SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  111
Télécharger pour lire hors ligne
ทวีปอเมริกาใต้
SOUTH AMERICA
โดย ครูจิตเสน เหล็งหวาน
ทวีปอเมริกาใต้ SOUTH AMERICA
ที่ตั้ง
ทวีปอเมริกาใต้ อยู่ระหว่าง ละติจูดที่ 14
องศาเหนือ ถึง ละติจูดที่ 55 องศาใต้ และ
ลองจิจูด 34 - 117 องศาตะวันตก โดยมีจุด
เหนือสุดอยู่ที่แหลมปุนตากัลลิยาส ประเทศ
โคลัมเบีย และจุดใต้สุด คือ แหลมฮอร์น
ประเทศชิลี ทวีปอเมริกาใต้เป็ นทวีปที่เส้น
ศูนย์สูตรโลกลากผ่าน ซึ่งมีพื้นที่ส่วนใหญ่
อยู่ในซีกโลกใต้ ขนาบข้างด้วยมหาสมุทร
แปซิฟิกและมหาสมุทรแอตแลนติก
ทวีปอเมริกาใต้มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก รองจากทวีป
เอเชีย ทวีปแอฟริกา และทวีปอเมริกาเหนือตามลาดับ โดยทวีปอเมริกาใต้มี
เนื้อที่ประมาณ 17.8 ล้านตารางกิโลเมตร
รูปร่างของทวีปอเมริกาใต้มีลักษณะเป็ นรูปสามเหลี่ยมหัวกลับ
คล้ายกับทวีปอเมริกาเหนือ มีฐานกว้างทางตอนเหนือ และเรียวแคบลงมา
ทางตอนใต้ทวีปอเมริกาใต้
มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม
คล้ายกับทวีปอเมริกาเหนือ มีฐานกว้างทางตอนเหนือ และเรียวแคบลงมา
ทางตอนใต้ มีพื้นที่อยู่ระหว่าง ละติจูดที่ 12 องศาเหนือ ถึง ละติจูดที่ 56
องศาใต้
ขนาด
อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดต่อกับทะเลแคริบเบียน และ
แผ่นดินติดต่อกับอเมริกากลางที่คอคอด
ปานามา
ทิศใต้ ติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก และ
มหาสมุทรแปซิฟิก
ทิศตะวันออก ติดต่อกับมหาสมุทร
แอตแลนติก
ทิศตะวันตก ติดต่อกับมหาสมุทรแปซิฟิก
และคลองปานามา
ทวีปอเมริกาใต้มีชายฝั่งทะเลที่ไม่เว้าแหว่งมากคล้ายกับทวีป
แอฟริกาและทวีปออสเตรเลีย จึงทาให้มีอ่าวขนาดใหญ่เพียงเล็กน้อย เช่น
อ่าวเวเนซูเอลาทางตอนเหนือของทวีป อ่าวนี้มีทางน้าเชื่อมติดต่อกับทะเลสาบ
น้าเค็ม คือ ทะเลสาบมาราไกโบ
นอกจากนี้ยังมีลักษณะชายฝั่งแบบฟยอร์ดซึ่งเกิดจากการกระทา
ของธารน้าแข็งทางชายฝั่งด้านตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศชิลี
ทางตอนใต้สุดของทวีปมีช่องแคบแมกเจลแลนกั้นระหว่าง
แผ่นดินใหญ่ กับเกาะติแอร์ราเดลฟูเอโก และห่างจากชายฝั่งประมาณ 400
กิโลเมตร มีหมู่เกาะฟอล์กแลนด์
ลักษณะภูมิประเทศ
บริเวณต่างๆภายในทวีปอเมริกาใต้มี
สภาพภูมิศาสตร์ที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด
คือมีเทือกเขาแอนดีสทางตะวันตกขนานกับ
ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก นับเป็นเทือกเขาที่
ยาวที่สุกในโลก
มีที่ราบลุ่มแม่น้าแอมะซอลที่ใหญ่ที่สุด
ในโลก มีความยาวประมาณ 6,259 กิโลเมตร ซึ่ง
แม่น้าแอมะซอลนี้ถือว่าเป็นแม่น้าที่มีความยาว
เป็นอันดับลองของโลกรองจากแม่น้าไนล์ใน
ทวีปแอฟริกา
ลักษณะภูมิประเทศ (ต่อ)
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริกาใต้
สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 เขต คือ
1. เขตเทือกเขา และที่ราบสูงภาคตะวันตก
2. เขตที่ราบสูงภาคตะวันออก
3. เขตที่ราบลุ่มแม่น้า
• เป็นเทือกเขาหินใหม่ทอดแนวยาวจากเหนือไปใต้ได้แก่ เทือกเขา
แอนดีสขนานกับแนวชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก มีความยาว
ประมาณ 6,440 กิโลเมตร ยอดเขาสูงสุด คือ อะคอนคากัว (สูง
6,960 เมตร) อยู่ในเขตประเทศอาร์เจนตินา และเนื่องจากที่
เทือกเขาในเขตนี้เป็นเทือกเขายุคหินใหม่เปลือกโลกบริเวณนี้จึง
ยังไม่มั่นคง ทาให้มีแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดเกิดขึ้น
• เป็นเทือกเขาที่วางตัวขนานกับด้านตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้
เป็นเทือกเขาที่ยาวที่สุดในโลก พาดผ่าน ถึง 6 ประเทศตั้งแต่
โคลัมเบีย เอกวาดอร์ เปรู โบลิเวีย อาร์เจนตินา และ ชิลี เทือกเขา
เกิดจากแนวรอยปะทะกันของแผ่นเปลือกโลก 2 แผ่นปะทะกัน
เป็นเวลานานหลายล้านปี โดยแผ่นเปลือกโลกอเมริกาใต้กดทับ
แผ่นเปลือกโลกนาซกา
1. เขตเทือกเขา และที่ราบสูงภาคตะวันตก
เทือกเขาแอนดีส
• ที่ราบสูงกายอานา (เกียนา) ตั้งอยู่ในประเทศเวเนซุเอลาและ
ประเทศกายอานา ระหว่างแม่น้าแอมะซอน กับแม่น้าโอริโนโค
มีทุ่งหญ้าเขตร้อนขึ้นอยู่ทั่วไป เรียก “ทุ่งหญ้ายาโนส” ซึ่งเป็น
เขตทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ขนาดใหญ่ และเป็นแหล่งผลิตกาแฟที่มี
ชื่อเสียงของโลก
• ที่ราบสูงบราซิล ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกของประเทศบราซิล
อยู่ระหว่างแม่น้าแอมะซอล กับแม่น้าปารานา ปารากวัย
อุรุกวัย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นทุ่งหญ้าเมืองร้อน เรียก “ทุ่งหญ้า
แคมโปส” เป็นเขตทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ และเป็นแหล่งผลิตกาแฟ
ที่มีชื่อเสียงของโลก เช่นเดียวกับที่ราบสูงกายอานา (เกียนา)
• ที่ราบสูงปาตาโกเนีย ตั้งอยู่ทางใต้ของประเทศอาร์เจนตินา
หรือทางตอนใต้ของทวีป เป็นเขตอากาศหนาวเย็นและแห้ง
แล้ง เป็นเขตทุ่งหญ้าเลี้ยงแกะพันธุ์ขน
2. เขตที่ราบสูงภาคตะวันออก
ที่ราบสูงปาตาโกเนีย
• ที่ราบลุ่มแม่น้าแอมะซอน ตั้งอยู่ในเขตประเทศบราซิล พื้นที่ส่วน
ใหญ่เป็นป่าดงดิบที่มีฝนตกชุก เป็นลุ่มน้าที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก
แม่น้าแอมะซอนที่มีต้นน้าอยู่บนเทือกเขาแอนดีสของเปรู แล้วไหล
พาดทวีปจากตะวันตกไปตะวันออกลงสู่มหาสมุทรแอตแลนติก
ความกว้างที่ปากอ่าวกว่า 320 กิโลเมตร ปริมาณน้าที่ลงสู่มหาสมุทร
จึงมีปริมาตรมากพอที่จะดันน้าเค็มให้ห่างจาก ฝั่งออกไปได้ถึงเกือบ
200 กิโลเมตร
• ที่ราบลุ่มแม่น้าโอริโค เป็นแม่น้าที่อยู่ไม่ห่างจากแม่น้าแอมะซอลนัก
ไหลผ่านประเทศเวเนซุเอลา และไหลส่งสู่ทะเลแคริบเบียนทางตอน
เหนือ
• ที่ราบลุ่มแม่น้าลาพลาตา เป็นแม่น้าที่ประกอบด้วยสาขาที่ไหลมา
จากบราซิลทางเหนือ คือ แม่น้าปารากวัย แม่น้าปารานา เป็นที่ราบ
ลุ่มแม่น้าที่อุดมสมบูรณ์เป็นเขตเกษตรกรรมที่สาคัญและเป็นเขตที่มี
ประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น
3. เขตที่ราบลุ่มแม่น้า
ปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อลักษณะอากาศของทวีปอเมริกาใต้
1.ที่ตั้งและรูปร่างของทวีป ทวีปอเมริกาใต้ตั้งอยู่ระหว่าง ละติจูดที่ 14 องศา
เหนือ ถึง 55 องศาใต้และลองจิจูด 34 - 117 องศาตะวันตก รูปร่างของทวีปมี
ลักษณะเป็นสามเหลี่ยมมีฐานอยู่ด้านบน ทาให้พื้นที่ประมาณ 2 ใน 3 มีลักษณะ
ภูมิอากาศแบบเมืองร้อน และอีก 1 ใน 3 มี ลักษณะภูมิอากาศแบบอบอุ่น
2.ทิศทางของลมประจา ชายฝั่งตะวันออกของทวีป ตั้งแต่เส้นทรอปิออฟแค
ปริคอร์นขึ้นไปทางด้านเหนือ ได้รับอิทธิพลของลมสินค้าตะวันออกเฉียงเหนือ
และลมสินค้าตะวันออกเฉียงใต้จากมหาสมุทรแอตแลนติก ทาให้ฝนตกชุก ส่วน
