SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
เรื่อง คำยืมภำษำต่ำงประเทศในภำษำไทย 
โดย ครูอรุณศรี บงกชโสภิต 
ภำคเรียนที่ ๑ ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๗ 
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กำญจนบุรี 
วิชาภาษาไทย ม.๓
มำตรฐำนกำรเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การ เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ 
ตัวชี้วัด 
ท ๔.๑ ม. ๓/๑จาแนกและใช้คาภาษาต่างประเทศที่ใช้ใน ภาษาไทย
จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 
๑. บอกหลักการจาแนกคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย (K) 
๒. จาแนกคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย (P) 
๓. ยกตัวอย่างคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย (P) 
๔. ตระหนักถึงความสาคัญของภาษาไทย และอิทธิพล ภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย (A)
แบบทดสอบก่อนเรียน 
๑.คาว่า “เมตตา วิญญาณ” ยืมมาจากภาษาใด 
ก.เขมรข.บาลี 
ค. ชวาง.สันสกฤต 
๒.คาที่เกี่ยวข้องกับอาหารการกิน มักจะยืมมาจากภาษาใด 
ก.ภาษาจีน 
ข.ภาษาเขมร 
ค.ภาษาอังกฤษ 
ง.ภาษาชวา-มลายู
๓.คาในข้อใดเป็นคาภาษาเขมร 
ก.เพลิง 
ข.เพชร 
ค.มรกต 
ง.บูรณะ 
๔.คาในข้อใดยืมมาจากภาษาสันสกฤตทุกคา 
ก. กีฬา บรรทัด พรรณนา 
ข. กรีฑา อัชฌาสัย สมุทร 
ค. ศิษย์ พฤกษา เคราะห์ 
ง. พาณิชย์ มัธยมศึกษา ปราชญ์
๕.คาภาษาชวาเข้ามาในภาษาไทยพร้อมกับวรรณคดีเรื่องใด 
ก.รามเกียรติ์ 
ข. ระเด่นลันได 
ค.ลิลิตเพชรมงกุฎ 
ง. ดาหลังและอิเหนา 
๖.ข้อใดเป็นลักษณะของคาภาษาจีนที่ใช้ในภาษาไทย 
ก.ส่วนใหญ่เป็นเสียงสามัญ 
ข.ไม่มีตัวสะกดแต่นิยมผสมด้วยสระเสียงยาว 
ค.พยัญชนะต้นเป็นอักษรกลางมากกว่าอักษรอื่น 
ง.ส่วนใหญ่เป็นคาพยางค์เดียว ไทยนามาสร้างคาใหม่ 
เป็นคาประสม
๗.ข้อใดเป็นลักษณะเด่นของภาษาชวา-มลายู 
ก .เป็นคาโดด 
ข. ใช้รูปวรรณยุกต์เอก โท 
ค. ไม่มีเสียงพยัญชนะควบกลา 
ง. เป็นคาที่แสดงถึงวัฒนธรรมประเพณี 
๘.คายืมที่มาจากภาษาอังกฤษเริ่มเข้ามาในสมัยใด 
ก. รัชกาลที่ ๑ข.รัชกาลที่ ๒ 
ค. รัชกาลที่ ๓-๔ง.รัชกาลที่ ๔-๖
๙.ศัพท์บัญญัติคิดขึ นมาใช้แทนคาศัพท์ในภาษาใด 
ก.ภาษาอังกฤษ 
ข. ภาษาบาลี-สันสกฤต 
ค. ภาษาชวา-มลายู 
ง. ภาษาจีนและอังกฤษ 
๑๐. คาทับศัพท์มีลักษณะอย่างไร 
