระราชดําริ ทั้งในเอกสารทางราชการและตัวอย่างที่ทรงดําเนินงานมาศึกษานอกจาก
ภาคเกษตรกรรมแล้ว ยังสามารถประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงกับการดําเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมและ
พาณิ ชยกรรม ได้ดงนี้   ั
    1.ใช้เทคโนโลยีที่ถกหลักวิชาการแต่มีราคาถูก
                         ู
    2.ใช้ทรัพยากรทุกชนิดอย่างประหยัดและมีคุณภาพสูงสุด
    3. เน้นการจ้างงานเป็ นหลักโดยไม่นาเทคโนโลยีมาทดแทนแรงงาน ยกเว้นในกรณี ที่จาเป็ น
                                     ํ                                             ํ
    4.มีขนาดการผลิตที่สอดคล้องกับความสามารถในการบริ หารและการจัดการ
    5.ไม่โลภมากเกินไปและไม่เน้นกําไรระยะสั้นเป็ นหลัก
    6. ซื่อสัตย์สุจริ ตในการประกอบการและไม่เอาเปรี ยบผูบริ โภค ไม่เอาเปรี ยบแรงงานหรื อลูกค้าตลอดจน
                                                       ้
ไม่เอาเปรี ยบผูจาหน่ายวัตถุดิบ
                ้ํ
    7. เน้นการกระจายความเสี่ยงตํ่า โดยเฉพาะอย่างยิงไม่ก่อหนี้จนเกินความสามารถ ในการบริ หารและ
                                                  ่
การจัดการ
8


    8. เน้นการบริ หารความเสี่ยงตํ่าโดยเฉพาะอย่างยิงไม่ก่อหนี้จนเกินความสามารถในการบริ หารและการ
                                                  ่
จัดการ
    9. เน้นการใช้วตถุดิบภายในท้องถิ่นและตอบสนองตลาดในท้องถิ่น ภูมิภาค ตลาดภายในประเทศและ
                   ั
ตลาดต่างประเทศเป็ นหลัก
      การเรี ยนรู้แก่นแท้ของการแก้ไขปัญหา โดยพิจารณาสาเหตุดวยความมีสติรอบคอบ ใช้ปัญญาพิจารณา
                                                               ้
ค้นหาเหตุผล สิ่งสําคัญคือ จริ ยธรรมของบุคคลในการดํารงชีวิตร่ วมกัน การดําเนินธุรกิจทุกประเภท ถ้า
รู้จกนําข้อมูลที่ได้จากการชี้แนะของผูที่มีประสบการณ์ก็จะเป็ นประโยชน์อย่างยิงดังที่พระบาทสมเด็จพระ
    ั                                ้                                      ่
เจ้าอยูหวทรงให้แนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
       ่ ั
ประชานิยมสู่ ศรัทธามหาชน
     จากทฤษฎีใหม่สู่เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยงยืน ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงมีพระมหา
                                                            ่ั                                 ่ ั
กรุ ณาธิคุณต่อพสกนิกรไทย การที่จะทําให้คนไทยทุกคนประสบความสําเร็ จเป็ นเรื่ องที่ยากแต่จะทําอย่างไร
ในการที่พวกเราจะสามารถดําเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข เป็ นไปตามพื้นฐานของแต่ละบุคคล ปัจจัยสําคัญ
ที่จะต้องกลับมาพิจารณาปรับวิธีคิด วิธีการทํางาน ความสําคัญของแนวทางการดําเนินชีวตของแต่ละบุคคล  ิ
ควรมี                                                                                                      ได้แก่
      1.ความอดทนต่อการดาเนินชีวต ปัญหาทุกอย่างสามารถแก้ไขได้ ถ้าใจมันคง แม้จะต้องใช้เวลาและ
                                       ิ                                              ่
มาตรการต่างๆ เพื่อให้ความสําเร็ จเกิดขึ้น
       2.ความมีนาใจต่อกัน ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ได้ให้แนวทางในการร่ วมมือกัน มีน้ าใจแก่กน
                   ้                                                                                   ํ       ั
เช่น การลงแขกเกี่ยวข้าว การทําขนมกระยาสารทแล้วแบ่งปันเพื่อนบ้าน
    3.ความมีวนัยในตนเอง จะต้องรู้จกกิน รู้จกใช้ วางแผนการใช้จ่าย
                 ิ                       ั      ั
      4.รู้ จกการบริหารและการจัดการชีวต รู้จกการวางแผนครอบครัว การเตรี ยมการในการประกอบอาชีพ
               ั                             ิ ั
การหาสถานศึกษาใกล้บานให้กบลูกได้ศึกษาเล่าเรี ยน การสร้างที่อยู่ อาศัยสร้างความมันคงให้กบครอบครัว
                              ้     ั                                                        ่      ั
      5.มีมาตรฐานทางใจ ลดละเลิกในสิ่งที่ไม่จาเป็ นต่อการดําเนินชีวต สุรา ยาเสพติด การเที่ยวกลางคืน
                                                    ํ                     ิ
การรู้จกฉลาดใช้ ตัวอย่างเช่น การใช้โทรศัพท์มือถือมีความจําเป็ นหรื อไม่ หรื อถ้าจําเป็ นต้องใช้เครื่ องเดียว
        ั
สามารถใช้ได้นานๆ แต่ถามีไว้อวดเพื่อความโก้เป็ นเครื่ องประดับที่คิดว่าเป็ นคนทันสมัยจะมีกี่เครื่ องก็ไม่
                                  ้
พอทุกครั้งที่มเี ครื่ องรุ่ นใหม่ออกมาก็ตองเปลี่ยนทุกครั้ง ทําให้เป็ นภาระหนี้สินที่เกินความจําเป็ น
                                           ้
      6.อย่าอายทากิน อย่าหมิ่นเงินน้อย อย่าคอยวาสนา งานบางอย่างอาจได้ค่าตอบแทนน้อย ไม่ตรงกับ
ความต้องการ แต่การทํางานนอกจากได้ค่าตอบแทนเป็ นเงินตราแล้วสิ่งที่มค่ามากที่สุด คือประสบการณ์
                                                                                 ี
      7.จงมองในสิ่งที่เขาเป็ นอยู่ไม่ใช่ มองในสิ่งที่เราอยากให้ เขาเป็ น การเข้าใจผูอื่นที่อาจมีความคิดเห็นมีการ
                                                                                    ้
ดําเนินชีวตที่แตกต่างจากเรา เขาอาจมีมาตรฐานทางใจต่างจากเรา เช่น การใส่เสื้อผ้าราคาถูกการประกอบ
             ิ
อาชีพเกษตรกร ไม่ได้หมายถึงการเป็ นคนที่ดอยพัฒนา คนเรามีความแตกต่างกัน ความสุขของแต่ละบุคคล
                                                  ้
จึงแตกต่างกัน การเปลี่ยนแปลงอะไรก็ตาม ต้องให้เขาเปลี่ยนแปลงตัวของเขาเองในสิ่งที่เขาต้องการจะเป็ น
8.ครอบครัวอบอุ่น สังคมเข้มแข็ง ครอบครัวเป็ นรากฐานที่สาคัญของสังคม ในการถ่ายทอดแบบอย่าง
                                                               ํ
วิถีชีวิต
      9.ภูมใจในความเป็ นไทย ภูมิปัญญาไทย วิถีไทย เศรษฐกิจพอเพียง มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับภูมิ
           ิ
ปัญญาไทย วิถีการดําเนินชีวิตของคนไทยในสังคมชนบทที่ยงพึ่งพาภูมิปัญญาไทย ปราชญ์ชาวบ้านตัวอย่าง
                                                          ั
ของสินค้าหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ที่ประสบความสําเร็ จเป็ นที่ยอมรับสู่มาตรฐานสากล




2.3 ภาพตัวอย่างของเศรษฐกิจพอเพียง                                                                            10