บริเวณชายฝั่งทางตะวันตกด้านมหาสมุทรแปซิฟิก ลมที่พัด ประจา คือ ลมประจา
ตะวันตก
ลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติของทวีปอเมริกาใต้
3.กระแสน้าในมหาสมุทร กระแสน้าในมหาสมุทรแอตแลนติก ประกอบด้วย
“ กระแส น้าอุ่น บราซิล” ไหลเลียบฝั่งประเทศบราซิล ทาให้มีอากาศอบอุ่นความชื้น
สูง และ“กระแสน้าเย็นฟอล์กแลนด์” ไหลเลียบฝั่งประเทศอาร์เจนตินา ทาให้มีอากาศ
เย็น ความชื้นต่า ส่วนในมหาสมุทรแปซิฟิกมี “กระแสน้าเย็นเปรู” (ฮัมโบลด์) ไหลเลียบ
ชายฝั่งประเทศเปรูทาให้ มีอากาศเย็นความชื้นต่า
4.ทิศทางของเทือกเขาแอนดีส จากการที่เทือกเขาแอนดีสทอดตัวเป็นแนว
ยาวขนานกับฝั่ง ทะเล จากทิศเหนือไปสู่ทิศใต้ ชิดขอบทางตะวันตกของทวีป ทาให้
พื้นที่ตอนกลางทวีปจึงได้รับ อิทธิพลของลมสินค้าจากมหาสมุทรแอตแลนติก เกิด
ฝนตกชุก ส่วยบริเวณที่เป็นเทือกเขาสูงจะมีอุณหภูมิต่า อากาศไม่ร้อนจัดเหมือน
บริเวณพื้นราบ
ลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติของทวีปอเมริกาใต้
เซลวาส
เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริกาใต้ แบ่งออกเป็น 8 เขต ดังนี้
1.เขตภูมิอากาศแบบร้อนชื้นแถบศูนย์สูตร
เป็นเขตที่มีอากาศร้อน มีอุณหภูมิสูง และมีฝนตกชุกตลอด
ปี ซึ่งฝนที่เกิดขึ้น เป็นฝนที่เกิดจากการพัดพาความร้อน มี
อุณหภูมิเฉลี่ย 27 องศาเซลเซียส และปริมาณน้าฝนเฉลี่ย
ประมาณ 2,000 มิลลิเมตรต่อปี บริเวณที่มีอากาศอยู่ในเขตนี้
ได้แก่ บริเวณลุ่มแม่น้าแอมะซอนเขตศูนย์สูตร
พืชพรรณธรรมชาติ ลักษณะเป็นป่าดงดิบเมืองร้อน เรียกว่า เซล
วาส (Selvas) ประกอบด้วย ไม้ขนาดใหญ่อาศัยอยู่ปะปนกันอย่าง
หนาทึบ เช่น ปาล์ม มะฮอกกานี ควินิน และพวก ไม้เลื้อย เช่น
เถาวัลย์ รวมไปถึง พืชที่ขึ้นปะปนอย่เบื้องล่างเช่นเฟิร์น
2. เขตภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนาหรือทุ่งหญ้าเขตร้อน
เป็นเขตที่มีอากาศร้อน และมีฤดูแล้งสลับให้เห็นอยู่บ้าง มีฝน
ตกในฤดูร้อน อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 27 องศาเซลเซียส บริเวณที่มี
อากาศอยู่ในเขตนี้ ได้แก่ บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าโอริโนโค ที่ราบสูง
กายอานา ที่ราบสูงบราซิล ทุ่งหญ้าทางตอนเหนือของแม่น้าแอมะซอน
พืชพรรณธรรมชาติ เป็นป่าผลัดใบสลับกับทุ่งหญ้า มีลักษณะ
คล้ายทุ่งหญ้าสะวันนา ซึ่งทุ่งหญ้านี้จะขึ้นอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร
เรียกว่าทุ่งหญ้ายาโนส (Llanos) อยู่ในเขตลุ่มแม่น้าโอริโนโค
ประเทศโคลัมเบียและประเทศเวเนซุเอลา ส่วนทุ่งหญ้าทางตอนใต้
เส้นศูนย์สูตรจะมีขนาดเล็กกว่า เรียกว่าทุ่งหญ้าแคมโปส (Campos)
อยู่ในเขตบราซิล
เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริกาใต้ แบ่งออกเป็น 8 เขต ดังนี้
3. เขตภูมิอากาศแบบทะเลทราย
เป็นเขตทุ่งหญ้าที่มีความแห้งแล้งมากแห่งหนึ่งของโลก
อุณหภูมิระหว่างกลางวันและกลางคืนต่างกันมาก ปริมาณฝนเฉลี่ย
ประมาณ 50 มิลลิเมตรต่อปี บริเวณที่มีอากาศอยู่ในเขตนี้ ได้แก่
บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก เขตประเทศเปรู และประเทศชิลี มี
ชื่อว่า ทะเลทรายอะตากามา (Atacama) และดินแดนภาคตะวันตกของ
ประเทศอาร์เจนตินา
พืชพรรณธรรมชาติ ในเขตนี้ ส่วนใหญ่เป็นพืชที่ต้องการน้า
น้อยและทนความ แห้งแล้งได้ดี เช่น ไม้พุ่มเล็กๆ กระบองเพชร
เป็นต้น
เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริกาใต้ แบ่งออกเป็น 8 เขต ดังนี้
4. เขตภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย
ในเขตนี้ในฤดูจะมีอากาศหนาวเย็น และร้อนในฤดู
ร้อน อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 18 องศาเซลเซียส ปริมาณน้าฝน
เฉลี่ย 50 มิลลิเมตรต่อปี บริเวณที่มีอากาศอยู่ในเขตนี้ ได้แก่
บริเวณทุ่งหญ้าบนที่ราบสูงปาตาโกเนีย ประเทศอาร์เจนตินา
ซึ่งบริเวณนี้เหมาะอย่างมากในการเลี้ยงแกะพันธุ์ขน
พืชพรรณธรรมชาติ ในเขตนี้เป็นแบบทุ่งหญ้า แต่
เป็นหญ้าขนาดสั้นๆ ไม่ค่อยหนาแน่นนัก
เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริกาใต้ แบ่งออกเป็น 8 เขต ดังนี้
5. เขตภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน
ในเขตนี้มีอากาศแบบอบอุ่น ฝนตกในฤดูหนาว
และแห้งแล้งในฤดูร้อน บริเวณที่มีอากาศอยู่ใน เขตนี้
ได้แก่บริเวณ ตอนกลางของประเทศชิลี
พืชพรรณธรรมชาติ ส่วนใหญ่ ได้แก่ ไม้โอ๊ก
หรือไม้ที่มีเปลือกหนา รากลึก หรือต้นไม้มี ใบเป็นมัน
เช่น มะกอก วอลนัต เชสต์นัส มะเดื่อ และพืชพรรณที่
เรียกว่า แช ปาร์เรล” มีลักษณะพิเศษคือ สามารถ
ทนความร้อนได้ดี
เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริกาใต้ แบ่งออกเป็น 8 เขต ดังนี้
6. เขตภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น
ในเขตนี้จะมีอากาศแบบอบอุ่น และมีฝนตกมากในฤดูร้อน ฤดูหนาวจะไม่หนาวมากและ
ไม่ยาวนาน อุณหภูมิระหว่างฤดูหนาวและฤดูร้อนไม่ต่างกันมากบริเวณที่มีอากาศอยู่ในเขตนี้
ได้แก่ บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าปารานา - ปารากวัย - อุรุกวัย ในเขตประเทศอาร์เจนตินามีทุ่งหญ้า
ปามปัส (Pampus)
พืชพรรณธรรมชาติ ขึ้นอยู่กับปริมาณน้าฝนเป็นหลัก
คือ ถ้ามีความชื้นน้อยหรือฝนตกน้อย พืชพรรณธรรมชาติจะ
เป็นทุ่งหญ้าขนาดสั้น หญ้าไม่สมบูรณ์ แต่ถ้าเป็นเขตที่มี
ความชื้นมากหรือฝนตกมาก จะเป็นทุ่งหญ้าที่มีความ
สมบูรณ์ เหมาะแก่การทาปศุสัตว์เช่น ทุ่งหญ้ากรันชาโก ใน
ประเทศอาร์เจนตินา ปารากวัย ไม้สาคัญในเขตนี้ ได้แก่ ปา
ราไพน์ และต้นเคบราโช
เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริกาใต้ แบ่งออกเป็น 8 เขต ดังนี้
7. เขตภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก
ในเขตนี้จะมีอากาศอบอุ่นในฤดูร้อน และหนาวจัดในฤดูหนาว มีฝนตกตลอดปี
เพราะอิทธิพลของลมประจาตะวันตก ปริมาณฝนเฉลี่ย 5,000 มิลลิเมตรต่อปี บริเวณที่มี
อากาศอยู่ในเขตนี้ ได้แก่ บริเวณภาคใต้ของประเทศชิลี
พืชพรรณธรรมชาติจะเป็นไม้ผลัดใบ ใบมีขนาด
ใหญ่ เช่น ต้นแอช บีช ซิกเมอร์ โอ๊ค
เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริกาใต้ แบ่งออกเป็น 8 เขต ดังนี้
8. เขตภูมิอากาศแบบภูเขาสูงและที่ราบสูง บริเวณเทือกเขาแอนดีส
ในเขตนี้อุณหภูมิและความชื้นจะแตกต่างกันตามระยะความสูง คือ บริเวณที่ราบจะมี
อุณหภูมิและความชื้นสูง เมื่อความสูงเพิ่มขึ้น 180 เมตร อุณหภูมิจะลดลง 1 องศาเซลเชียส และ
พืชพรรณธรรมชาติจะแตกต่างกันออกไปตามระดับความสูงของพื้นที่ด้วย บริเวณที่มีอากาศอยู่
ในเขตนี้ ได้แก่ พื้นที่บริเวณภูเขาและที่สูงในเทือกเขาแอนดีส
พืชพรรณธรรมชาติเขตนี้จะแตกต่างกันตามระดับ
ความสูง ถ้าเป็นที่ราบความชื้นน้อยจะเป็นแบบทุ่งหญ้า