ก.ยืมมาปรับเปลี่ยนความหมาย 
ข. ยืมมาใช้โดยไม่มีการปรับปรุงแก้ไข 
ค. ยืมมาปรับเปลี่ยนโครงสร้างของคา 
ง. ยืมมาปรับเปลี่ยนวิธีการออกเสียง
๑๑.ข้อใดไม่ใช่คาศัพท์ในวงวิชาชีพธุรกิจการขาย 
ก. คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก 
ข.เบรกอีเวน เยียร์ลีรีวิว 
ค. ควอเตอร์โปรเจ็กเซล 
ง. ซัพพลายเออร์ออร์เดอร์ 
๑๒.ข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติทางคณิตศาสตร์ 
ก. รหัสแท่ง ทวิเสถียร 
ข. อนุกรม การแปลงผัน 
ค. สัมปทาน ค่าผ่านทาง 
ง. การแฝงนัย การผูกขาด
๑๓.ข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติทางวรรณคดี 
ก. รัฐกันชน 
ข. การเสียดสี 
ค. เสียงเสียดแทรก 
ง. ความสูงคลื่นเสียง 
๑๔.ศัพท์บัญญัติใช้คาในภาษาใดมาประกอบขึ นเป็นคาใหม่ 
ก.ภาษาอังกฤษ 
ข. ภาษาบาลีสันสกฤต 
ค. ภาษาชวา-มลายู 
ง. ภาษาจีนและอังกฤษ
๑๕.คาในข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติ 
ก. โบนัส 
ข. ไดโนเสาร์ 
ค. วัฒนธรรม 
ง. กรรมการ
สำระสำคัญ 
การนาคาภาษาต่างประเทศมาใช้ทาให้ภาษาไทยมีคาใช้เพิ่มมากขึ น แสดงถึงการรับอิทธิพลทางภาษาและวัฒนธรรมจากต่างประเทศ การศึกษาคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทยเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา ภาษาไทยในระดับที่สูงขึ นต่อไป 
คำยืมภำษำต่ำงประเทศในภำษำไทย 
• ภาษาเขมร 
• ภาษาจีน 
• ภาษาบาลี-สันสกฤต 
• ภาษาอังกฤษ 
• ภาษาญี่ปุ่น 
• ภาษาชวา-มลายู
๑. คำยืมจำกภำษำเขมร 
เขมรเป็นชาติที่มีความสัมพันธ์มานานทั งทางการค้า การสงคราม การเมืองและวัฒนธรรม เขมรมีอิทธิพลเหนือดินแดนสุวรรณภูมิก่อนกรุงสุโขทัยหลายร้อยปี จากการมีอาณาเขตติดต่อกัน ทาให้เขมรภาษาเขมรเข้ามาปะปนกับภาษาไทยตั งแต่สมัยโบราณ ภาษาถิ่นเขมรก็คล้ายคลึงกับ ภาษาพูด ของชาวอีสานใต้ของไทย ตลอดจนชาวภาคตะวันออกตามชายแดนไทย -กัมพูชาด้วยลักษณะ ภำษำเขมร ๑. ภาษาเขมรเป็นภาษาคาโดด คาส่วนใหญ่มีเพียง ๑ -๒ พยางค์ ใช้อักษรขอมหวัด มีพยัญชนะ ๓๓ ตัว เหมือนภาษาบาลี คือ วรรคกะ ก ข ค ฆ ง, วรรคจะ จ ฉ ช ฌ ญ วรรคฏะฏ ฐ ฑ ฒ ณ ,วรรคตะ ต ถ ท น ธ วรรคปะ ป ผ พ ภ ม ,เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ อ ๒. ภาษาเขมรไม่มีวรรณยุกต์แต่อิทธิพลคายืมบางคาให้เขมรมีรูปวรรณยุกต์ (+)ใช้ ๓. ภาษาเขมรมรสระจม ๑๘ รูป สระลอย ๑๘ รูป แบ่งเป็นสระเดี่ยวยาว ๑๐ เสียง สระผสม ๒ เสียง ยาว ๑๗ เสียง สระเดี่ยวสั น ๙ เสียง สระประสม ๒ เสียง สั น ๓ เสียง ๔. ภาษาเขมรมีพยัญชนะควบกลามากมาย มีพยัญชนะควบกลา ๒ เสียง ถึง ๘๕หน่วยและพยัญชนะควบกลา ๓ เสียง ๓ หน่วย