ที่มา : ครู สุรนาถ ปูชนียพงศกร


ปวงชนสุ ขล้ นสู่ การพัฒนาอย่ างยังยืน
                                 ่
      เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับคนทุกคน ไม่ใช่เป็ นเรื่ องของเกษตรกร ไม่ใช่เกี่ยวข้องกับ
อุตสาหกรรมการผลิตและการค้า แต่เป็ นเรื่ องของการดําเนินชีวิตตามปกติของคนในสังคม คนไทยโชคดีที่
มีสถาบันพระมหากษัตริ ยที่เข้มแข็งเปี่ ยมล้นด้วยทศพิธราชธรรม การพัฒนาประเทศไม่ใช่เรื่ องที่เกี่ยวข้อง
                          ์
กับรัฐบาลเพียงอย่างเดียว คนไทยทุกคนต้องมีส่วนร่ วมในวิกฤติการณ์น้ ามันที่มีราคาแพง สินค้าอุปโภค
                                                                            ํ
บริ โภคมีราคาสูง ภาวะเงินเฟ้ อเพิ่มมากขึ้น มาตรการหลายๆ อย่างที่ภาครัฐได้ดาเนินการ แต่ไม่ยงใหญ่
                                                                                   ํ                ิ่
เท่ากับแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็ นการปรับวิธีคิด วิธีการดําเนินชีวิตใหม่ให้คนไทยได้
ตระหนักและภาคภูมิใจในภูมิปัญญาไทย
      การที่เราคิดได้ ทําได้ เข้าใจปัญหาที่แท้จริ ง เช่น นํ้ามันแพง ถ้าใช้มาตรการประหยัดอย่างเดียวจะ
ประสบความสําเร็ จน้อย แต่ถาใช้แนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง คือ พอมี พอกิน เราจะใช้รถยนต์ให้
                                ้
คุมค่ากับความจําเป็ นให้มากที่สุด
  ้                                          ขณะเดียวกันก็คิดหาพลังงานทดแทนที่มีตนทุนราคาถูกมาทดแทน
                                                                                       ้
ประชาชนคนไทยทุกคนมีหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี การเกิดบนผืนแผ่นดินไทยภายใต้ร่มพระบารมีของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว เราพูดเสมอว่า เรารักในหลวง ดังนั้น ควรที่จะทําในสิ่งที่พระองค์ทรงมีพระ
                            ่ ั
ราชประสงค์ที่จะให้เศรษฐกิจพอเพียง..เลี้ยงคนไทยให้ยงยืน   ั่
     เราจะทําหน้าที่กนอย่างไรบ้าง ข้อเสนอแนะต่อไปนี้เป็ นแนวทางที่จะบอกว่า เราเป็ นข้าของแผ่นดินเรา
                      ั
จะทดแทนคุณแผ่นดินและสํานึกในพระมหากรุ ณาธิคุณที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูท่านทรงเมตตาต่อพสก
                                                                                     ่
นิกรชาวไทย ดังนี้
      1. นักเรี ยนสามารถดําเนินชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงได้ เช่น มีความขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีความ
รับผิดชอบ ขยันหมันเพียรในการเรี ยน เพื่อให้สามารถนําความรู้ไปใช้ในการดําเนินชีวิตอย่างรู้เท่าทันโลก
                     ่
ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว เธอทั้งหลายเป็ นพลังของแผ่นดิน ต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผูอื่นไม่เอา
                                                                                                   ้
เปรี ยบสังคม ไม่เห็นแก่ตว สร้างความเดือดร้อนให้กบสังคม มีความรับผิดชอบในสถานภาพและบทบาท
                            ั                          ั
ของตนเอง การเป็ นลูกที่ดีของพ่อแม่ เป็ นศิษย์ที่ดีของครู อาจารย์ เป็ นเพื่อนที่ดีและเป็ นสมาชิกที่ดีของ
สังคม การให้ความร่ วมมือเป็ นสิ่งที่จาเป็ น เพราะปัญหาของสังคมรอการแก้ไขมากมายหลายเรื่ องจึงเป็ น
                                       ํ
หน้าที่ของทุกคน
      2. ข้าราชการเป็ นกลไกที่สาคัญที่ขบเคลื่อนการพัฒนาไปสู่ประชาชน ข้าราชการ หมายถึง ผูรับใช้
                               ํ         ั                                                            ้
พระราชา ทําอย่างไรให้ประชาชนอุ่นใจ เป็ นที่พ่งของประชาชน ความซื่อสัตย์สุจิต ความเสียสละและ
                                                   ึ
ความรับผิดชอบ เป็ นสิ่งที่ประชาชนปรารถนามากที่สุด การฉ้อราษฎร์บงหลวงประเทศชาติตองสูญเสียเงิน
                                                                           ั                     ้
งบประมาณซึ่งเป็ นภาษีอากรของประชาชนเป็ นจํานวนมาก ทําให้การพัฒนาประเทศไม่ประสบความสําเร็ จ
เท่าที่ควรจะเป็ น การดําเนินชีวตพอมีพอกินตามแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียงของพระองค์ท่านทรง
                                  ิ
เป็ นแบบอย่างที่ชดเจนที่สุด พระองค์ท่านทรงงานหนักมากในพระราชกรณี ยกิจแต่ละวันเป็ นที่ประจักษ์
                   ั
      3. นักธุรกิจ จะต้องดําเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมและมีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ ไม่เอารัดเปรี ยบไม่
ดําเนินธุรกิจในทางที่ไม่ถกต้อง
                          ู           ไม่มีการละเมิดลิขสิทธิ์      ไม่มีการเอารัดเอาเปรี ยบผูบริ โภคในภาวะ
                                                                                             ้
เศรษฐกิจที่ตองการความร่ วมมือร่ วมแรงร่ วมใจ
               ้                                         นักธุรกิจไทยต้องเอาใจใส่ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
      4. เกษตรกร จะต้องปรับวิธีการดําเนินชีวิต มีวินยในการใช้จ่าย รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง พัฒนา
                                                         ั
ตนเอง พึ่งพาตนเองให้มากที่สุด ภูมิปัญญาไทย เป็ นมรดกที่ตกทอดมาถึงลูกหลานไทย ต้องใส่ใจที่จะดูแล
และสานต่อ แนวพระราชดําริ ทฤษฏีใหม่ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวได้ทรงให้แนวทางในการบริ หาร
                                                                         ่ ั
และจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ สามารถเลี้ยงตัวเองและครอบครัว ตามปรัชญาชีวตที่ว่า “กินอิ่ม   ิ
นอนอุ่น อดออม เอื้ออาทรแก่กน” เมื่อนั้น สังคมจะมีแต่ความผาสุก เป็ นสังคมที่เข้มแข็งตามแนว
                                    ั
พระราชดําริ ปรัชญาของ“เศรษฐกิจพอเพียง...เลี้ยงคนไทยให้ยงยืน”  ั่
การนําเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจําวัน(จากข้อความของดร.วรัญํูสุจิวรพันธ์พงศ์)
        กฎเบื้องต้นของเศรษฐศาสตร์ก็คือ เราเชื่อว่าทรัพยากรที่มีอยูในโลกมีอยูจากัด แต่มนุษย์เรามีความ
                                                                      ่           ่ํ
ต้องการที่ไม่จากัด ดังนั้นเศรษฐศาสตร์ ก็คือศาสตร์ ที่ว่าด้วยการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอย่างจํากัดให้คุมค่า
                 ํ                                                                        ่             ้
และสอดคล้องตามความต้องการของมนุษย์ให้มากที่สุด แต่ปัจจุ บน โลกมันวุนวาย เพราะมีบางกลุ่มบาง
                                                                    ั           ่
ประเทศ เช่น สหรัฐอเมริ กา มีประชากรแค่ 200 ล้านคน แต่ใช้ทรัพยากรของโลก ไปเกิน 95% เป็ นต้น
11



แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
    อธิบายสั้นๆ ก็คือการใช้ทรัพยากรที่มีอยูอย่างพอดี ไม่นอย หรื อไม่มากเกินไป ไม่เกินตัว ทรัพยากรที่พด
                                           ่             ้                                           ู
ถึงคือ ยกตัวอย่างง่ายๆ และ ใกล้ตวเราที่สุดก็คือ เงิน คือให้ใช้เงินให้เป็ น และรู้จกออม ถ้านําแนวคิด
                                   ั                                               ั
เศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้กบการใช้เงินของเราเพื่อช่วยเหลือชาติแบบง่ายๆ ก็จะทําได้ดงนี้
                                ั                                                        ั




                                   บทที่ 3 การยอมรับ
ความเข้ าใจของประชาชนชาวไทย
ปัญหาหนึ่งของการนําปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ก็คือ          ผูนาไปใช้อาจยังไม่ได้ศึกษาหรื อไม่มีความรู้
                                                              ้ ํ
เพียงพอ  ทั้งยังไม่กล้าวิเคราะห์หรื อตั้งคําถามต่อตัวปรัชญา เนื่องจากเป็ นปรัชญาของพระมหากษัตริ ย ์
ความชอบธรรมให้กบการพัฒนารู ปแบบใด
                  ั                                         หรื อมีนยยะทางการเมืองอะไรอยูเ่ บื้องหลัง
                                                                    ั
การเชิดชู
13 นักคิดระดับโลกเห็นด้วยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และมีการนําเสนอบทความ บทสัมภาษณ์ เป็ น
การยืนข้อเสนอแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่โลกเช่น
     ่
ศจ. ดร. วูลฟกัง ซัคส์ นักวิชาการด้านสิ่งแวดล้อมคนสําคัญของเยอรมนี สนใจการประยุกต์ใช้หลักปรัชญา
           ์
เศรษฐกิจพอเพียงอย่างมาก และมองว่าน่าจะเป็ นอีกทางเลือกหนึ่งสําหรับทุกชาติในเวลานี้ ทั้งมีแนวคิด
ผลักดันเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็ นที่รู้จกในเยอรมนี
                                     ั
ศจ. ดร.อมาตยา เซน ศาสตราจารย์ชาวอินเดีย เจ้าของรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ปี ค.ศ. 1998 มองว่า
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นการใช้สิ่งต่างๆ ที่จาเป็ นต่อการดํารงชีพ และใช้โอกาสให้พอเพียงกับชีวิตที่ดี
                                              ํ
ซึ่งไม่ได้หมายถึงความไม่ตองการ แต่ตองรู้จกใช้ชีวิตให้ดีพอ อย่าให้ความสําคัญ กับเรื่ องของรายได้และ
                         ้         ้ ั
ความรํ่ารวยแต่ให้มองที่คุณค่าของชีวตมนุษย์
                                   ิ
นายจิกมี ทินเลย์ นายกรัฐมนตรี แห่งประเทศภูฏาน ให้ทรรศนะว่า หากประเทศไทยกําหนดเรื่ องเศรษฐกิจ
พอเพียงให้เป็ นวาระระดับชาติ และดําเนินตามแนวทางนี้อย่างจริ งจัง "ผมว่าประเทศไทยสามารถสร้างโลก
ใบใหม่จากหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สร้างชีวิตที่ยงยืน และสุดท้ายจะไม่หยุดเพียงแค่ในประเทศ แต่จะ
                                                 ั่
เป็ นหลักการและแนวปฏิบติของโลกซึ่งหากทําได้สาเร็ จไทยก็คือผูนา"
                      ั                     ํ               ้ ํ
12



ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้รับการเชิดชูเป็ นอย่างสูงจากองค์การสหประชาชาติ โดยนายโคฟี อันนัน ใน
ฐานะเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลความสําเร็ จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์ แด่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 และได้มีปาฐกถาถึงปรัชญาเศรษฐกิจ
                      ่ ั
พอเพียงว่า เป็ นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ และสามารถเริ่ มได้จากการสร้าง
ภูมิคุมกันในตนเองสู่หมู่บานและสู่เศรษฐกิจในวงกว้างขึ้นในที่สุด
      ้                  ้                                                 และนาย Håkan Björkman
รักษาการผูอานวยการสํานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติในประเทศไทย
          ้ํ                                                                       กล่าวเชิดชูปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง           และยังได้ตระหนักถึงวิสยทัศน์และแนวคิดในการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระ
                                                ั
เจ้าอยูหว และองค์การสหประชาชาติยงได้สนับสนุนให้ประเทศต่าง ๆ ที่เป็ นสมาชิก 166 ประเทศให้ยดเป็ น
       ่ ั                      ั                                                        ึ
แนวทางสู่การพัฒนาประเทศแบบยังยืน
                            ่
การวิพากษ์
      อย่างไรก็ตาม ศ. ดร. เควิน ฮิววิสน อาจารย์ประจํามหาวิทยาลัยนอร์ธแคโรไลนา แชพเพลฮิลล์ ได้
                                      ั
วิจารณ์รายงานขององค์การสหประชาชาติโดยสํานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ                   ที่ยกย่อง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง        ว่า    รายงานฉบับดังกล่าวไม่ได้มีเนื้อหาสนับสนุนว่าเศรษฐกิจพอเพียงเป็ น
“ทางเลือกที่จาเป็ นมากสําหรับโลกที่กาลังดําเนินไปในเส้นทางที่ไม่ยงยืนอยูในขณะนี้” เลย และกล่าวว่า
             ํ                      ํ                            ั่     ่
เนื้อหาในรายงานแทบทั้งหมดเป็ นเพียงการเทิดพระเกียรติ      และเป็ นเพียงเครื่ องมือในการโฆษณาชวนเชื่อ
ภายในประเทศเท่านั้น ส่วน Håkan Björkman รักษาการผูอานวยการสํานักงานโครงการพัฒนาแห่ง
                                                  ้ํ
สหประชาชาติ กล่าวว่า "สํานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติตองการที่จะทําให้เกิดการอภิปราย
                                                           ้
พิจารณาเรื่ องนี้ แต่การอภิปรายดังกล่าวนั้นเป็ นไปไม่ได้ เพราะอาจสุ่มเสี่ยงต่อการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
ซึ่งมีโทษถึงจําคุก"
นอกจากนี้      ยังมีการวิพากษ์วิจารณ์อีกว่าแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นรู ปแบบที่ไม่มีความแตกต่างไป
จาก "ความนิยมท้องถิ่น" (Localism) เลย และยังมีชาวต่างชาติอีกมากที่ยงไม่เข้าใจว่าแนวปรัชญาเศรษฐกิจ
                                                                   ั
พอเพียง แท้จริ งแล้วหมายถึงอะไร
13



                    บทที่ 4 เศรษฐกิจพอเพียง กับการศึกษา
การนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ในสถาบันการศึกษาทีมส่วนร่ วมกับชุมชน
                                                ่ ี
         ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

          เศรษฐกิจพอเพียง       เป็ นปรัชญาชี้แนวการดํารงอยูและปฏิบติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่
                                                            ่      ั
ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริ หารประเทศให้ดาเนินไปในทางสาย
                                                                         ํ
กลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้กาวทันต่อโลกยุคโลกาภิวตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความ
                                     ้                    ั
พอประมาณ         ความมีเหตุผล     รวมถึงความจําเป็ นที่จะต้องมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมี
                                                                         ้
ผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน

          ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิง ในการนําวิชาการต่างๆ
                                                                          ่
มาใช้ในการวางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริ มสร้างพื้นฐานจิตใจของคน
ในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์
                                                                    ํ
สุจริ ตและให้มีความรู้ที่เหมาะสม ดําเนินชีวตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ
                                           ิ
เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ           สังคม
สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี

          “หากพิจารณาพระราชดํารัสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวพระราชทาน เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2548
                                                          ่ ั
ที่ผานมายิงทําให้เห็นว่า พระองค์ทรงให้ความสําคัญกับเรื่ องเศรษฐกิจพอเพียงมากเพียงใด ทรงเชื่อมันว่า
    ่     ่                                                                                   ่
การจะรับมือกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ได้ นั้น ประเทศไทยต้องใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญานําทาง
และน่ายินดีที่ว่า หลังจากนั้นหลายหน่วยงานได้นอมนําพระราชดํารัสข้างต้นไปยึดถือปฏิบติ”
                                             ้                                   ั

            แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550-2554 มุ่งสู่ "สังคมอยูเ่ ย็นเป็ นสุข
ร่ วมกัน" รวมทั้งนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็ นหลักปฏิบติ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ได้หมายถึง
                                                        ั
ประหยัดมัธยัสถ์ ไม่ใช้เงิน แต่เป็ นการเดินทางสายกลาง ให้สอดคล้องเหมาะสมกับสภาพการณ์ทาง
เศรษฐกิจ สังคม แต่ละบุคคล หรื อองค์กร โดยไม่ลงทุนเกินตัว และยึดหลักคุณธรรม เน้นความมันคง และ
                                                                                     ่
ยังยืน
  ่
14


        แนวทางการนาแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปจัดการศึกษาใน
สถานศึกษา


ก. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

        สถานศึกษาควรมุ่งส่งเสริ มการเรี ยนรู้และปลูกฝัง เสริ มสร้างให้ผเู้ รี ยนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ในการดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้

        1. มีความรู้ ความเข้าใจ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และตระหนักในความสําคัญ ของการดําเนิน
ชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้

          1.1 มีความรู้ ความเข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและความเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจ
ทัวไป
  ่

          1.2 มีความรู้ ความเข้าใจในการดําเนินชีวตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                                                 ิ

          1.3     เห็นประโยชน์       และตระหนักในความสําคัญของการดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงและการใช้แนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาตนเอง พัฒนากลุ่ม และพัฒนา
สังคม

        2. มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้

          2.1มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดํารงชีวตและการพัฒนาอาชีพ เช่น การเกษตร การผลิตและ
                                                  ิ
จําหน่ายสินค้า การดําเนินธุรกิจ การใช้จ่ายและการออม ฯลฯ

          2.2 ใช้และพัฒนาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมให้ได้ประโยชน์สูงสุดและยังยืน
                                                                        ่

          2.3 สืบสานและพัฒนาศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

          2.4 รักและภาคภูมิใจในความเป็ นไทย

        3. ปฏิบติตนและดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้
               ั
15


             3.1 ปฏิบติตนให้มีความพอประมาณ รู้จกการประมาณตน รู้จกศักยภาพของตนที่มีอยู่
                     ั                         ั                ั

             3.2 ปฏิบติตนอย่างมีเหตุผล ปฏิบติสิ่งต่าง ๆ บนพื้นฐานของความมีสติ ปัญญา ยึดทางสายกลาง
                     ั                     ั
ในการปฏิบติ
         ั

             3.3 มีภูมิคุมกันที่ดีในตัว พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ
                         ้

              3.4    มีความรอบรู้ในเรื่ องที่เกี่ยวข้อง   สามารถคิดวิเคราะห์และปฏิบติดวย ความรอบคอบ
                                                                                   ั ้
ระมัดระวัง

             3.5 ปฏิบติตนและดําเนินวิถีชีวตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยความซื่อสัตย์สุจริ ต
                     ั                    ิ
ขยัน อดทน เพียรพยายาม แบ่งปัน มีสติ ปัญญา มีวินย พึ่งตนเอง แบ่งปัน เอื้ออาทร รับผิดชอบและอยู่
                                               ั
ร่ วมกับผูอื่นได้อย่างมีความสุข
          ้



ข. แนวทางในการพัฒนาผู้เรียนตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์

        1. การพัฒนาหลักสู ตร มีแนวทางดําเนินการดังนี้

             สถานศึกษาควรมีการพัฒนาหรื อบูรณาการเนื้อหาสาระของเศรษฐกิจพอเพียงเข้าไปในหลักสูตร
สถานศึกษา ตามขั้นตอนดังนี้

             1.1สถานศึกษานําคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน ตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาพิจารณาปรับปรุ งหรื อเพิ่มเติม วิสยทัศน์ เป้ าหมายและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยนใน
                                           ั
หลักสูตรสถานศึกษา

             1.2 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ปรับปรุ งหรื อเพิ่มเติมมาตรฐานการเรี ยนรู้ใน
แต่ละช่วงชั้น ให้สอดคล้องกับวิสยทัศน์ เป้ าหมาย และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยนตามแนว
                               ั
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของหลักสูตรสถานศึกษาที่ปรับปรุ งหรื อเพิ่มเติม

             1.3 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ปรับปรุ ง เพิมเติมหรื อจัดทําสาระการเรี ยนรู้
                                                                            ่
หน่วยการจัดการเรี ยนรู้และแผนการจัดการเรี ยนรู้ ตามลําดับ เพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นไปตามมาตรฐานการ
เรี ยนรู้แต่ละช่วงชั้นตามข้อ 1.2
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง

Contenu connexe

Tendances

โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาTatsawan Khejonrak
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 

Tendances (20)

โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 

En vedette

คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21KruBeeKa
 
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียนวัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียนพัน พัน
 
Isโครงการหมาน้อยร้อยฝันแก้ไข2
Isโครงการหมาน้อยร้อยฝันแก้ไข2Isโครงการหมาน้อยร้อยฝันแก้ไข2
Isโครงการหมาน้อยร้อยฝันแก้ไข2ITitle A'lohaa
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001Thidarat Termphon
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001Thidarat Termphon
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 

En vedette (8)

คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21
 
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียนวัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
 
Isโครงการหมาน้อยร้อยฝันแก้ไข2
Isโครงการหมาน้อยร้อยฝันแก้ไข2Isโครงการหมาน้อยร้อยฝันแก้ไข2
Isโครงการหมาน้อยร้อยฝันแก้ไข2
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
009 รายงาน
009 รายงาน009 รายงาน
009 รายงาน
 

Similaire à เศรษฐกิจพอเพียง

โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้างSumontira Niyama
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงdp130233
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนJar 'zzJuratip
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาparinya poungchan
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3sompriaw aums
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
การทำงาน อาเม อาเม
การทำงาน  อาเม  อาเมการทำงาน  อาเม  อาเม
การทำงาน อาเม อาเมmaykai
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะMontree Jareeyanuwat
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานtongkesmanee
 

Similaire à เศรษฐกิจพอเพียง (20)

ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
ขยะ
ขยะขยะ
ขยะ
 
P73240631522
P73240631522P73240631522
P73240631522
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้าง
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
002
002002
002
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
การทำงาน อาเม อาเม
การทำงาน  อาเม  อาเมการทำงาน  อาเม  อาเม
การทำงาน อาเม อาเม
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
 
ทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อ
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
3 23-6-53
3 23-6-533 23-6-53
3 23-6-53
 

Plus de พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

Plus de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

เศรษฐกิจพอเพียง

  • 1. เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง จัดทาโดย 1.ด.ญ.เจนจิรา นุชนิ่ม เลขที่ 17 2.ด.ญ.ชลัญธร สืบกลัด เลขที่ 18 3.ด.ญ.ฐิตภา โพธิ์เงิน ิ เลขที่ 19 4.ด.ญ.ดารุณี โพธิ์ด้วง เลขที่ 21 5.ด.ญ.ศกลวรรณ ปิ่ นแก้ ว เลขที่ 30 6.ด.ญ.สุ ภทนาพร สิ ทธิคุณ เลขที่ 33 ั มัธยมศึกษาปี ที่ 2/4 เสนอ นายทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายวิชา IS2 รหัส ว20292 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี สานักงานเขตพืนทีการศึกษา มะยมศึกษา เขต 8 ้ ่
  • 2. คานา รายงานวิชา IS2 (การสื่อสารและการนาเสนอ) จัดทาขึนเพือใช้ เป็ นส่ วนหนึ่งในการเรียนการสอนวิชา ้ ่ IS2 (การสื่อสารและการนาเสนอ) โดยแบ่ งเป็ นบท ๆ ดังนี้ 1.บทนา 2.ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3.การ ยอมรับ 4.เศรษฐกิจพอเพียง กับการศึกษา 5.บทสรุป และนีกคอเนือหาทั้งหมดที่รวมอยู่ในเล่มนี้ ซึ่ง ้็ ื ้ คุณครูให้ ทาเป็ นกลุ่ม ๆ กลุ่มละ 6 คน จากนั้นก็ให้ ทา Blog เผยแผ่ หวังเป็ นอย่ายิงว่าจะเป็ นประโยชน์ ต่อผู้ที่มาศึกษาหาความรู้ หรือผู้ที่สนใจ ก็สามารถเข้ามาอ่านอันได้ ่ นะค่ะ และหากมีข้อบ่กพร้ องประการใดผู้จดทาขออภัยไว้ ณ ที่นีด้วย ั ้ คณะผู้จดทา ั
  • 3. กิตกรรมประกาศ รายงานโครงงานฉบับนี้ สาเร็จลุล่วงไปได้ ด้วยความเมตตาช่ วยเหลืออย่างดียงจากคุณพ่อ คุณแม่ ิ่ จากกาลังใจดี ๆ ซึ่งทาให้ มกาลังใจที่จะทาให้ สาเร็จ และต้องขอขอบคุณ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอียม ทีให้ ี ่ ่ คาปรึกษา และบอกแนวทางในการทาโครงงานครั้งนี้ จนสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอขอบคุณท่ านอาจารย์ทุก ๆ ท่ าน ที่ให้การแนะนาและให้ใช้ บริการห้ องคอมพิวเตอร์ ร่ วมถึงการปริ้นงาน และต้องขอขอบคุณเพือน ๆ ่ ในกลุ่มที่ช่วยกันทางาน ช่ วยกันคิด และช่ วยกันหาเนือหา ้ และความดีอนเกิดจากการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ผู้เขียนขอมอบแด่บดา มารดา ครู อาจารย์ และผู้มี ั ิ พระคุณทุกท่ าน ผู้เขียนมีความซาบซึ้งในความกรุณาอันดียงจากทุกท่ านที่ได้กล่าวนามมา และขอกราบ ิ่ ขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ คณะผู้จดทา ั
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้ า คานา ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญภาพ ง สารบัญตาราง จ บทที่ 1 บทนา 1 บทที่ 2 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2-11 บทที่ 3 การยอมรับ 11-12 บทที่ 4 เศรษฐกิจพอเพียงกับการศึกษา 13-21 บทที่ 5 บทสรุป 22-25 บรรณานุกรม 26 ภาคผนวก 27
  • 5. สารบัญภาพ เรื่อง หน้ า 2.1 ภาพองค์ประกอบเศรษฐกิจพอเพียง 9 2.2 ภาพตัวอย่างเศรษฐกิจพอเพียง 12 2.3 ภาพตัวอย่างเศรษฐกิจพอเพียง 14
  • 6. สารบัญ ตาราง เรื่อง หน้ า 4.1ตารางการมีส่วนร่ วมของผู้ปกครองและชุมชน 25 5.1 ตารางทางสายกลาง 27
  • 7. 1 บทที่ 1 บทนา ในอดีตสังคมไทยเป็ นสังคมเกษตรกรรม มีการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ เป็ นอาชีพหลัก เป็ นสังคม แบบเอื้ออารี มีการแลกเปลี่ยนอาหารการกินกัน โดยไม่มีการใช้เงินตรา ทําให้ไม่มีหนี้สินล้นพ้นตัว เหมือนกับในยุคปัจจุบน เนื่องจากการที่ประเทศไทยรับเอาวัฒนธรรมของต่างประเทศเข้ามา ทําให้คนไทย ั หลงค่านิยมเหล่านั้น จนลืมรากเหง้าของความเป็ นไทย หลงวัตถุนิยม ทําให้ใช้จ่ายอย่างสิ้นเปลือง เมื่อเกิด วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ทําให้คนไทยพบกับปัญหาต่างๆตามมา คุณภาพของคนไทยส่วนมากตํ่าลง แต่ยงดีที่เราชาวไทยที่มีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นนักคิด ั ์ นันก็คือ ่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 พระองค์ทรงตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว ทําให้ ่ ั เกิดแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทําให้คนไทยหลายๆหน่วยงานได้นาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับ ํ ใช้ในหน่วยงานของตนเอง จนสามารพึ่งตนเองได้ คนไทยในชนบทโดยเฉพาะเกษตรกรไทย ได้ลองนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ มีการจัดการ บริ หารทรัพยากรดินอย่างมีหลักการ สามารถวางแผนปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ จนสามารถเลี้ยงตนเองได้ ผลิตผล ทางการเกษตรที่มีมากพอก็สามารถนํามาจําหน่ายและสร้างรายได้ให้กบครัวเรื อน ั มีการทําบัญชีรายรับ รายจ่าย และวางแผนครอบครัวที่ดีข้ ึน ทําให้คุณภาพของคนไทยจํานวนมากดีข้ ึน สามารถพึ่งตนเองได้ และ เป็ นครอบครัวที่มีความสุข ศูนย์เทคโนโลยีที่เหมาะสม (ศทม.) ก็เป็ นหน่วยงานหนึ่งของท้องถิ่น ที่มุ่งเน้นการศึกษาและ เผยแพร่ องค์ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นจังหวัดสกลนคร และผูที่สนใจ ้ ทัวไปได้มาศึกษาดูงาน เพื่อนําความรู้ดงกล่าวไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน โดยนําหลักการ ทฤษฎีที่ได้ ่ ั จากการศึกษาจาก ศทม. ไปทดลองจริ ง ดังนั้นทาง ศทม. จึงได้คิดและออกแบบสิ่งประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆออกมา เพื่อเป็ นต้นแบบของผูที่สนใจต่อไป ้
  • 8. 2 บทที่ 2 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคือ เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดํารงอยูและปฏิบติตนของประชาชนในทุกระดับ ่ ั ตั้งแต่ ระดับครอบครัว ระดับชุมชน ถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริ หารประเทศ ให้ดาเนินไปในทางสายกลาง ํ โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้กาวทันต่อยุคโลกาภิวตน์ ้ ั ความพอเพียง หมายถึ ง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเป็ นที่จะต้องมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมี ้ ผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความ รอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิงในการนําวิชาต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและดําเนินการทุกขั้นตอน ่ และขณะเดียวกันจะต้องเสริ มสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฏี และ นักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจรติและให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดําเนินชีวิต ํ ด้วยความอดทน ความเพียรมีสติปัญญาและความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้ เป็ นอย่างดี” ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ จึงประกอบหลักการหกวิชา และหลักธรรมหลาย ประการอาทิ 1. เป็ นปรัชญาแนวทางการดํารงอยูและปฏิบติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ่ ั ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ 2. เป็ นปรัชญาในการพัฒนาและบริ หารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง ํ 3. จะช่วยพัฒนาเศรษฐกิจให้กาวทันโลกยุคโลกาภิวตน์ เพื่อให้สมดุล และพร้อมต่อการรองรับการ ้ ั เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ น อย่างดี 4. ความพอเพียง หมายถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเป็ นที่จะต้องมีระบบ ภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ้ 5. จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอยและความระมัดระวังอย่างยิงในการนําวิชาการต่าง ๆ มา ่ ใช้ในการวางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอน
  • 9. 3 6. จะต้องเสริ มสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจ ในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริ ต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสมดําเนินชีวิตด้วย ํ ความอดทน ความเพียร มีสติปัญญาและความรอบคอบ สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นิยามของความพอเพียง ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม กันดังนี้ „ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง ้ และผูอื่น เช่น การผลิตและการบริ โภคที่อยูในระดับพอประมาณ ้ ่ „ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็ นไปอย่างมี เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ อย่างรอบคอบ „ การมีภูมคุมกันในตัวที่ดี หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้าน ิ ้ ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้ และไกล เงื่อนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยูในระดับความพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ ่ และคุณธรรมเป็ นพื้นฐาน กล่าวถือ „ เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความ รอบคอบที่จะนําความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวัง ในขั้นปฏิบติ ั „ เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้าง ประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรม เช่น มีความ ซื่อสัตย์สุจริ ต ความอดทน ความเพียร ใช้สติปัญญาในการดําเนินชีวตไม่โลภ และไม่ตระหนี่ ิ
  • 10. 4 2.1 ภาพองค์ประกอบเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางปฏิบัต/ิ ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ ่ จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยังยืน พร้อมรับต่อ ่ การเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมสิ่งแวดล้อมความรู้และเทคโนโลยี แนวคิดพัฒนาภูมปัญญาไทย ิ จากพระราชดํารัส เศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงมีพระบรมราโชวาทครั้งแรกในปี พ.ศ. 2517 นั้นพระองค์มี พระราชประสงค์จะให้เป็ นแนวคิดนําในการพัฒนาประเทศ เพราะถ้าย้อนกลับไปศึกษาพระบรมราโชวาท ดังกล่าว จะเห็นได้ว่า เริ่ มต้นจากความสําคัญในการพัฒนาประเทศ จะต้องเน้นการสร้างพื้นฐาน คือ “การ พอมี พอกิน พอใช้ ” ถึงแม้ว่าที่กล่าวถึงส่วนใหญ่จะเป็ นการแก้ไขปัญหาให้กบเกษตรกร และการจัดการด้าน ั เกษตรกรรม ซึ่งเป็ นอาชีพหลักของคนไทย แต่ในความเป็ นจริ งพระองค์มีพระราชประสงค์ให้เศรษฐกิจ พอเพียง สามารถครอบคลุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกประเภทจากการที่ทรงเน้นเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะ ยุทธศาสตร์สาคัญในการพัฒนาประเทศดังกล่าวมาเป็ นเวลา 27 ปี (พ.ศ. 2517 - 2537 ) แต่กระนั้นคนส่วน ํ ใหญ่ซ่ึงรวมทั้งนักวิชาการ ข้าราชการระดับสูงเป็ นจํานวนมาก ก็ยงไม่เข้าใจในความหมายของเศรษฐกิจ ั พอเพียง ใน ปี พ.ศ. 2541 จึงทรงเน้นประเด็นนี้อกครั้ง “…เมือปี 2517 วันนั้นได้ พดว่า เราควรปฏิบัติ ี ่ ู ให้ พอมี พอกิน พอมี พอกิน ก็แปลว่าเศรษฐกิจพอเพียงนั้นเอง..”
  • 11. 5 หลังวิกฤตการทางเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2540 ที่นกวิชาการ กล่าวว่า เป็ นวิกฤตการณ์ฟองสบู่แตกผูคนตก ั ้ งานเดินทางกลับบ้าน และต้องหันไปพึ่งพิงทรัพยากรพื้นฐานในท้องถิ่น และประชาชนส่วนใหญ่อยูใน ่ ภาวะขวัญเสีย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงพระราชทานพระบรมราโชวาท เน้นยํ้าแนวพระราชดําริ ่ ั เศรษฐกิจพอเพียงให้เป็ นแนวทางสําหรับประชาชน จะต้องพยายามยืนหยัดด้วยตนเองบนพื้นฐานของ ทรัพยากรที่มีอยูจริ ง ลดการพึ่งพิงจากภายนอก ขณะเดียวกันก็พยายามพัฒนาศักยภาพและความยังยืนใน ่ ่ ระบบที่ตนมีอยู่ การที่กระบวนการเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ แต่ละหน่วยการผลิตในระบบจะต้องพยายามเข้าใจ เห็นคุณค่า และข้อจํากัดของฐานทรัพยากรในท้องถิ่นของตน จึงจะสามารถดึงคุณค่าที่มีอยูมาใช้ประโยชน์ ่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งตระหนักในความจําเป็ นที่จะต้องควบคุมการใช้ประโยชน์ทรัพยากรนั้นใน ขอบเขตไม่เกินขีดจํากัด จนอาจกลายเป็ นการทําลายฐานทรัพยากรของตนไปด้วย นันคือการที่ประชาชน ่ จะต้องเข้าใจการจัดการทรัพยากรท้องถิ่นในระบบเศรษฐกิจพอเพียง ภายหลังผ่านพ้นวิกฤตเศรษฐกิจ รัฐบาลได้ดาแนวคิดพระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการพัฒนาประเทศ จะเห็นได้จากแผนพัฒนา ํ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549 ) การสร้างงาน โครงการกองทุนหมู่บาน สินค้า ้ หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ การสร้างความเข้มแข็งให้กบชุมชน เพื่อให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ ซึ่ง ั หลายหมูบานประสบความสําเร็ จเป็ นแบบอย่างที่ดีในการบริ หารและการจัดการทรัพยากรในท้องถิ่นของ ่ ้ ตนเองสู่การพัฒนาที่ยงยืนในโอกาสต่อไป ั่ ความเหมาะสมทั้งวันนีและวันหน้ า ้ พระราชดํารัส เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 มีสาระที่สาคัญ ในการกล่าวถึงการดํารงชีพที่ไม่เป็ นไป ํ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง เช่น “…ขอเล่านิทานอีกเรื่ อง คือไปทางชลบุรี ครั้งหนึ่ง ก็หลายสิบปี แล้ว มี พ่อค้าคนหนึ่งเขาบอกว่า เขาไปทําโรงงานสับปะรดกระป๋ อง เขาลงทุนเป็ นล้าน จําไม่ได้ว่ากี่ลานเพื่อสร้าง ้ โรงงาน การลงทุนอย่างนั้นเลยบอกให้เขาทราบว่า ไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะว่าเคยทําโรงงานเล็ก ๆ ที่ทาง ภาคเหนือใช้เงิน 300,000 บาทเพื่อเอาผลิตผลของชาวเขามาใส่กระป๋ องแล้วขาย ก็ได้ผล เพราะเป็ นโรงงาน เล็กๆ แต่โรงงานเขาลงทุนเป็ นล้าน รู้สึกเสี่ยง เขาบอกว่าเขาต้องทําอย่างนั้น เขาก็ลงทุน ทําไปทํา มา สับปะรดที่บานบึงและชลบุรีมีไม่พอ ก็ตองไปซื้อสับปะรดจากปราณบุรี ต้องขนส่งมาด้วย เสีย ้ ้ ค่าใช้จ่ายมาก ทําไปทํามาโรงงานก็ลมอย่างนี้แสดงให้เห็นว่า ทําโครงการอะไรต้องให้นึกถึงขนาดที่ ้ เหมาะสมที่เรี ยกว่าอัตภาพหรื อกับสิ่งแวดล้อม นี่พดไปพูดมายังคิดถึงอีกรายที่ลาพูน มีการตั้งโรงงาน ู ํ สําหรับแช่แข็งผลผลิตของชาวไร่ ได้ไปเยียม แล้วเขาบ่นว่า คุณภาพของข้าวโพดที่ใส่กระป๋ องสําหรับแช่ ่ แข็งคุณภาพไม่ค่อยดี เขาบอกว่าจะซื้อในราคาแพงไม่ได้ ตอนนั้นไม่ทราบว่าเขาจะมีอนเป็ นอย่างไร ได้แค่ ั บอกเขาว่า น่าจะส่งเสริ มให้เกษตรกรปลูกข้าวโพด ให้ได้ขาวโพดที่คุณภาพดี โรงงานจะเจริ ญ เขาบอกว่า ้ ไม่ได้ เพราะคุณภาพไม่ดี อันนี้เป็ นปัญหาโลกแตก ถ้าไม่ให้ราคาดี หรื อไม่สนับสนุนเกษตรกรก็ทาให้ ํ ข้าวโพดคุณภาพดีไม่ได้ เรื่ องนี้ตอนแรกอาจดูเหมือนขาดทุน ดูจะไม่ได้ประโยชน์ จะไม่ได้คุณภาพจะ