แต่ถ้าเป็นที่สูงมีความชื้นสูงและอากาศเย็นพืชพรรณ
ธรรมชาติจะเป็นไม้สน
เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริกาใต้ แบ่งออกเป็น 8 เขต ดังนี้
แผนที่แสดงอุณหภูมิเดือนมกราคมและกรกฎาคม
แผนที่แสดงปริมาณน้าฝนตลอดปี แผนที่แสดงพืชพรรณธรรมชาติในเขตอากาศต่างๆ
„ ทรัพยากรดิน บริเวณที่มีดินอุดมสมบูรณ์ของทวีปอเมริกาใต้ได้แก่ บริเวณที่ราบ
ลุ่มแม่น้าปารานา - ลาปลาตา ประเทศ อาร์เจนตินา
„ ทรัพยากรน้า แม่น้าสายต่างๆ ของทวีปอเมริกาใต้มีต้นกาเนิดมาจากเทือกเขา
แอนดีส เป็นแหล่งน้าจืดที่สาคัญ การพัฒนากาลังน้าเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า มีเฉพาะบริเวณลุ่ม
แม่น้าปารานา ในประเทศบราซิล
„ ทรัพยากรป่ าไม้ ทวีปอเมริกาใต้มีพื้นที่ป่าไม้เกือบครึ่งหนึ่งของทวีป เขตป่าไม้ที่
สาคัญและอุดมสมบูรณ์ที่สุด คือป่าดงดิบ (ป่าเซลวาส) บริเวณ ลุ่มแม่น้า แอมะซอน และ
สาขา มีลักษณะเป็นไม้เนื้อแข็ง ลาต้นสูงใหญ่ปกคลุมพื้นที่หนาทึบเป็นบริเวณกว้างหลาย
ร้อยตารางกิโลเมตร ป่าไม้อีกเขตหนึ่งจะอยู่บริเวณลุ่มแม่น้าปารานา ปารากวัย ปิลคิมาโย
ในเขตประเทศ บราซิล ปารากวัย และอาร์เจนตินา ต้นไม้สาคัญคือ ไพน์ ปารานา ซีดาร์ บีช
มะฮอกกานี
ทรัพยากรธรรมชาติ
„ ทรัพยากรแร่ธาตุ
ทวีปอเมริกาใต้มีแหล่งทรัพยากราแร่ธาตุเกือบทุกชนิด ทรัพยากรแร่ธาตุที่สาคัญ ได้แก่ แร่
เหล็ก เงิน ทองคา ตะกั่ว สังกะสี บอกไซต์เพชร และสินแร่อโลหะต่างๆ เช่น โครเมี่ยม
แมงกานีส นิกเกิล เป็นต้น แหล่งแร่ธาตุสาคัญจะอยู่ทางตอนเหนือ ชายฝั่งทางตะวันออก
และทางภาคตะวันตก ของทวีป
น้ามัน ขุดได้มากในทะเลสาบมาราไคโบ สาธารณรัฐเวเนซุเอลาและสาธารณรัฐเอกวาดอร์
ทองแดง พบมากในสาธารณรัฐชิลี
ไนเตรต พบมากบริเวณทะเลทรายอะตากามาและภาคเหนือของสาธารณรัฐชิลี
ดีบุก พบมากในสาธารณรัฐโบลิเวีย
บอกไซต์ พบมากในสาธารณรัฐซูรินาเมและสาธารณรัฐสหกรณ์กายอานา
เหล็กและถ่านหิน พบมากบริเวณที่ราบสูงบราซิล
ทรัพยากรธรรมชาติ
„ ทรัพยากรสัตว์
ทวีปอเมริกาใต้เป็นทวีปที่มีทรัพยากรสัตว์อยู่
มากมาย เช่น งู จระเข้ปลาปิรันย่า เสือดาว นกนานา
ชนิด เป็นต้น สัตว์พื้นเมืองที่สาคัญของทวีปนี้คือ ลา
มา (Llama) สามารถเดินไต่บนเทือกเขาสูงบริเวณที่มี
สัตว์อาศัยอยู่มาก ได้แก่ บริเวณป่าดงดิบลุ่มแม่น้าแอ
มะซอน นอกจากนี้ยังมีแหล่งปลาชุกชุมบริเวณชายฝั่ง
ทางตะตะวันตก โดยเฉพาะชายฝั่งสาธารณรัฐเปรูและ
สาธารณรัฐชิลี ได้แก่ ปลาแอนโชวี่ เป็นต้น
แผนที่แสดงสัตว์ในประเทศต่างๆในทวีป
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรพลังงานน้ามัน
ทวีปอเมริกาใต้มีน้ามันปิโตรเลียมมากทางตอนเหนือของทวีป โดยเฉพาะใน
ประเทศเวเนซุเอลา และบางส่วนของประเทศเปรู ประเทศโบลิเวียและประเทศชิล
พลังงานน้า
ทวีปอเมริกาใต้เป็นทวีปที่มีแม่น้าหลายสาย แต่การพัฒนาเรื่องการผลิต
กระแสไฟฟ้าพลังน้ายังมีน้อย จะมีอยู่อย่างจากัดเท่านั้น เช่น ในเขตลุ่มน้าปารานา
ประเทศบราซิล
ทรัพยากรธรรมชาติ
„ จานวนประชากร
มีประชากรทั้งหมดประมาณ 370 ล้านคน ความหนาแน่นของประชากรประมาณ 20 คนต่อ
ตารางกิโลเมตร
„ ลักษณะทางสังคม ชาวอเมริกาใต้มีลักษณะทางสังคมที่เด่นชัด คือ
1.เป็นสังคมกึ่งประชาธิปไตย กึ่งเผด็จการ
2. มีความไม่เป็นธรรมในสังคม มีความแตกต่างระหว่างชนชั้น ประชากรผิวขาวเชื้อสาย
ยุโรป มีอานาจทั้งทางการเมืองและทางเศรษฐกิจ เกิดการเอาเปรียบชนพื้นเมือง
อินเดียนแด และนิโกร
3. เป็นสังคมเกษตรกรรม และเป็นประเทศกาลังพัฒนาการกระจายรายได้ของประชากร
ไม่ทั่วถึง
4. ประชากรยึดมั่นในศาสนาอย่างแน่นแฟ้น มีลักษณะผสมผสานระหว่างสังคมยุโรป
ตะวันตก กับสังคมของชนพื้นเมือง
5. ชนชั้นกลางมีบทบาทมากในสังคมสมัยใหม่
ลักษณะประชากรและการตั้งถิ่นฐาน
ลักษณะทางวัฒนธรรม
วัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้จัดอยู่ในกลุ่มวัฒนธรรมละตินอเมริกัน
ลักษณะเชื้อชาติ ภาษา ศาสนาของประชากรมีรากฐานมาจากกลุ่ม
ยุโรปใต้ผสมผสานกับวัฒนธรรมของชาวพื้นเมืองอินเดียนแดง และนิ
โกร
การกระจายของประชากรในทวีปอเมริกาใต้
เขตที่มีประชากรอาศัยอย่างหนาแน่น คือเขตที่มีสภาพแวดล้อมทาง
ธรรมชาติที่เหมาะสม มีอากาศอบอุ่นสบาย ทรัพยากรธรรมชาติอุดม
สมบูรณ์ และการคมนาคมสะดวก ได้แก่บริเวณดังต่อไปนี้
„ ที่ราบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก บริเวณที่ราบชายฝั่งทะเล
ตั้งแต่ตอนใต้ของแม่น้าแอมะซอน ถึงที่ราบปากอ่าวเดอลาปลาตา
„ ที่ราบสูงเทือกเขาแอนดีส ในประเทศโคลัมเบีย เอกวาดอร์ เปรู
ลักษณะประชากรและการตั้งถิ่นฐาน
เชื้อชาติ
1.พวกอินเดียนแดง เป็นชาวพื้นเมืองดั้งเดิมของทวีปอเมริกาใต้ อาศัย
อยู่บริเวณที่สูง บนเทือกเขาแอนดีส เขตที่ราบลุ่มปากแม่น้าแอมะซอน
ชายฝั่งทะเลแคริบเบียน มีอารยธรรมของตนเอง เช่น ตั้งบ้านเรือนเป็นหลัก
แหล่ง รู้จักการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์เป็นต้น
อินเดียนแดงเป็นชนเผ่าที่สร้างสรรค์อารยธรรมในทวีปอเมริกาใต้เมื่อ
ประมาณ 5,000 ปี ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในแถบที่สูงของเทือกเขาแอนดีส และ
บางส่วนอาศัยอยู่ในเขตที่ราบลุ่มแม่น้าแอมะซอนและชายฝั่งทะเล
แคริบเบียน มีผู้หญิงอินเดียจานวนมากได้แต่งงานกับคนผิวขาว ทาให้มีลูก
เลือดผสมเรียกว่า เมสติโซ ซึ่งปัจจุบันกลายเป็นประชากรส่วนใหญ่ในทวีป
อเมริกาใต้ส่วนชาวอินเดียเลือดบริสุทธิ์ปัจจุบันมีอยู่จานวนน้อย
ในบางประเทศ เช่น เปรู โบลิเวีย เอกวาดอร์ บราซิล
ลักษณะประชากรและการตั้งถิ่นฐาน
2.พวกผิวขาวจากยุโรป ซึ่งอพยพเข้าไปตั้งหลักแหล่งเมื่อประมาณ พ.ศ.2400 ได้แก่ ชาว
สเปน โปรตุเกส อิตาลี เยอรมัน และโปแลนด์ ส่วนใหญ่เชื้อสายสเปน และโปรตุเกส เข้ายึดครอง
ดินแดนจากชาว พื้นเมือง อาศัยอยู่บริเวณชายฝั่งทางตะวันออกและทางใต้ของทวีป
3.พวกนิโกร เข้ามาในสมัยหลัง โดยชาวผิวขาวจับมาเป็นทาส ทางานตามแหล่งเพาะปลูกใน
เขตร้อน เหมืองแร่ของชาวผิวขาวในประเทศบราซิล และโคลัมเบีย
4.พวกเอเชีย ได้แก่ ชาวจีน ญี่ปุ่น อินเดียและอินโดนีเซีย โดยเข้ามาอาศัยดินแดนที่เคยเป็น
อาณานิคมของประเทศอังกฤษและเนเธอร์แลนด์ ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1
5.พวกเลือดผสม มีกลุ่มประชากรสายเลือดผสมหลายกลุ่ม คือ
-เมสติโซ (Mestizos) เป็นสายเลือดผสมระหว่างชาวผิวขาว กับชาวอินเดียนแดง เป็น
กลุ่มประชากรที่มีจานวนมากที่สุดในทวีปอเมริกาใต้
-มูแลตโต (Mulattos) เป็นสายเลือดผสมระหว่างชาวผิวขาว กับนิโกร
-แซมโบ (Zambos) เป็นสายเลือดผสมระหว่างชาวอินเดียนแดง กับนิโกร
ลักษณะประชากรและการตั้งถิ่นฐาน
ภาษา
1.ภาษาสเปน เป็นภาษาทางการของประเทศต่างๆ ที่เคยเป็นอาณา
นิคมของประเทศ สเปน มาก่อน คือ โคลัมเบีย เวเนซุเอลา เอกวาดอร์ เปรู