กำรสร้ำงคำในภำษำเขมร ๑. การสร้างคาโดยการเติมหน่วยคาเข้าข้างหน้าคาเดิม ทาให้คาเดิมพยางค์เดียวเป็นคาใหม่ ๒ พยางค์เรียกว่าการลงอุปสรรค บ(บัง,บัน,บา) เช่น เพ็ญ -บาเพ็ญ ,เกิด -บังเกิด ,โดย-บันโดย โดยเมื่อ บ อยู่หน้าวรรคกะ หรือ เศษวรรคจะอ่านว่า "บัง" เช่น บังคม ,บังเกิด,บังอาจ เมื่อ บ อยู่หน้าวรรคตะ อ่านว่า "บัน" เช่น บันดาล,บันโดย,บันเดิน เมื่อ บ อยู่หน้าวรรคปะ อ่านว่า "บา" เช่น บาบัด,บาเพ็ญ,บาบวง ๒. การสร้างคาโดยการเติมหน่วยคาเข้ากลาง คาหลัก ทาให้คาเดิมพยางค์เดียว 
เป็นคาใหม่ ๒ พยางค์เรียกการลงอาคม 
ก. การลง อา น เช่น จง-จานง,ทาย -ทานาย ,อวย-อานวย ข. การเติม อา เช่น กราบ-การาบ.ตรวจ-ตารวจ,เปรอ-บาเรอ ค. การเปลี่ยน ข เป็น ก,ฉ เป็น จ และเพิ่ม ท เช่น ฉัน-จังหัน,แข็ง-กาแหง ง. การเติม ง,น,ร,ล เช่น เรียง-ระเบียง,เรียบ-ระเบียบ,ราย-ระบาย * เนื่องจากภาษาเขมรพยัญชนะคนละกลุ่ม เมื่อประสมตัวเดียวกันจะออกเสียงต่างกัน ซึ่งต่าง จากภาษาไทย ลักษณะของภาษาเขมรที่ไทยนามาใช้จึงมีการเปลี่ยนแปลงรูปบ้าง เสียงบ้างตามแบบไทย
ลักษณะคำเขมรในภำษำไทย ๑. คาที่มาจากภาษาเขมรส่วนมากมาจากสะกดด้วย จ ญ ร ล เช่น เผด็จ ,บาเพ็ญ, กาธร , ถกล , ตรัส ๒. ต้องแปลความหมายจึงจะเข้าใจ ใช้มากในบทร้อยกรอง ๓. เมื่อมาใช้ในภาษาไทย ข แผลงกระ เช่น ขจาย-กระจาย, ขโดง-กระโดง ๔. นิยมใช้อักษรนาแบบออกเสียงตัวนาโดยพยางค์ต้นออกเสียง อะกึ่ง เสียงพยางค์หลังออกเสียงตามสระที่ผสมอยู่ เช่น สนุก ,สนาน, เสด็จ ถนน ,เฉลียว ๕. คาเขมรส่วนมากใช้เป็นราชาศัพท์ เช่น เสวย,บรรทม,เสด็จ,โปรด
ตัวอย่าง 
จ สะกด เช่น เผด็จ เสด็จ สมเด็จ กาจ อาจ อานาจ สาเร็จ สารวจ 
ฉกาจ ตารวจ 
ร สะกด เช่น ควร จาร บังอร ขจร จร 
ล สะกด เช่น ดล ถกล บันดาล ทูล กังวล ถวิล 
ญ สะกด เช่น เพ็ญ เจริญ จาเจริญ เชิญ อัญเชิญ ชาญ ชานาญ 
ลาญ ผลาญ
ตัวอย่ำงคำยืมจำกภำษำเขมรที่ใช้บ่อย 
กฏจดไว้เป็นหลักฐาน; ข้อบังคับ กรง(กฺรง)สิ่งที่ทาเป็นซี่ๆ สาหรับขังนก เป็นต้น กรม(กฺรม)ลาดับ, หมวด, หมู่, กอง กรรไตร(กันไตร)เครื่องมือสาหรับตัดโดยใช้หนีบ กรวด(กฺรวด)หลั่งนาอุทิศส่วนกุศล กระชื่อเต่าทะเลหลังเป็นเกร็ดแผ่นโตๆ สีนาลายเหลือง 