  • 12. 6 ได้ขาวโพดที่ฟันหลอซึ่งเขาบอกเขาต้องทิ้ง เพราะเครื่ องจักรของเขาต้องมีขนาดข้าวโพดที่เหมาะสม เมื่อ ้ เป็ นอย่างนั้น ความจริ งไม่ได้แช่งเขา แต่นึกในใจว่าโรงงานอยูไม่ได้ และในที่สุดก็จริ ง ๆ ก็ลม อาคารอะไร ่ ้ ต่างๆ ยังอยู่ เดี๋ยวนี้ แต่ไม่มีใครเป็ นเจ้าของ เกะกะอยูอย่างนั้น ฉะนั้นจะทําโครงการอะไร จะต้องทําด้วย ่ ความรอบคอบและอย่าตาโตเกินไป…. ข้อสําคัญอยากจะพูดถึงว่า ถ้าหากว่าเราทําโครงการที่เหมาะสม ขนาดที่เหมาะสม อาจจะดูไม่ หรู หรา แต่ว่าจะไม่ลม หรื อถ้าล้มถ้ามีอนตรายไปก็ไม่เสี่ยงมาก เช่น โรงงานผลไม้บรรจุกระป๋ องที่ริเริ่ มทํา ้ ั ที่อาเภอฝางนั้น วันหนึ่งเขาติดต่อมาบอกว่านํ้าท่วม นํ้าจากเขาลงมาพัดโรงงานเสียหายเลยบอกว่าไม่ ํ เป็ นไร จะสนับสนุนเงินเพิ่มเติม เพราะที่ดินตรงนั้นซื้อแล้ว เครื่ องมือเครื่ องใช้ ก็สนับสนุนเขาอีก 400,000 บาท ก็ต้งขึ้นมาใหม่ต่อไปก็ใช้งานได้มกาไร อันนี้หลายปี แล้ว..” ั ี ํ จากพระราชดํารัสดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงมีตวอย่างเป็ นรู ปธรรมที่สามารถนํามา ่ ั ั ประยุกต์กบอุตสาหกรรมได้ ดังนั้น พระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียงนั้น สามารถใช้เป็ นยุทธศาสตร์ในการ ั พัฒนาประเทศ และสามารถนํามาประยุกต์ใช้กบกิจการสาขาต่างๆ ั ทั้งในปัจจุบนและในอนาคต ั “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงพระราชดํารัสชี้แนะแนวทางการ ่ ั ดําเนินชีวตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจและ ิ เมื่อภายหลังได้ทรงเน้นยํ้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดํารงอยูได้อย่างมันคงและยังยืน ่ ่ ่ ภายใต้กระแสโลกาภิวตน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ั ทศพิธราชธรรม นาพาให้ สุขสม ทุกครั้งที่ชมข่าวในพระราชสํานัก เราคนไทยทุกคนตระหนักดีในพระราชกรณี ยกิจที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูหวทรงมีต่อพสกนิกรโดยเฉพาะในวันที่ 4 ธันวาคม ทุกๆ ปี พระองค์จะทรงพระราชทานพระ ่ ั บรมราโชวาทให้ขอคิดสอนใจคนไทย จะเห็นได้ว่า พระองค์ทรงมีเมตตาธรรม พระราชกรณี ยกิจที่ทรง ้ ปฏิบติ ั เปี่ ยมล้นด้วยคุณธรรม 10 ประการ หรื อที่เรี ยกว่า ทศพิธราชธรรม ดังนี้ 1. การมีน้ าใจการให้(ทาน)ช่วยเหลือผูที่ดอยกว่าอ่อนแอกว่า ํ ้ ้ 2. การตั้งอยูในศีล(ศีล)มีความประพฤติที่ดีงาม ่ 3. การบริ จาค(ปริ จาคะ)การเสียสละความสุขเพื่อประโยชน์สุขของหมู่คณะ 4. ความซื่อตรง(อาชชวะ)ปฏิบติงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริ ต ั 5. ความอ่อนโยน(มัททวะ)มีกิริยาสุภาพ สง่างาม 6. ความเพียร(ตปะ)มีความเพียรพยายามในการทํางานเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 7. ความไม่โกรธ(อักโกธะ)จิตที่มนคงไม่ฉุนเฉียว ั่ 8. ความไม่เบียดเบียน(อวิหิงสา)ไม่ข่มเหงนํ้าใจผูอื่น ้ 9. ความอดทน(ขันติ)สามารถเผชิญกับความยากลําบากอย่างเข้มแข็ง 10. การตั้งมันในธรรม (อวิโรธนะ) ประพฤติอยูในความดีงามเสมอต้นเสมอปลาย ่ ่
  • 13. 7 จากคุณธรรมที่ทรงประกาศว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขของพสกนิกรชาว สยาม” พระองค์จึงทรงเป็ นพ่อของแผ่นดินที่สถิตอยูในดวงใจคนไทยทุกคน โครงการพระราชดําริ ของ ่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวที่ได้ดาเนินการในการแก้ไขปัญหามีอยูมากมาย เช่น โครงการฝนหลวงเป็ น ่ ั ํ ่ โครงการที่แก้ไขปัญหาภัยแล้งโดยอาศัยเทคโนโลยีทาฝนหลวงหรื อฝนเทียม โครงการในพระบรมราชานุ ํ เคราะห์ เป็ นโครงการที่พระราชทานข้อแนะนํา และแนวพระราชดําริ ให้เอกชนไปดําเนินการโครงการ พระราชดําริ เป็ นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลดําเนินการ หรื อเรี ยกว่าโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดําริ เช่น โครงการห้วยองคต อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ในพื้นที่ตาบลสมเด็จ ํ เจริ ญ อําเภอหนองปรื อ จังหวัดกาญจนบุรี 2.2 ภาพตัวอย่างของเศรษฐกิจพอเพียง ที่มา : ครู สุรนาถ ปูชนียพงศกร ประยุกต์ เศรษฐกิจไทยในสังคม จากการประมวลพระราชดําริ ทั้งในเอกสารทางราชการและตัวอย่างที่ทรงดําเนินงานมาศึกษานอกจาก ภาคเกษตรกรรมแล้ว ยังสามารถประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงกับการดําเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมและ พาณิ ชยกรรม ได้ดงนี้ ั 1.ใช้เทคโนโลยีที่ถกหลักวิชาการแต่มีราคาถูก ู 2.ใช้ทรัพยากรทุกชนิดอย่างประหยัดและมีคุณภาพสูงสุด 3. เน้นการจ้างงานเป็ นหลักโดยไม่นาเทคโนโลยีมาทดแทนแรงงาน ยกเว้นในกรณี ที่จาเป็ น ํ ํ 4.มีขนาดการผลิตที่สอดคล้องกับความสามารถในการบริ หารและการจัดการ 5.ไม่โลภมากเกินไปและไม่เน้นกําไรระยะสั้นเป็ นหลัก 6. ซื่อสัตย์สุจริ ตในการประกอบการและไม่เอาเปรี ยบผูบริ โภค ไม่เอาเปรี ยบแรงงานหรื อลูกค้าตลอดจน ้ ไม่เอาเปรี ยบผูจาหน่ายวัตถุดิบ ้ํ 7. เน้นการกระจายความเสี่ยงตํ่า โดยเฉพาะอย่างยิงไม่ก่อหนี้จนเกินความสามารถ ในการบริ หารและ ่ การจัดการ
  • 14. 8 8. เน้นการบริ หารความเสี่ยงตํ่าโดยเฉพาะอย่างยิงไม่ก่อหนี้จนเกินความสามารถในการบริ หารและการ ่ จัดการ 9. เน้นการใช้วตถุดิบภายในท้องถิ่นและตอบสนองตลาดในท้องถิ่น ภูมิภาค ตลาดภายในประเทศและ ั ตลาดต่างประเทศเป็ นหลัก การเรี ยนรู้แก่นแท้ของการแก้ไขปัญหา โดยพิจารณาสาเหตุดวยความมีสติรอบคอบ ใช้ปัญญาพิจารณา ้ ค้นหาเหตุผล สิ่งสําคัญคือ จริ ยธรรมของบุคคลในการดํารงชีวิตร่ วมกัน การดําเนินธุรกิจทุกประเภท ถ้า รู้จกนําข้อมูลที่ได้จากการชี้แนะของผูที่มีประสบการณ์ก็จะเป็ นประโยชน์อย่างยิงดังที่พระบาทสมเด็จพระ ั ้ ่ เจ้าอยูหวทรงให้แนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ่ ั ประชานิยมสู่ ศรัทธามหาชน จากทฤษฎีใหม่สู่เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยงยืน ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงมีพระมหา ่ั ่ ั กรุ ณาธิคุณต่อพสกนิกรไทย การที่จะทําให้คนไทยทุกคนประสบความสําเร็ จเป็ นเรื่ องที่ยากแต่จะทําอย่างไร ในการที่พวกเราจะสามารถดําเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข เป็ นไปตามพื้นฐานของแต่ละบุคคล ปัจจัยสําคัญ ที่จะต้องกลับมาพิจารณาปรับวิธีคิด วิธีการทํางาน ความสําคัญของแนวทางการดําเนินชีวตของแต่ละบุคคล ิ ควรมี ได้แก่ 1.ความอดทนต่อการดาเนินชีวต ปัญหาทุกอย่างสามารถแก้ไขได้ ถ้าใจมันคง แม้จะต้องใช้เวลาและ ิ ่ มาตรการต่างๆ เพื่อให้ความสําเร็ จเกิดขึ้น 2.ความมีนาใจต่อกัน ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ได้ให้แนวทางในการร่ วมมือกัน มีน้ าใจแก่กน ้ ํ ั เช่น การลงแขกเกี่ยวข้าว การทําขนมกระยาสารทแล้วแบ่งปันเพื่อนบ้าน 3.ความมีวนัยในตนเอง จะต้องรู้จกกิน รู้จกใช้ วางแผนการใช้จ่าย ิ ั ั 4.รู้ จกการบริหารและการจัดการชีวต รู้จกการวางแผนครอบครัว การเตรี ยมการในการประกอบอาชีพ ั ิ ั การหาสถานศึกษาใกล้บานให้กบลูกได้ศึกษาเล่าเรี ยน การสร้างที่อยู่ อาศัยสร้างความมันคงให้กบครอบครัว ้ ั ่ ั 5.มีมาตรฐานทางใจ ลดละเลิกในสิ่งที่ไม่จาเป็ นต่อการดําเนินชีวต สุรา ยาเสพติด การเที่ยวกลางคืน ํ ิ การรู้จกฉลาดใช้ ตัวอย่างเช่น การใช้โทรศัพท์มือถือมีความจําเป็ นหรื อไม่ หรื อถ้าจําเป็ นต้องใช้เครื่ องเดียว ั สามารถใช้ได้นานๆ แต่ถามีไว้อวดเพื่อความโก้เป็ นเครื่ องประดับที่คิดว่าเป็ นคนทันสมัยจะมีกี่เครื่ องก็ไม่ ้ พอทุกครั้งที่มเี ครื่ องรุ่ นใหม่ออกมาก็ตองเปลี่ยนทุกครั้ง ทําให้เป็ นภาระหนี้สินที่เกินความจําเป็ น ้ 6.อย่าอายทากิน อย่าหมิ่นเงินน้อย อย่าคอยวาสนา งานบางอย่างอาจได้ค่าตอบแทนน้อย ไม่ตรงกับ ความต้องการ แต่การทํางานนอกจากได้ค่าตอบแทนเป็ นเงินตราแล้วสิ่งที่มค่ามากที่สุด คือประสบการณ์ ี 7.จงมองในสิ่งที่เขาเป็ นอยู่ไม่ใช่ มองในสิ่งที่เราอยากให้ เขาเป็ น การเข้าใจผูอื่นที่อาจมีความคิดเห็นมีการ ้ ดําเนินชีวตที่แตกต่างจากเรา เขาอาจมีมาตรฐานทางใจต่างจากเรา เช่น การใส่เสื้อผ้าราคาถูกการประกอบ ิ อาชีพเกษตรกร ไม่ได้หมายถึงการเป็ นคนที่ดอยพัฒนา คนเรามีความแตกต่างกัน ความสุขของแต่ละบุคคล ้ จึงแตกต่างกัน การเปลี่ยนแปลงอะไรก็ตาม ต้องให้เขาเปลี่ยนแปลงตัวของเขาเองในสิ่งที่เขาต้องการจะเป็ น