โบลิเวีย ปารากวัย อุรุกวัย อาร์เจนตินา ชิลี
2.ภาษาโปรตุเกส เป็นภาษาทางการของประเทศบราซิลเพราะเคยเป็น
อาณานิคมของประเทศโปรตุเกสมาก่อน
3.ภาษาอินเดียนแดง ชาวอินเดียนแดงพื้นเมืองยังคงพูดภาษาของตน
และมี 2 ประเทศที่กาหนดให้ภาษาอินเดียนแดงเป็นภาษาทางการ ควบคู่ไปกับ
ภาษาสเปนด้วย คือ เปรู และโบลิเวีย
4.ภาษาอื่นๆ ในบางประเทศใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ คือ
ประเทศกายอานาหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ ประเทศที่ใช้ภาษาฮอลันดา คือ ซูรินาเม
ประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสคือ เฟรนช์เกียนา
ลักษณะประชากรและการตั้งถิ่นฐาน
ศาสนา
ทวีปอเมริกาใต้ประชากรส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกาใต้นับถือศาสนาคริสต์ส่วน
ศาสนาลัทธิความเชื่ออื่นมีประชากรส่วนน้อยนับถือ พอสรุปได้ดังนี้
1.ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก นามาเผยแพร่โดยชาวสเปน และ โปรตุเกส ตั้งแต่
ระยะแรกที่เริ่มเข้ามาแสวงหาอาณานิคม จึงมีประชากรชาวอเมริกาใต้นับถืออยู่ถึง ร้อยละ 90
2.ศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนท์ ประชากรอีกร้อยละ 10 นับถือ นามาเผยแพร่โดย
คณะ มิชชันนารีจากประเทศสหรัฐอเมริกา และศาสนาอื่นๆ ได้แก่ ลัทธิความเชื่อของชาว
อินเดียนแดง ลัทธิความเชื่อของชาวนิโกร ศาสนายูดาย ของชาวยิว ลัทธิขงจื๊อและ
พระพุทธศาสนาของชาวจีน และศาสนาฮินดู ของชาวอินเดีย
ลักษณะประชากรและการตั้งถิ่นฐาน
ลักษณะการเมืองการปกครอง
1. ความสัมพันธ์ทางการเมืองระหว่างประเทศของทวีปอเมริกาใต้มีความสัมพันธ์ที่เป็น
อันหนึ่งอันเดียวกัน จะผนึกกาลังร่วมมือกัน โดยได้ทาเป็นสนธิสัญญาป้องกันร่วมกัน เช่น สัญญา
ริโอ (Rio - Pact) เป็นต้น
2. รูปแบบการปกครองได้รับอิทธิพลจากสหรัฐอเมริกาและยุโรปตะวันตก คือ การปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุข
3. เกิดการปฏิวัติโดยทหารบ่อยครั้ง จนทาให้มีลักษณะการปกครองเป็นแบบเผด็จการทหาร
หรือไม่ก็ประธานาธิบดีที่มาจากการเลือกตั้ง ในอดีตเคยเป็นทหารมาก่อน
4. สหรัฐอเมริกามีบทบาทอย่างมากในทวีปอเมริกาใต้สังเกตได้จากการที่สหรัฐฯให้ความ
ช่วยเหลือในด้านต่างๆกับประเทศในทวีปอเมริกาใต้ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ การเมือง หรือด้าน
สังคม เช่น ช่วยโคลัมเบียในด้านปราบปรามยาเสพติด ช่วยเหลือรัฐบาลพลเรือนในเปรูและ
อาร์เจนตินา เป็นต้น
ลักษณะประชากรและการตั้งถิ่นฐาน
อาชีพ
อาชีพที่สาคัญในทวีปอเมริกาใต้ มีดังนี้
1.การเพาะปลูก มี 2 ลักษณะ คือ
1.1การเพาะปลูกเพื่อยังชีพ ชาวพื้นเมืองจะทาการเพาะปลูกในพื้นที่ขนาดเล็ก และ
การทาไร่เลื่อนลอย บริเวณลุ่มแม่น้าแอมะซอน และบริเวณที่สูงของทวีป พืชที่ปลูก
ได้แก่ ผัก ข้าวโพด มันสาปะหลัง มันเทศ ถั่วลิสง
1.2 การเพาะปลูกเพื่อการค้า ได้แก่
-ข้าวโพด ปลูกมากในเขตอากาศอบอุ่น ประเทศบราซิล อาร์เจนตินา
- ข้าวสาลี ปลูกมากบริเวณทุ่งหญ้าปามปาส ประเทศอาร์เจนตินา
- ฝ้าย ปลูกมากในบราซิล อาร์เจนตินา เปรู
- กาเกา กาแฟ ปลูกมากในบราซิล เอกวาดอร์ เวเนซูเอลา
- ยางพารา ปลูกมากในบราซิล อุรุกวัย
ลักษณะประชากรและการตั้งถิ่นฐาน
การทาป่ าไม้
การทาป่าไม้จะพบมากบริเวณเขตป่าดงดิบบริเวณลุ่มแม่น้าแอมะซอน คือ ป่าเซลวาส
(Selvas) เป็นป่าที่อยู่ในเขตอากาศร้อนชื้น ลาต้นสูงใหญ่ ปกคลุมพื้นที่หนาแน่น เป็นเขต
ทุรกันดาร การคมนาคมไม่สะดวก จึงมีการทาป่าไม้เฉพาะบริเวณที่มีแม่น้าไหลผ่าน
การเลี้ยงสัตว์
ทวีปอเมริกาใต้มีทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ที่กว้างขวางมาก สัตว์เลี้ยงสาคัญ คือ
- วัวพันธุ์เนื้อ เลี้ยงมากบริเวณชายฝั่งตะวันออกของบราซิล อุรุกวัย อาร์เจนตินา ตอน
เหนือของเวเนซูเอลา และโคลัมเบีย ประเทศที่ส่งวัวเนื้อออกจาหน่ายมากที่สุดของทวีปคือ
อาร์เจนตินา
- แกะพันธุ์เนื้อ และพันธุ์ขน เลี้ยงมากบริเวณเขตอากาศกึ่งแห้งแล้งของเปรู ชิลี ที่ราบสูง
ปาตาโกเนีย และทางตอนใต้ของอาร์เจนตินา
- หมู เลี้ยงในบราซิล และอาร์เจนตินา
ลักษณะประชากรและการตั้งถิ่นฐาน
4. การประมง
ส่วนใหญ่ทาการประมงขนาดเล็กบริเวณชายฝั่ง แหล่งประมงที่สาคัญของทวีป คือ
บริเวณชายฝั่งประเทศเปรู อาร์เจนตินา บราซิล หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ หมู่เกาะของเวเนซุเอลา
ประเทศเปรู ส่งเสริม การทาปลาสดแช่เย็น ส่งไปจาหน่ายที่ประเทศสหรัฐอเมริกา
5. การทาเหมืองแร่
ทวีปอเมริกาใต้เป็นแหล่งทรัพยากรที่สาคัญของโลก แหล่งแร่ที่สาคัญ ได้แก่
- น้ามันปิโตรเลียม ในประเทศอาร์เจนตินา เวเนซุเอลา
- เหล็กและทองแดง ในประเทศบราซิล ชิลี
- ดีบุก ในโบลิเวีย
- ไนเตรต นามาทาปุ๋ ย ในเขตทะเลทรายอะตากามา ตอนเหนือของประเทศชิลี
- แร่บอกไซต์ แมงกานีส เงิน และพลวง ในประเทศซูรินาเม กายอานา
ลักษณะประชากรและการตั้งถิ่นฐาน
6. การอุตสาหกรรม
ลักษณะสาคัญของอุตสาหกรรมในทวีปอเมริกาใต้ มีดังนี้
6.1.อุตสาหกรรมเกี่ยวกับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เช่น
น้าตาล น้ามันพืช เนื้อกระป๋ อง
6.2.อุตสาหกรรมหนัก เช่น อุตสาหกรรมถลุงเหล็ก กลั่นน้ามัน
ในทวีปอเมริกาใต้โรงงานอุตสาหกรรมสมัยใหม่ที่ใช้เงินทุนสูง เทคโนโลยี
ชั้นสูงจะเป็นการลงทุนร่วมกัน ระหว่างประเทศในทวีปอเมริกาใต้ และนัก
ลงทุนชาติต่างๆ เช่นชาวอเมริกัน และชาวญี่ปุ่น เป็นต้น ประเทศที่มี
ความสาคัญด้านอุตสาหกรรมของทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่ บราซิล เวเนซุเอลา
และอาร์เจนตินา
ลักษณะประชากรและการตั้งถิ่นฐาน
7. การพาณิชยกรรม
สินค้าออก ได้แก่
- บราซิล ส่งออกกาแฟ น้าตาลทราย ยาสูบ กล้วย ผลไม้ตระกูลส้ม
- อาร์เจนตินา ส่งออกเนื้อสัตว์ขนแกะ ฝ้าย ข้าวโพด ข้าวสาลี
- เปรู ส่งออกมันฝรั่ง สัตว์น้า
สินค้าเข้า ได้แก่ เครื่องจักรกลสาหรับการเกษตร เคมีภัณฑ์ เยื่อกระดาษ
รถยนต์ เสื้อผ้าสาเร็จรูป เครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเทศคู่ค้าที่สาคัญของทวีปอเมริกาใต้ ไดแก่ สหรัฐอเมริกา แคนาดา
ประชาคมยุโรป ญี่ปุ่น ประเทศในทวีปแอฟริกาตะวันตก
ลักษณะประชากรและการตั้งถิ่นฐาน
8.การคมนาคม
การคมนาคมในทวีปอเมริกาใต้ถือว่ายังมีความล้าหลังอยู่มาก ทั้งนี้เพราะ
ประเทศส่วนใหญ่ในภูมิภาคนี้ยังยากจนและด้อยพัฒนา อีกทั้งสภาพแวดล้อม
ทางธรรมชาติที่เป็นอุปสรรคต่อการคมนาคม เช่น ป่าดงดิบ ภูเขาสูง และ
ทะเลทราย จึงทาให้ความเจริญด้านการคมนาคมกระจายอยู่เป็นบางแห่งที่มี
ความเจริญก้าวหน้าทางด้านอุตสาหกรรม เช่น สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล
สาธารณรัฐอาร์เจนตินา ซึ่งมีการคมนาคมที่มีความสะดวกทั้งทางบก ทางน้า