ปากงุ้ม ขาเป็นพาย กระฉูดอาการที่ของเหลวพุ่งออกไป กระเชอภาชนะสานคล้ายกระจาดขนาดเล็ก กระเดียดเอาเข้าสะเอว กระโดงใบเรือ
ใบกิจกรรมเรื่อง คาที่มาจากภาษาเขมร 
คาต่อไปนี้มีที่มาจากภาษาเขมร ให้นักเรียนเติมตัวอักษรที่หายไป เพื่อให้คาสมบูรณ์และตรงกับความหมาย 
๑. สุขสบาย 
๒. ผู้ที่ถูกข้าศึกจับตัวได้ 
๓. เรือนของเจ้านาย 
๔. ตั้งใจฟัง 
๕.ประพฤติ ปฏิบัติ 
ร 
ย 
ห 
ก 
บ 
พ 
บ
๒. คำยืมจำกภำษำจีน 
ไทยและจีนเป็นมิตรประเทศที่ติดต่อเจริญสัมพันธไมตรี อีกทั งยังมีการ ค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้าและวัฒนธรรมอันดีงามกันมาช้านานรวมทั งศิลปะ สถาปัตยกรรมต่างๆ ด้วย 
ชาวจีนที่เข้ามาค้าขายตลอดจนตั งถิ่นฐานอยู่ในประเทศไทยเป็นจานวนมาก ปัจจุบัน คนไทยเชื อสายจีนก็เพิ่มพูนขึ นมากมาย ภาษาจีนจึงเข้ามาสู่ไทยโดยทางเชื อ สาย นอกจากนี ภาษาจีนและภาษาไทยยังมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันจึงทาให้คา ภาษาจีนเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทยจนแทบแยกกันไม่ออก
ลักษณะภำษำจีน ภาษาจีนมีลักษณะคล้ายคลึงกับภาษาไทยมาก คือ เป็นภาษาคาโดดและมี เสียงวรรณยุกต์ใช้ เช่นเดียวกัน เมื่อนาคาภาษาจีนมาใช้ในภาษาไทยซึ่งมีวรรณยุกต์ และสระประสมใช้จึงทาให้สามารถ ออกเสียงวรรณยุกต์และสระตามภาษาจีนได้ อย่างง่ายดาย คาภาษาจีนยังมีคาที่บอกเพศในตัวเช่นเดียว กับภาษาไทยอีกด้วย เช่น เฮีย(พี่ชาย), ซ้อ(พี่สะใภ้), เจ๊(พี่สาว), 
นอกจากนี การสะกดคาภาษาจีนในภาษาไทยยังใช้ตัวสะกดตรงตามมาตรา ตัวสะกดทั ง ๘ มาตรา และมีการใช้ทัณฑฆาต หรือตัวการันต์ด้วย
ตัวอย่ำงคำภำษำจีนที่นำเข้ำมำใช้ในภำษำไทย 
๑. ที่เกี่ยวกับอาหารและขนม เช่น ก๋วยเตี๋ยว กวยจั๊บ เย็นตาโฟ เกี ยมอี๋ บะหมี่ เฉาก๊วย เต้าหู้ พะโล้ บะช่อ กวยจี๊ เกาเหลา แป๊ะซะ เต้าส่วน เต้าทึง เต้าฮวย เต้าหู้ยี 
๒. คาที่เกี่ยวกับเครือญาติ เช่น เจ๊ก๋ง เตี่ยเฮีย ม่วย 
๓. คาที่เกี่ยวกับผักผลไม้ เช่น เกี ยมไฉ่ ขึ นฉ่าย ตังโอ๋ กุยช่าย กงไฉ่ เก๊กฮวย บ๊วย หนาเลี๊ยบ 
๔. คาที่เกี่ยวกับเครื่องใช้ เช่น เก๊ะเข่ง โต๊ะ เก้าอี ตั๋ว กอเอี๊ยะ อั งโล่ 
๕. คาที่เกี่ยวกับเครื่องแต่งกาย เช่น ขาก๊วย เกี๊ยะ กุยเฮง เอี๊ยม 
๖. คาที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมจีน เช่น งิ ว กงเต๊ก เซียมซี แซยิด