  • 15. 8.ครอบครัวอบอุ่น สังคมเข้มแข็ง ครอบครัวเป็ นรากฐานที่สาคัญของสังคม ในการถ่ายทอดแบบอย่าง ํ วิถีชีวิต 9.ภูมใจในความเป็ นไทย ภูมิปัญญาไทย วิถีไทย เศรษฐกิจพอเพียง มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับภูมิ ิ ปัญญาไทย วิถีการดําเนินชีวิตของคนไทยในสังคมชนบทที่ยงพึ่งพาภูมิปัญญาไทย ปราชญ์ชาวบ้านตัวอย่าง ั ของสินค้าหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ที่ประสบความสําเร็ จเป็ นที่ยอมรับสู่มาตรฐานสากล 2.3 ภาพตัวอย่างของเศรษฐกิจพอเพียง 10 ที่มา : ครู สุรนาถ ปูชนียพงศกร ปวงชนสุ ขล้ นสู่ การพัฒนาอย่ างยังยืน ่ เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับคนทุกคน ไม่ใช่เป็ นเรื่ องของเกษตรกร ไม่ใช่เกี่ยวข้องกับ อุตสาหกรรมการผลิตและการค้า แต่เป็ นเรื่ องของการดําเนินชีวิตตามปกติของคนในสังคม คนไทยโชคดีที่ มีสถาบันพระมหากษัตริ ยที่เข้มแข็งเปี่ ยมล้นด้วยทศพิธราชธรรม การพัฒนาประเทศไม่ใช่เรื่ องที่เกี่ยวข้อง ์ กับรัฐบาลเพียงอย่างเดียว คนไทยทุกคนต้องมีส่วนร่ วมในวิกฤติการณ์น้ ามันที่มีราคาแพง สินค้าอุปโภค ํ บริ โภคมีราคาสูง ภาวะเงินเฟ้ อเพิ่มมากขึ้น มาตรการหลายๆ อย่างที่ภาครัฐได้ดาเนินการ แต่ไม่ยงใหญ่ ํ ิ่ เท่ากับแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็ นการปรับวิธีคิด วิธีการดําเนินชีวิตใหม่ให้คนไทยได้ ตระหนักและภาคภูมิใจในภูมิปัญญาไทย การที่เราคิดได้ ทําได้ เข้าใจปัญหาที่แท้จริ ง เช่น นํ้ามันแพง ถ้าใช้มาตรการประหยัดอย่างเดียวจะ ประสบความสําเร็ จน้อย แต่ถาใช้แนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง คือ พอมี พอกิน เราจะใช้รถยนต์ให้ ้ คุมค่ากับความจําเป็ นให้มากที่สุด ้ ขณะเดียวกันก็คิดหาพลังงานทดแทนที่มีตนทุนราคาถูกมาทดแทน ้ ประชาชนคนไทยทุกคนมีหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี การเกิดบนผืนแผ่นดินไทยภายใต้ร่มพระบารมีของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว เราพูดเสมอว่า เรารักในหลวง ดังนั้น ควรที่จะทําในสิ่งที่พระองค์ทรงมีพระ ่ ั ราชประสงค์ที่จะให้เศรษฐกิจพอเพียง..เลี้ยงคนไทยให้ยงยืน ั่ เราจะทําหน้าที่กนอย่างไรบ้าง ข้อเสนอแนะต่อไปนี้เป็ นแนวทางที่จะบอกว่า เราเป็ นข้าของแผ่นดินเรา ั จะทดแทนคุณแผ่นดินและสํานึกในพระมหากรุ ณาธิคุณที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูท่านทรงเมตตาต่อพสก ่
  • 16. นิกรชาวไทย ดังนี้ 1. นักเรี ยนสามารถดําเนินชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงได้ เช่น มีความขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีความ รับผิดชอบ ขยันหมันเพียรในการเรี ยน เพื่อให้สามารถนําความรู้ไปใช้ในการดําเนินชีวิตอย่างรู้เท่าทันโลก ่ ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว เธอทั้งหลายเป็ นพลังของแผ่นดิน ต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผูอื่นไม่เอา ้ เปรี ยบสังคม ไม่เห็นแก่ตว สร้างความเดือดร้อนให้กบสังคม มีความรับผิดชอบในสถานภาพและบทบาท ั ั ของตนเอง การเป็ นลูกที่ดีของพ่อแม่ เป็ นศิษย์ที่ดีของครู อาจารย์ เป็ นเพื่อนที่ดีและเป็ นสมาชิกที่ดีของ สังคม การให้ความร่ วมมือเป็ นสิ่งที่จาเป็ น เพราะปัญหาของสังคมรอการแก้ไขมากมายหลายเรื่ องจึงเป็ น ํ หน้าที่ของทุกคน 2. ข้าราชการเป็ นกลไกที่สาคัญที่ขบเคลื่อนการพัฒนาไปสู่ประชาชน ข้าราชการ หมายถึง ผูรับใช้ ํ ั ้ พระราชา ทําอย่างไรให้ประชาชนอุ่นใจ เป็ นที่พ่งของประชาชน ความซื่อสัตย์สุจิต ความเสียสละและ ึ ความรับผิดชอบ เป็ นสิ่งที่ประชาชนปรารถนามากที่สุด การฉ้อราษฎร์บงหลวงประเทศชาติตองสูญเสียเงิน ั ้ งบประมาณซึ่งเป็ นภาษีอากรของประชาชนเป็ นจํานวนมาก ทําให้การพัฒนาประเทศไม่ประสบความสําเร็ จ เท่าที่ควรจะเป็ น การดําเนินชีวตพอมีพอกินตามแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียงของพระองค์ท่านทรง ิ เป็ นแบบอย่างที่ชดเจนที่สุด พระองค์ท่านทรงงานหนักมากในพระราชกรณี ยกิจแต่ละวันเป็ นที่ประจักษ์ ั 3. นักธุรกิจ จะต้องดําเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมและมีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ ไม่เอารัดเปรี ยบไม่ ดําเนินธุรกิจในทางที่ไม่ถกต้อง ู ไม่มีการละเมิดลิขสิทธิ์ ไม่มีการเอารัดเอาเปรี ยบผูบริ โภคในภาวะ ้ เศรษฐกิจที่ตองการความร่ วมมือร่ วมแรงร่ วมใจ ้ นักธุรกิจไทยต้องเอาใจใส่ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 4. เกษตรกร จะต้องปรับวิธีการดําเนินชีวิต มีวินยในการใช้จ่าย รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง พัฒนา ั ตนเอง พึ่งพาตนเองให้มากที่สุด ภูมิปัญญาไทย เป็ นมรดกที่ตกทอดมาถึงลูกหลานไทย ต้องใส่ใจที่จะดูแล และสานต่อ แนวพระราชดําริ ทฤษฏีใหม่ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวได้ทรงให้แนวทางในการบริ หาร ่ ั และจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ สามารถเลี้ยงตัวเองและครอบครัว ตามปรัชญาชีวตที่ว่า “กินอิ่ม ิ นอนอุ่น อดออม เอื้ออาทรแก่กน” เมื่อนั้น สังคมจะมีแต่ความผาสุก เป็ นสังคมที่เข้มแข็งตามแนว ั พระราชดําริ ปรัชญาของ“เศรษฐกิจพอเพียง...เลี้ยงคนไทยให้ยงยืน” ั่ การนําเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจําวัน(จากข้อความของดร.วรัญํูสุจิวรพันธ์พงศ์) กฎเบื้องต้นของเศรษฐศาสตร์ก็คือ เราเชื่อว่าทรัพยากรที่มีอยูในโลกมีอยูจากัด แต่มนุษย์เรามีความ ่ ่ํ ต้องการที่ไม่จากัด ดังนั้นเศรษฐศาสตร์ ก็คือศาสตร์ ที่ว่าด้วยการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอย่างจํากัดให้คุมค่า ํ ่ ้ และสอดคล้องตามความต้องการของมนุษย์ให้มากที่สุด แต่ปัจจุ บน โลกมันวุนวาย เพราะมีบางกลุ่มบาง ั ่ ประเทศ เช่น สหรัฐอเมริ กา มีประชากรแค่ 200 ล้านคน แต่ใช้ทรัพยากรของโลก ไปเกิน 95% เป็ นต้น
  • 17. 11 แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง อธิบายสั้นๆ ก็คือการใช้ทรัพยากรที่มีอยูอย่างพอดี ไม่นอย หรื อไม่มากเกินไป ไม่เกินตัว ทรัพยากรที่พด ่ ้ ู ถึงคือ ยกตัวอย่างง่ายๆ และ ใกล้ตวเราที่สุดก็คือ เงิน คือให้ใช้เงินให้เป็ น และรู้จกออม ถ้านําแนวคิด ั ั เศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้กบการใช้เงินของเราเพื่อช่วยเหลือชาติแบบง่ายๆ ก็จะทําได้ดงนี้ ั ั บทที่ 3 การยอมรับ ความเข้ าใจของประชาชนชาวไทย ปัญหาหนึ่งของการนําปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ก็คือ ผูนาไปใช้อาจยังไม่ได้ศึกษาหรื อไม่มีความรู้ ้ ํ เพียงพอ ทั้งยังไม่กล้าวิเคราะห์หรื อตั้งคําถามต่อตัวปรัชญา เนื่องจากเป็ นปรัชญาของพระมหากษัตริ ย ์ ความชอบธรรมให้กบการพัฒนารู ปแบบใด ั หรื อมีนยยะทางการเมืองอะไรอยูเ่ บื้องหลัง ั การเชิดชู 13 นักคิดระดับโลกเห็นด้วยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และมีการนําเสนอบทความ บทสัมภาษณ์ เป็ น การยืนข้อเสนอแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่โลกเช่น ่ ศจ. ดร. วูลฟกัง ซัคส์ นักวิชาการด้านสิ่งแวดล้อมคนสําคัญของเยอรมนี สนใจการประยุกต์ใช้หลักปรัชญา ์ เศรษฐกิจพอเพียงอย่างมาก และมองว่าน่าจะเป็ นอีกทางเลือกหนึ่งสําหรับทุกชาติในเวลานี้ ทั้งมีแนวคิด ผลักดันเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็ นที่รู้จกในเยอรมนี ั ศจ. ดร.อมาตยา เซน ศาสตราจารย์ชาวอินเดีย เจ้าของรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ปี ค.ศ. 1998 มองว่า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นการใช้สิ่งต่างๆ ที่จาเป็ นต่อการดํารงชีพ และใช้โอกาสให้พอเพียงกับชีวิตที่ดี ํ ซึ่งไม่ได้หมายถึงความไม่ตองการ แต่ตองรู้จกใช้ชีวิตให้ดีพอ อย่าให้ความสําคัญ กับเรื่ องของรายได้และ ้ ้ ั ความรํ่ารวยแต่ให้มองที่คุณค่าของชีวตมนุษย์ ิ นายจิกมี ทินเลย์ นายกรัฐมนตรี แห่งประเทศภูฏาน ให้ทรรศนะว่า หากประเทศไทยกําหนดเรื่ องเศรษฐกิจ พอเพียงให้เป็ นวาระระดับชาติ และดําเนินตามแนวทางนี้อย่างจริ งจัง "ผมว่าประเทศไทยสามารถสร้างโลก ใบใหม่จากหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สร้างชีวิตที่ยงยืน และสุดท้ายจะไม่หยุดเพียงแค่ในประเทศ แต่จะ ั่ เป็ นหลักการและแนวปฏิบติของโลกซึ่งหากทําได้สาเร็ จไทยก็คือผูนา" ั ํ ้ ํ