และทางอากาศ
ลักษณะประชากรและการตั้งถิ่นฐาน
1.ทางบก ประกอบด้วย
1.1 ทางรถยนต์ ทวีปอเมริกาใต้มีถนนสายหลักที่ใช้ติดต่อเชื่อมประเทศต่างๆ คือ
ทางหลวงสายแพนอเมริกัน(Pan-American Highway) เป็นเส้นทางที่เชื่อมต่อจากประเทศ
สหรัฐอเมริกาลงมาถึงตอนใต้ของประเทศชีลี โดยมีเส้นทางตัดเชื่อมไปยังเมืองหลวงของ
ประเทศต่างๆกว่า 17 เมือง ส่วนประเทศที่มีการพัฒนาเส้นทางรถยนต์อยู่ในระดับดี ได้แก่
อาร์เจนตินา บราซิล และชีลี
1.2 ทางรถไฟ ทางรถไฟในทวีปอเมริกาใต้ส่วนใหญ่เป็นสายสั้นๆ เชื่อมเมืองใหญ่
หรือเมืองท่าระหว่างชายฝั่งกับที่ราบภาคใต้ ประเทศที่มีการพัฒนาเส้นทางคมนาคมขนส่งทาง
รถไฟได้เจริญก้าวหน้ามาก ได้แก่ บราซิล อาร์เจนตินา เมืองที่เป็นศูนย์กลางทางรถไฟในทวีป
อเมริกาใต้ ได้แก่ ริโอเดจาเนโร เซาเปาลู ในประเทศบราซิล เมืองมอนเตวิเดโอในประเทศ
อุรุกวัย บูเอโนสไอเรส ในประเทศอาร์เจนตินา
ลักษณะประชากรและการตั้งถิ่นฐาน
2. ทางน้า
ทางแม่น้าลาคลอง ที่ใช้ในการคมนาคมขนส่งได้ดี คือ แม่น้าปารานา ซึ่งสามารถ
เดินเรือเชื่อติดต่อระหว่างเมืองบูเอโนสไอเรสในประเทศอาร์เจนตินากับเมืองต่างๆ ที่ตั้งอยู่ริม
ฝั่ง แม่น้าแอมะซอนแม้จะกว้างและลึกพอที่จะให้เรือเดินทะเลขนาดใหญ่แล่นเข้าไปได้ภายใน
ทวีปได้ไกลถึงเมืองมาเนาส์ ซึ่งอยู่ห่างจากปากแม่น้าประมาณ 1,600 กิโลเมตร
ทางทะเล ทวีปอเมริกาใต้สามารถใช้เรือเดินสมุทร ติดต่อกับทวีปอเมริกาเหนือและ
ทวีปยุโรปได้สะดวก โดยอาศัยเมืองท่าด้านชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก เช่น เมืองเบแลง เรซิเฟ
ริโอเดจาเนโร ในประเทศบราซิล เมืองมอนเดวิเดโอ ในประเทศอุรุกวัย เมืองบูเอโนสไอเรส
ประเทศอาร์เจนตินา และเมืองคารากัส ในประเทศเวเนซุเอลา ส่วนเมืองท่าทางด้านชายฝั่ง
มหาสมุทรแปซิฟิก ได้แก่ เมืองคายาโอ ในประเทศเปรู เมืองวัลพาไรโซ ประเทศชิลี
ลักษณะประชากรและการตั้งถิ่นฐาน
3.ทางอากาศ
ทวีปอเมริกาใต้มีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าทึบ ภูเขาสูงและทะเลทราย ประกอบ
แหล่งที่มีประชากรหนาแน่นอยู่ห่าง ไกลกัน การคมนาคมขนส่งทางอากาศจึงมี
ความสาคัญมาก ทุกประเทศพยายามพัฒนาการขนส่งทางอากาศให้ทั่วถึง
ประเทศที่มีการคมนาคมขนส่งทางอากาศมาก ได้แก่ ประเทศบราซิลและ
อาร์เจนตินา มีท่าอากาศยานภายในประเทศและระหว่างประเทศที่ทันสมัยอยู่
หลายแห่ง เพราะเป็นประเทศที่มีภาวะเศรษฐกิจค่อนข้างดี
ลักษณะประชากรและการตั้งถิ่นฐาน
อเมริกาใต้เป็นแหล่งอารยธรรมของชาวอินเดียนเผ่าอินคา ซึ่งมีถิ่น
ฐานอยู่ที่ประเทศเปรู เอกวาดอร์ โบลิเวีย และชิลีตอนเหนือ อารยธรรม
สาคัญของชนเผ่า นี้ ได้แก่
* สามารถนาหินมาปูถนน ทาสะพานแขวน ข้ามแม่น้า หรือหุบเขา
* สร้างบ้านจากหิน
* ปลูกพืชแบบขั้นบันได
* ปลูกอาหารพวกมันฝรั่ง
* นาขนสัตว์มาทาเครื่องนุ่งห่ม
* รู้จักการนาทองคามาทา เครื่องประดับ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ของทวีปอเมริกาใต้แบ่งได้ 3 สมัย คือ
1. สมัยอาณาจักรของชนพื้นเมือง (สร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 16)
ก่อนที่ชาวสเปนและโปรตุเกสจะเข้ามามีอานาจในทวีปอเมริกาใต้ แหล่งอารยธรรม
ดั้งเดิมของชนพื้นเมืองอินเดียแดงเผ่าอินคา มีอาณาจักรอยู่บริเวณเทือกเขาแอนดีสซึ่งปัจจุบัน
คือบริเวณสาธารณรัฐเปรูสาธารณรัฐโบลิเวีย และตอนเหนือสาธารณรัฐชิลี
2. สมัยการสารวจและการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป
ในปี พ.ศ.2035 ‟ 2045 คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ชาวอิตาลีเป็นชาวยุโรปคนแรกที่
เดินเรือไปสารวจพบทวีปอเมริกาใต้ ในปี พ.ศ. 2062 เฮอนานโด คอร์เตส ขึ้นบกที่ฝั่ง
เม็กซิโกยึดนครหลวงของแอชเต็กได้ ในปี พ.ศ.2062 เฟอร์ดินานด์ แมกเจลแลน ชาว
โปรตุเกส เป็นคนแรกที่เดินทางรอบโลกและเดินเรืออ้อมปลายทวีปอเมริกาใต้ได้สาเร็จ โดย
ได้เล่นเรือเข้าไปในช่องแคบ ซึ่งต่อมาผู้สารวจได้ให้ชื่อช่องแคบนี้ว่า “ช่องแคบแมกแจน
แลน” จากการสารวจพบทวีปอเมริกาใต้นี้ มีผลทาให้ชาวยุโรปเริ่มเดินทางเข้ามาตั้งถิ่นฐานใน
ทวีปนี้
ซิมอน โบลืวาร์
3. สมัยการได้รับเอกราชของประเทศต่างๆ
หลังจากอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศแม่เป็นเวลายาวนานถึง
300 ปี อาณานิคมของสเปนและโปรตุเกสก็เริ่มเรียกร้องเอกราชในตอนกลาง
พุทธศตวรรษที่ 24 โดย เอกวาดอร์ เป็นประเทศแรกที่ได้รับเอกราช และ
ประเทศล่าสุดที่ได้รับเอกราช คือ สาธารณรัฐซูรินาเม(จากดัชต์) เมื่อ
พ.ศ.2518 ซิมอน โบลิวาร์ เป็นผู้ให้อิสระแก่ เวเนซูเอ
ลา โคลัมเบีย เอกวาดอร์ เปรู และโบลิเวีย์ เบอร์นาโด โอฮิกกนส์ เป็น
ผู้นาการเคลื่อนไหวเพื่อเสรีภาพของชิลี
โฮเซ เดอ แซนมาร์ติน เป็นผู้นาเพื่ออิสระภาพของอาร์เจนตินา และช่วยกอบกู้อิสระภาพ
ของเปรูและชิลีด้วย หลังจากการได้รับอิสระภาพ ประเทศต่างๆในทวีปอเมริกาใต้พยายามจัดให้
มีรัฐธรรมนูญ มีการเลือกตั้ง แต่เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ยังมีการศึกษาไม่ดีพอ จึงทาให้
ตกอยู่ภายใต้การนาของประธานาธิบดีซึ่งเป็นผู้เผด็จการ ปัจจุบันยังมีประเทศที่ยังไม่ได้รับเอกราช
คือ เฟรนซ์กายอานาของฝรั่งเศส และหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ของอังกฤษ
ตารางแสดงข้อมูลพื้นฐานของทวีปอเมริกาใต้ปี 2550
ประเทศ
เมืองหลวง เนื้อที่ (ตร.กม.) ประชากร(คน) สกุลเงิน
สาธารณรัฐโคลัมเบีย โบโกตา 1,138,910 40,448,191 เปโซ
สาธารณรัฐเวเนซุเอลา คารากัส 912,050 26,084,662 โบลิวาร์
สาธารณรัฐกายอานา จอร์ททาวน์ 214,970 767,245 ดอลลาร์กายอานา
สาธารณรัฐซูรินาเม ปารามาริโบ 163,270 439,117 กิลเดอร์
สาธารณรัฐเอกวาดอร์ กีโต 283,560 13,755,680 ซูเคอร์
สาธารณรัฐเปรู ลิมา 1,285,580 28,674,757 อินตี
สาธารณรัฐโบลิเวีย ลาปาซ 1,098,580 8,989,046 โบลิเวียโน
สาธารณรัฐชิลี ซานดิเอโก 756,950 16,284,741 เปโซ
สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล บราซิเลีย 8,511,956 187,015,000 ครูเซโร
สาธารณรัฐปารากวัย อะซุนซิโอน 406,750 6,506,464 กัวรานิ
สาธารณรัฐอุรุกวัย มอนเตวิเดโอ 176,220 3,431,932 เปโซ
สาธารณรัฐอาร์เจนตินา บัวโนสไอเรส 2,766,890 40,301,927 เปโซ
B R A Z I L
สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล
ธงชาติ ตราแผ่นดิน
สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล
สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล
สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดและมี
ประชากรมากที่สุดในทวีปอเมริกาใต้และเป็นประเทศที่ใหญ่
ที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของโลก มีพื้นที่กว้างขวางระหว่าง
ตอนกลางของทวีปอเมริกาใต้และมหาสมุทรแอตแลนติก ชื่อ