ตัวอย่างคายืมจากภาษาจีนที่ใช้บ่อย 
ก๊กพวก, หมู่, เหล่า กงเต๊กการทาบุญให้ผู้ตายพิธีจีนโดยสวดและเผากระดาษรูปต่างๆ มี บ้าน, 
รถ, คนใช้ กวยจั๊บชื่อของกินทาด้วยแป้งข้าวเจ้าหั่นเป็นชิ นใหญ่ ก๋วยเตี๋ยวชื่อของกินทาด้วยแป้งข้าวเจ้าเป็นเส้นๆ กอเอี๊ยะขี ผึ งปิดแผลชนิดหนึ่งแบบจีน กุ๊นขลิบเย็บหุ้มริมผ้าหรือของอื่นๆ กุยช่ายชื่อไม้ล้มลุกคล้ายต้นหอม ใบแบน กลิ่นฉุน กินได้ 
เฉาก๊วยชื่อขนมคล้ายวุ้นสีดากินกับนาหวาน
ใบกิจกรรมเรื่อง คายืมภาษาจีน 
ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย √ใน หน้าคาที่มาจากภาษาจีน และ เครื่องหมาย × ใน หน้าคาที่ไม่ใช่คาภาษาจีน 
๑. แซ่ ๘. เกาเหลา 
๒. เกี๊ยะ ๙. เท่ 
๓. จับกัง ๑๐. เก้าอี้ 
๔. กวยจั๊บ 
๕. ซินแส 
๖. เซียน 
๗. คิว
๓. คายืมจากภาษาสันสกฤต 
ภาษาสันสกฤตเกิดจากภาษาพระเวท มีกฎเกณฑ์รัดกุมมาก เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เป็นภาษาที่ผู้มีการศึกษาสูงใช้ และเป็นภาษาทาง วรรณคดีใช้เขียนคัมภีร์พระเวท เป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์มีผู้ศึกษาน้อยจนเป็น ภาษาที่ตายไปในที่สุด การที่ไทยเรารับเอาลัทธิบางอย่างมาจากศาสนา พราหมณ์ ทาให้ภาษาสันสกฤตได้เข้ามามีบทบาทในภาษาไทยด้วย ภาษา สันสกฤตเป็นภาษาที่ไพเราะและสุภาพมากจึงมักใช้ในบทร้อยกรองและ วรรณคดี
สระในภำษำสันสกฤต ภาษาสันสกฤตมีสระทั งหมด ๑๔ เสียง สระเดี่ยว ๑๐ เสียง สระประสม ๔ เสียง 
พยัญชนะวรรคในภำษำบำลีสันสกฤต 
กัณฐชะ ฐานคอ วรรคกะ ก ข ค ฆ ง ตาลุชะ ฐานเพดาน วรรคจะ จ ฉ ช ฌ ญ มุทธชะ ฐานปุ่มเงือก วรรคฏะฏ ฐ ฑ ฒ ณ ทันตชะ ฐานฟัน วรรคตะ ต ถ ท ธ น โอษฐชะ ฐานริมฝีปาก วรรคปะ ป ผ พ ภ ม 
เศษวรรค ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ
กำรสร้ำงคำในภำษำสันสกฤต ๑. การสมาส (ดูภาษาบาลี) เช่น ศิลปะ + ศาสตร์ = ศิลปะ ศาสตร์, มานุษย+ วิทยา =มานุษยวิทยา ๒. การสนธิ (ดูภาษาบาลี) เช่น คณ+ อาจารย์ = คณาจารย์, ภูมิ + อินทร์ = ภูมินทร์ ๓. การใช้อุปสรรค คือ การเติมพยางค์ประกอบหน้าศัพท์เป็นส่วน ขยายศัพท์ ทาให้ความหมายเปลี่ยนแปลงไป เช่น วิ -วิเทศ, สุ -สุภาษิต, อป -อัปลักษณ์, อา -อารักษ์