  • 18. 12 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้รับการเชิดชูเป็ นอย่างสูงจากองค์การสหประชาชาติ โดยนายโคฟี อันนัน ใน ฐานะเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลความสําเร็ จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์ แด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 และได้มีปาฐกถาถึงปรัชญาเศรษฐกิจ ่ ั พอเพียงว่า เป็ นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ และสามารถเริ่ มได้จากการสร้าง ภูมิคุมกันในตนเองสู่หมู่บานและสู่เศรษฐกิจในวงกว้างขึ้นในที่สุด ้ ้ และนาย Håkan Björkman รักษาการผูอานวยการสํานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติในประเทศไทย ้ํ กล่าวเชิดชูปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง และยังได้ตระหนักถึงวิสยทัศน์และแนวคิดในการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระ ั เจ้าอยูหว และองค์การสหประชาชาติยงได้สนับสนุนให้ประเทศต่าง ๆ ที่เป็ นสมาชิก 166 ประเทศให้ยดเป็ น ่ ั ั ึ แนวทางสู่การพัฒนาประเทศแบบยังยืน ่ การวิพากษ์ อย่างไรก็ตาม ศ. ดร. เควิน ฮิววิสน อาจารย์ประจํามหาวิทยาลัยนอร์ธแคโรไลนา แชพเพลฮิลล์ ได้ ั วิจารณ์รายงานขององค์การสหประชาชาติโดยสํานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ที่ยกย่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ว่า รายงานฉบับดังกล่าวไม่ได้มีเนื้อหาสนับสนุนว่าเศรษฐกิจพอเพียงเป็ น “ทางเลือกที่จาเป็ นมากสําหรับโลกที่กาลังดําเนินไปในเส้นทางที่ไม่ยงยืนอยูในขณะนี้” เลย และกล่าวว่า ํ ํ ั่ ่ เนื้อหาในรายงานแทบทั้งหมดเป็ นเพียงการเทิดพระเกียรติ และเป็ นเพียงเครื่ องมือในการโฆษณาชวนเชื่อ ภายในประเทศเท่านั้น ส่วน Håkan Björkman รักษาการผูอานวยการสํานักงานโครงการพัฒนาแห่ง ้ํ สหประชาชาติ กล่าวว่า "สํานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติตองการที่จะทําให้เกิดการอภิปราย ้ พิจารณาเรื่ องนี้ แต่การอภิปรายดังกล่าวนั้นเป็ นไปไม่ได้ เพราะอาจสุ่มเสี่ยงต่อการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ซึ่งมีโทษถึงจําคุก" นอกจากนี้ ยังมีการวิพากษ์วิจารณ์อีกว่าแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นรู ปแบบที่ไม่มีความแตกต่างไป จาก "ความนิยมท้องถิ่น" (Localism) เลย และยังมีชาวต่างชาติอีกมากที่ยงไม่เข้าใจว่าแนวปรัชญาเศรษฐกิจ ั พอเพียง แท้จริ งแล้วหมายถึงอะไร
  • 19. 13 บทที่ 4 เศรษฐกิจพอเพียง กับการศึกษา การนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ในสถาบันการศึกษาทีมส่วนร่ วมกับชุมชน ่ ี ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาชี้แนวการดํารงอยูและปฏิบติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ ่ ั ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริ หารประเทศให้ดาเนินไปในทางสาย ํ กลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้กาวทันต่อโลกยุคโลกาภิวตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความ ้ ั พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเป็ นที่จะต้องมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมี ้ ผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิง ในการนําวิชาการต่างๆ ่ มาใช้ในการวางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริ มสร้างพื้นฐานจิตใจของคน ในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์ ํ สุจริ ตและให้มีความรู้ที่เหมาะสม ดําเนินชีวตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ ิ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี “หากพิจารณาพระราชดํารัสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวพระราชทาน เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2548 ่ ั ที่ผานมายิงทําให้เห็นว่า พระองค์ทรงให้ความสําคัญกับเรื่ องเศรษฐกิจพอเพียงมากเพียงใด ทรงเชื่อมันว่า ่ ่ ่ การจะรับมือกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ได้ นั้น ประเทศไทยต้องใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญานําทาง และน่ายินดีที่ว่า หลังจากนั้นหลายหน่วยงานได้นอมนําพระราชดํารัสข้างต้นไปยึดถือปฏิบติ” ้ ั แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550-2554 มุ่งสู่ "สังคมอยูเ่ ย็นเป็ นสุข ร่ วมกัน" รวมทั้งนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็ นหลักปฏิบติ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ได้หมายถึง ั ประหยัดมัธยัสถ์ ไม่ใช้เงิน แต่เป็ นการเดินทางสายกลาง ให้สอดคล้องเหมาะสมกับสภาพการณ์ทาง เศรษฐกิจ สังคม แต่ละบุคคล หรื อองค์กร โดยไม่ลงทุนเกินตัว และยึดหลักคุณธรรม เน้นความมันคง และ ่ ยังยืน ่
  • 20. 14 แนวทางการนาแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปจัดการศึกษาใน สถานศึกษา ก. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สถานศึกษาควรมุ่งส่งเสริ มการเรี ยนรู้และปลูกฝัง เสริ มสร้างให้ผเู้ รี ยนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ 1. มีความรู้ ความเข้าใจ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และตระหนักในความสําคัญ ของการดําเนิน ชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ 1.1 มีความรู้ ความเข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและความเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจ ทัวไป ่ 1.2 มีความรู้ ความเข้าใจในการดําเนินชีวตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ิ 1.3 เห็นประโยชน์ และตระหนักในความสําคัญของการดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและการใช้แนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาตนเอง พัฒนากลุ่ม และพัฒนา สังคม 2. มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ 2.1มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดํารงชีวตและการพัฒนาอาชีพ เช่น การเกษตร การผลิตและ ิ จําหน่ายสินค้า การดําเนินธุรกิจ การใช้จ่ายและการออม ฯลฯ 2.2 ใช้และพัฒนาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมให้ได้ประโยชน์สูงสุดและยังยืน ่ 2.3 สืบสานและพัฒนาศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 2.4 รักและภาคภูมิใจในความเป็ นไทย 3. ปฏิบติตนและดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ ั
  • 21. 15 3.1 ปฏิบติตนให้มีความพอประมาณ รู้จกการประมาณตน รู้จกศักยภาพของตนที่มีอยู่ ั ั ั 3.2 ปฏิบติตนอย่างมีเหตุผล ปฏิบติสิ่งต่าง ๆ บนพื้นฐานของความมีสติ ปัญญา ยึดทางสายกลาง ั ั ในการปฏิบติ ั 3.3 มีภูมิคุมกันที่ดีในตัว พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ้ 3.4 มีความรอบรู้ในเรื่ องที่เกี่ยวข้อง สามารถคิดวิเคราะห์และปฏิบติดวย ความรอบคอบ ั ้ ระมัดระวัง 3.5 ปฏิบติตนและดําเนินวิถีชีวตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยความซื่อสัตย์สุจริ ต ั ิ ขยัน อดทน เพียรพยายาม แบ่งปัน มีสติ ปัญญา มีวินย พึ่งตนเอง แบ่งปัน เอื้ออาทร รับผิดชอบและอยู่ ั ร่ วมกับผูอื่นได้อย่างมีความสุข ้ ข. แนวทางในการพัฒนาผู้เรียนตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. การพัฒนาหลักสู ตร มีแนวทางดําเนินการดังนี้ สถานศึกษาควรมีการพัฒนาหรื อบูรณาการเนื้อหาสาระของเศรษฐกิจพอเพียงเข้าไปในหลักสูตร สถานศึกษา ตามขั้นตอนดังนี้ 1.1สถานศึกษานําคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน ตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาพิจารณาปรับปรุ งหรื อเพิ่มเติม วิสยทัศน์ เป้ าหมายและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยนใน ั หลักสูตรสถานศึกษา 1.2 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ปรับปรุ งหรื อเพิ่มเติมมาตรฐานการเรี ยนรู้ใน แต่ละช่วงชั้น ให้สอดคล้องกับวิสยทัศน์ เป้ าหมาย และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยนตามแนว ั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของหลักสูตรสถานศึกษาที่ปรับปรุ งหรื อเพิ่มเติม 1.3 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ปรับปรุ ง เพิมเติมหรื อจัดทําสาระการเรี ยนรู้ ่ หน่วยการจัดการเรี ยนรู้และแผนการจัดการเรี ยนรู้ ตามลําดับ เพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นไปตามมาตรฐานการ เรี ยนรู้แต่ละช่วงชั้นตามข้อ 1.2