"บราซิล" มาจากต้นไม้ชนิดหนึ่งที่มีชื่อว่า บราซิลวูด (Pau-Brasil
ในภาษาโปรตุเกส) ซึ่งนาไปใช้ย้อมผ้าด้วยสีแดงจากเปลือกไม้
ของมัน
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้ง
ตั้งอยู่ทางตะวันออกของทวีปอเมริกาใต้โดยมีอาณาเขตติด
กับทุกประเทศในทวีปอเมริกาใต้ยกเว้นชิลีและเอกวาดอร์
โดยมีที่ตั้งอยู่ระหว่าง10 องศาใต้55 องศาตะวันตก
ขนาด
มีพื้นที่ 8,511,965 ตารางกิโลเมตร มีขนาดใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาใต้
และมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 5 ของโลก
ข้อมูลทั่วไป
อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ประเทศกายอานาฝรั่งเศส สาธารณรัฐซูรินาเม
และสาธารณรัฐเวเนซุเอลา
ทิศใต้ ติดต่อกับ สาธารณรัฐบูรพาอุรุกวัย สาธารณรัฐอาร์เจนตินา
และสาธารณรัฐปารากวัย
ทิศตะวันออกติดต่อกับ มหาสมุทรแอตแลนติก
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ สาธารณรัฐโบลิเวีย สาธารณรัฐเปรูและ
สาธารณรัฐโคลัมเบีย
ข้อมูลทั่วไป
ภูมิประเทศ
เนื่องจากมีความหลากหลาย จึงแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะใหญ่ๆ ดังนี้
1.เขตที่ราบสูงกายอานา ทางตอนเหนือ มีอากาศร้อนและแห้ง
แล้ง
2.เขตที่ราบสูงมาโตกรอสโซ ทางตะวันตก
3.เขตที่ราบสูงบราซิล ทางตะวันออกของที่ราบสูงมาโตกรอสโซ
ภูมิอากาศ
ตอนเหนืออากาศอากาศร้อนชื้นเพราะเป็นบริเวณที่เส้นศูนย์สูตรลาก
ผ่าน ส่วนทางตอนใต้อากาศเย็นสบาย เพราะเป็นบริเวณที่เส้นทรอปิออฟ
แคฟปริคอร์นลากผ่าน
ข้อมูลทั่วไป
ประชากร (2549)
181.8 ล้านคน
เมืองหลวง
กรุงบราซิเลีย (Brasilia)
ภาษา
โปรตุเกส (ภาษาราชการ) สเปน อังกฤษ และฝรั่งเศส
ข้อมูลทั่วไป
ศาสนา
ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ร้อยละ 90
ศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนท์ ร้อยละ 7
ศาสนาอื่นๆ ร้อยละ 3
เชื้อชาติ
พวกผิวขาว ร้อยละ 60
มูแลตโต ร้อยละ 30
พวกผิวดา ร้อยละ 20
ข้อมูลทั่วไป
อัตราการรู้หนังสือ
ร้อยละ 86.4
หน่วยเงินตรา
เฮอัล (REAL) อัตราแลกเปลี่ยน (ม.ค.2549) 1 เหรียญสหรัฐฯ
เท่ากับ 2.2 เฮอัล
เวลาต่างจากไทย
ช้ากว่าไทย 9 ชั่วโมงในช่วงเดือนตุลาคม - มีนาคม และ 10 ชั่วโมง
ในช่วงเดือนมีนาคม ‟ ตุลาคม
ข้อมูลทั่วไป
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP)
770.3 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ
โครงสร้าง GDP
ภาคบริการ ร้อยละ 50.6
ภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 39.4
ภาคเกษตรกรรม ร้อยละ 10
อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ(2549)
ร้อยละ 2.3
ข้อมูลทั่วไป
รายได้ประชาชาติต่อหัว (2549)
4,182 เหรียญสหรัฐ
อัตราเงินเฟ้ อ (2549)
ร้อยละ 5.7
อัตราการว่างงาน (2549)
ร้อยละ 9.9
ข้อมูลทั่วไป
มูลค่าการส่งออก
159.2 ล้านดอลลาร์ (FOB) (ถิติปี 2550)
สินค้าส่งออกสาคัญ
สินค้าอุตสาหกรรม สินแร่เหล็ก ถั่งเหลือง รองเท้า กาแฟ
มูลค่าการนาเข้า
115.6 ล้านดอลลาร์ (FOB) (ถิติปี 2550)
สินค้านาเข้าสาคัญ
เครื่องจักรและอุปกรณ์ น้ามัน เคมีภัณฑ์ไฟฟ้า
ข้อมูลทั่วไป
ทรัพยากรธรรมชาติ
น้ามันปิโตรเลียม บอกไซท์ทองคา แร่เหล็ก (เป็นผู้ส่งออกแร่และ
ผลิตภัณฑ์เหล็กราย ใหญ่ที่สุดในโลก) แมงกานีส นิกเกิล ฟอสเฟต พลา
ตินัม ดีบุก ยูเรเนียม พลังน้า (hydropower) และไม้
ประวัติศาสตร์
เดิมทีทวีปอเมริกาใต้ชนเผ่าพื้นเมืองคือพวกอินเดียแดงเผ่าต่างๆ
ต่อมาชาวยุโรปได้เข้ามายึดครองบริเวณนี้ โดยชาวโปรตุเกสได้ยึดครอง
บริเวณประเทศบราซิล ส่วนบริเวณประเทศอื่นๆในทวีปนี้ถูกยึดครอง
โดยชาวสเปน
เหตุเพราะในต้นพุทธศตวรรษที่ 21 ชาวยุโรปได้เข้ามาในทวีปนี้
ด้วยเข้าใจว่าทวีปนี้มีแร่ต่างๆเช่น น้ามัน ทองคา เงินและอื่นๆ แล้วชาว
ยุโรปได้ใช้กาลังกองทัพเข้าควบคุมบังคับชาวพื้นเมืองให้ทางานในไร่นา
และในเหมืองของตน ต่อมาหญิงชาวพื้นเมืองจานวนมากได้แต่งงานกับ
ชาวยุโรปทาให้มีลูกเลือดผสม จานวนมาก ซึ่งเรียกว่า เมสติโซ
ปัจจุบันมีสายเลือดผสมนี้เป็นชนส่วนใหญ่ในทวีป และได้รับภาษา
วัฒนธรรมจากทวีปยุโรป รวมทั้งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกด้วย
การเมืองการปกครอง
สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิลเคยเป็นอาณานิคมของสาธารณรัฐ
โปรตุเกสเมื่อปีพ.ศ.2043 ต่อมาได้รับเอกราชและปกครองประเทศใน
แบบสาธารณรัฐในปี พ.ศ. 2432
เมื่อปี พ.ศ.2507 พวกทหารได้ทาการขับไล่รัฐบาลพลเรือน และ
ปกครองประเทศในระบอบเผด็จการจนถึงปี พ.ศ.2513 จึงได้มีการ
ประกาศใช้รัฐธรรมนูญและมีการเลือกตั้งประธานาธิบดี เพื่อทาหน้าที่
เป็นประมุขและบริหารประเทศจนมาถึงปัจจุบัน
การเมืองการปกครอง
การแบ่งเขตการปกครอง แบ่งออกเป็น 26 รัฐ (state) และ 1 เขตนครหลวง
ภาคเหนือ ประกอบด้วย รัฐอาเกร รัฐอามาปา อามาโซนัส ปารา รอนโดเนีย รอ
ไรมา และโทแคนติน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย อาลาโกอัส บาเยีย เซอารา มารันเยา ปา
ราอีบา เปร์นัมบูกู ปีเอาอี รีโอกรันดีโดนอร์เต และเซร์ชิเป
ภาคกลางและตะวันตก ประกอบด้วยโกยาส มาตูโกรสซูโดซูล มาตูโกรสซู
และเฟเดอรัลดิสตริกต์
ภาคตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยเอสปีรีตูซันตู มีนัสเชไรส์ รีโอเดจาเนโร
และเซาเปาลู
ภาคใต้ ประกอบด้วยปารานา รีโอกรันดีโดซูล และซันตากาตารีนา
การเมืองการปกครอง
ฝ่ ายบริหาร
ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้ง มีวาระดารงตาแหน่ง 4 ปี
คณะรัฐมนตรีมาจากการแต่งตั้งโดยประธานาธิบดี
การเมืองการปกครอง
ฝ่ ายนิติบัญญัติ
สภาแห่งชาติ (Congresso Nacional) เป็นระบบรัฐสภาคู่ ประกอบด้วย
1.วุฒิสภา มีสมาชิกจานวน 81 คน ประกอบด้วยตัวแทนจาก 26 รัฐ
และ 1 เขตนครหลวง มาจากการเลือกตั้งโดยเสียงข้างมากของแต่ละรัฐและ
เขตนครหลวงจานวนละ 3 คน มีวาระดารงตาแหน่ง 8 ปี โดยที่ 1 ใน 3
ได้รับเลือกตั้งหลังจาก 4 ปี และ 2 ใน 3 ได้รับการเลือกตั้งอีก 4 ปีถัดไป การ
เลือกตั้งครั้งล่าสุด 27 ต.ค. 2545
2. สภาผู้แทนราษฎร มีสมาชิกจานวน 513 คน มาจากการ
เลือกตั้งตามสัดส่วน มีวาระดารงตาแหน่ง 4 ปี
การเมืองการปกครอง
ฝ่ ายตุลาการ
มีศาลสูงสุดแห่งชาติ (Supreme Federal Tribunal) โดยที่ผู้พิพากษาทั้ง 11
คน มาจากการแต่งตั้งโดยประธานาธิบดีและรับรองโดยวุฒิสภา มีวาระ
ดารงตาแหน่งตลอดชีพ
การเมืองการปกครอง
นโยบายด้านการเมือง
- ปฏิรูปการเมืองและขจัดความเบี่ยงเบนทางจริยธรรม
- ปรับปรุงความสัมพันธ์กับทุกฝ่ายรวมทั้งกลุ่มเคลื่อนไหวทางสังคม
- ลดขั้นตอนราชการในโครงการต่างๆ
เศรษฐกิจ
นโยบายด้านเศรษฐกิจ
- ควบคุมเงินเฟ้อ
- ตั้งเป้าหมายการเติบโตทางเศรษฐกิจร้อยละ ๕
- ขยายสินเชื่อสาหรับภาคการผลิต
- ส่งเสริมบริษัทขนาดเล็ก
- พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อาทิ ทางหลวง ทางรถไฟ ท่าเรือ และท่า
อากาศยานให้ทันสมัย เดินระบบไฟฟ้าเข้าสู่พื้นที่ชนบทให้แล้วเสร็จ เพิ่ม
สถานีไฟฟ้าพลังน้า โรงงาน biodiesel โครงการปิโตรเคมีและโลหะ
โครงการโรงกลั่นน้ามัน และการพัฒนาเพื่อการส่งออกเอทานอล
เศรษฐกิจ
สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ
ในช่วง 3 ทศวรรษก่อนทศวรรษที่ 1980 อัตราการเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจองบราซิลสูงถึงร้อยละ 7.3 แต่ช่วงทศวรรษที่ 1980 ได้เกิด
วิกฤตการณ์เสถียรภาพทางการเงิน โดยมีปัญหาเงินเฟ้อและขาด
ดุลการชาระเงิน รัฐบาลจึงดาเนินมาตรการต่างๆ ในชื่อ “Real Plan” เพื่อ
สร้างเสถียรภาพทางการเงิน โดยสร้างวินัยการเงิน ปล่อยค่าเงินลอยตัว และ
ลดภาวะเงินเฟ้อ รวมถึงทบทวนนโยบายการผลิตเพื่อทดแทนการนาเข้าซึ่ง
ใช้มากว่า 35 ปีและทาให้เศรษฐกิจมีลักษณะปิดและปกป้องตัวเอง
เศรษฐกิจ
โดยในช่วงทศวรรษที่ 1990 บราซิลหันมาใช้นโยบายเปิดเศรษฐกิจ
และได้เข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก (WTO) เมื่อวันที่ 1 มกราคม
2538 และในเวลาต่อมา รัฐบาลของประธานาธิบดีลูลาได้แสดงเจตจานง
ในการใช้หนี้ต่างประเทศทาให้ลดลงจากร้อยละ 58.7 ของ GDP ในปี
พ.ศ. 2546 เหลือร้อยละ 51.6 ในปี 2548
การต่างประเทศ
1. เพิ่มบทบาทของบราซิลในเวทีการเมืองระหว่างประเทศ
2. สาหรับนโยบายการต่างประเทศในการบริหารของประธานาธิบดีลูลา
เท่าที่ผ่านมาในสมัยแรก (1 มกราคม 2546 ‟ 31 ธันวาคม พ.ศ.2549)
มุ่งเน้น
- 20 (G-20) ในการเจรจาการค้าสินค้าเกษตรในกรอบองค์การ
การค้าโลก (WTO) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เรียกร้องให้ประเทศพัฒนาแล้ว
ยกเลิกการอุดหนุนสินค้าเกษตร
- การสนับสนุนและใช้ประโยชน์จากองค์การสหประชาชาติในการ
แก้ไขปัญหาระหว่างประเทศด้วยสันติวิธีโดยการเจรจา รวมทั้งการ
แก้ไขปัญหาการก่อการร้ายและอาชญากรรมระหว่างประเทศ การ
พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม สิทธิมนุษยชน การขจัดการเลือกปฏิบัติและ
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
การต่างประเทศ
- การผลักดันการปฏิรูปองค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความ
มั่นคงแห่งสหประชาชาติให้มีความโปร่งใส มีประสิทธิภาพ และเป็น
ประชาธิปไตยมากขึ้น
- ภายในภูมิภาคลาตินอเมริกา บราซิลให้ความสาคัญต่อการพัฒนา
ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาค รวมถึงการรวมกลุ่มในกรอบ
ต่างๆ ของภูมิภาค
การต่างประเทศ
- สาหรับภูมิภาคอื่นๆ บราซิลดาเนินความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับ
ประเทศที่มีบทบาทสูงในภูมิภาคเอเชีย อาทิ จีน ญี่ปุ่น รวมทั้งประเทศ
กาลัง
พัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งอินเดียและแอฟริกาใต้
- บราซิลมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในเวทีระหว่างประเทศทั้งด้านการเมือง
เศรษฐกิจ และสังคมประเด็นที่บราซิลให้ความสนใจเป็นพิเศษและ
พยายาม
มีบทบาทเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ การต่อสู้เพื่อขจัดความยากจน การพัฒน
คุณภาพชีวิต การสาธารณสุขโดยเฉพาะการต่อสู้กับโรคเอดส์และพลังงาน
สิ่งที่น่าสนใจ
อาหารพื้นเมือง
เฟย์จัวดา (Feijoada) ทาจากถั่วดาเคี่ยวกับเนื้อเค็มแห้งรมควันจนเปื่อย
การกินเฟย์จัวดาได้กินกันจนกลายเป็นธรรมเนียมปฏิบัติ มักจะกินเป็นมื้อ
เที่ยง โดยจะเสิร์ฟกับ ข้าวบดหยาบๆ กับฟาโรฟา (มันสาปะหลังปิ้งทาเนย)
และส้มฝานเป็นชิ้นบางๆ
ซัลกาดินโญส (Salgadinhos) เป็นอาหารเรียกน้าย่อยแบบขนมปังทอด
ทาตับห่าน
กาชาซา(carchaca) เป็นเหล้าพื้นเมืองของบราซิล รสแรง ได้มาจากการ
หมักน้าอ้อย
สิ่งที่น่าสนใจ
เมืองที่น่าสนใจ
นครริโอ เดอ จาเนโร เป็นเมืองที่มีความเจริญเป็นอย่างมาก มีภูมิ
ประเทศและสถานที่ที่มีความสวยงามมากมาย มีรูปปั้นพระเยซูที่ใหญ่ที่สุด
ในโลก
นครเซาเปาโล เซาเปาโล เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศ
และเป็นเมืองแห่งอุตสาหกรรมและเชิงพาณิชย์กลางอเมริกาใต้
สิ่งที่น่าสนใจ
แม่น้าอะเมซอน
มีความยาว 6,400 กิโลเมตร และได้รับฉายา
ให้เป็น King of The River แม่น้าอะเมซอน
มีต้นกาเนิดมาจาก เทือกเขาแอนดีสโดยไหลจากตะวันตกไปยังตะวันออก
ผ่านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้ออกสู่มหาสมุทร
แอตแลนติกทางตอนเหนือของบราซิล ส่วนที่แคบมีความกว้างกว่า 1 ไมล์
ที่สาคัญไปกว่านั้น ปริมาณน้าจืด 1 ใน 5 ของโลกก็มาจากแม่น้าอะเมซอน
ซึ่งมีสาขาประมาณ 1,100 สาย
สิ่งที่น่าสนใจ
นครริโอ เดอ จาเนโร
เป็นเมืองที่มีความเจริญเป็นอย่างมาก มีภูมิประเทศและสถานที่ที่มีความ
สวยงามมากมาย มีรูปปั้นพระเยซูที่ใหญ่ที่สุดในโลก
สิ่งที่น่าสนใจ
เทศกาลคาร์นิวัล
เทศกาลคาร์นิวัลของบราซิลนี้จะ
จัดขึ้นในประมาณช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี จัดเป็นงานที่โด่งดัง
ที่สุดของบราซิล และถือเป็นประเพณีว่าจะต้องจัดขึ้นทุกปีมาตั้งแต่ทศวรรษ
1930 อันเป็นช่วงเดียวกับที่แต่ละเขตนาการเต้นราชุดสวยๆ และเพลง
ประกอบเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของขบวนแห่
สิ่งที่น่าสนใจ
เทศกาลคาร์นิวัล
ครั้นถึงปี 1932 ก็เริ่มมีการประชันขันแข่งกันจนถูกเรียกขานว่า คณะ
แซมบ้า (escolas de samba) เพลงแซมบ้ามีต้นกาเนิดมาจากดนตรีในแถบ
แอฟริกาตะวันตกที่มีกลองเสียงทุ้มต่าเป็นตัวนา ในภาคใต้ของบราซิลจะ
ถือ
ว่าดนตรีจังหวะนี้เป็นสัญลักษณ์ของงานคาร์นิวัล
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล
ความสัมพันธ์ทางการทูต
ไทยและบราซิลได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตตั้งแต่วันที่ 17
เมษายน พ.ศ.2502 จนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลา 47 ปี ความสัมพันธ์
ระหว่าง
ทั้งสองประเทศดาเนินด้วยดีเสมอมา
โดยไทยมีสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงบราซิเลีย ซึ่งนางสาวสิรี บุนนาค
ดารงตาแหน่งเอกอัครราชทูตคนปัจจุบัน
บราซิลมีสถานเอกอัครราชทูตในไทย โดยนายเอ็ดการ์ด เตลเลส รีเบย์
โร ดารงตาแหน่งเอกอัครราชทูตคนปัจจุบัน
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล
ความสัมพันธ์ทางการเมือง
ไทยและบราซิลต่างเพิ่มบทบาททั้งในภูมิภาคของแต่ละฝ่ายและในระดับ
ระหว่างประเทศ โดยเฉพาะการส่งเสริมบทบาทของประเทศกาลังพัฒนาใน
องค์การสหประชาชาติ และบราซิลผลักดันการปฏิรูปองค์การ
สหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ โดยประสงค์
ดารงตาแหน่งสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้

Contenu connexe

Tendances

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4wittawat_name
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย Kran Sirikran
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.suchinmam
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้Phetmanee Fah
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)Kornnicha Wonglai
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือsuchinmam
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยwittawat_name
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์Srinthip Chaiya
 

Tendances (20)

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2 ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 

Similaire à ทวีปอเมริกาใต้

ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือrungnapa4523
 
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้Artit Boonket
 
ทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่าทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่าleemeanxun
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้krunimsocial
 
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค ลักษณะภูมิประเทศ 2
ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อค  ลักษณะภูมิประเทศ 2ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อค  ลักษณะภูมิประเทศ 2
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค ลักษณะภูมิประเทศ 2sudchaleom
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาkrunimsocial
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือleemeanxun
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือsangkeetwittaya stourajini
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือleemeanshun minzstar
 
งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้Krittamat
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_Namphon Srikham
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปchanok
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือji_namo_pen
 

Similaire à ทวีปอเมริกาใต้ (20)

ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
North america
North americaNorth america
North america
 
Bdc412 Africa
Bdc412 AfricaBdc412 Africa
Bdc412 Africa
 
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
 
ทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่าทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่า
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
 
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค ลักษณะภูมิประเทศ 2
ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อค  ลักษณะภูมิประเทศ 2ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อค  ลักษณะภูมิประเทศ 2
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค ลักษณะภูมิประเทศ 2
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกา
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้
 
ลักษณะภูมิอากาศ 2.1
ลักษณะภูมิอากาศ 2.1ลักษณะภูมิอากาศ 2.1
ลักษณะภูมิอากาศ 2.1
 
ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา
ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกาลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา
ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา
 
South america
South americaSouth america
South america
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 
สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 

Plus de พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

Plus de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ทวีปอเมริกาใต้