ข้อสังเกต ๑. ภาษาสันสกฤตจะใช้สระประสม ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา คาประสมสระไอเมื่อเป็นคาไทยใช้สระแอ (ไวทย-แพทย์) ๒. ภาษาสันสกฤตจะใช้พยัญชนะ ศ ษ ฑ (บาลีใช้ ส, ฬ) เช่น กรีฑา, ศิลปะ, ษมา ๓. ภาษาสันสกฤตมีพยัญชนะประสมและ รรใช้ เช่น ปรากฏ, กษัตริย์ ; ครรภ์, จักรวรรดิ
ตัวอย่ำงคำยืมจำกภำษำสันสกฤตที่ใช้บ่อย 
กนิษฐ์ น้อง, น้อย (คู่กับเชษฐ์) กบฎ(กะบด) พญาลิง (กปิ + อินทร) กรกฎ (กอระกด) ปู ; ชื่อกลุ่มดาวปู กรม (กฺรม) ลาดับ กรรณ (กัน) หู, ใบหู กรรณิกา (กัน-) ดอกไม้ กรรม (กา) การกระทาที่ส่งผลร้ายมายังปัจจุบันหรือซึ่งจะส่งผลร้ายต่อไปยัง อนาคต กรรมกร (กามะกอน) ผู้ใช้แรงงาน, คนงาน, ลูกจ้าง (กรฺม+ กร) กรรมการ (กามะกาน) คณะบุคคลที่ร่วมกันทางานที่ได้รับมอบหมาย (กรฺม+ การ)
๑. ให้สังเกตจากพยัญชนะตัวสะกดตัวตามอยู่ในวรรคเดียวกัน 
ถ้าพยัญชนะตัวที่ ๑ สะกด ตัวที่ ๑ หรือตัวที่ ๒ ตาม 
พยัญชนะตัวที่ ๓ สะกด ตัวที่ ๓ หรือตัวที่ ๔ ตาม 
พยัญชนะตัวที่ ๕ สะกด พยัญชนะทุกตัวในวรรคเดียวกันตามได้ สังเกตจากตัวอักษรที่มี ฬ และ ฆ ฌ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ พบมากในภาษาบาลี และคาที่มี “ปฏิ” อยู่ข้างหน้า ส่วน ใหญ่จะเป็นคาในภาษาบาลี 
๒. วิธีสังเกตคาสันสกฤตในไทย ให้สังเกตคาที่มี ศ ษ ยกเว้นคาว่า ศอก ศึก เศิก เศร้า เป็นคาไทย คาที่มี ฤ ฤา ฦ ฦาไอ เอา คาที่มี “รร” และคาที่มี ร ควบกับตัวอื่น และใช้เป็นตัวสะกด 
๓. เมื่อนาคาภาษาบาลีสันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย สามารถใช้ในความหมายเหมือนกัน ความหมายต่างกัน หรือเลือกใช้ตามความนิยม
ใบกิจกรรมเรื่อง ค้นหำคำที่มำจำกภำษำบำลี-สันสกฤต 
ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มและแข่งขันค้นหำคำที่มำจำกภำษำบำลี- สันสกฤตและมีควำมหมำยตรงกับคำภำษำไทยที่กำหนด 
พระเจ้าแผ่นดิน...................................................................... 
ดอกไม้.................................................................................... 
นา........................................................................................... 
เด็ก........................................................................................ 
ตะวัน..................................................................................
๔. คำยืมจำกภำษำอังกฤษ 
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่แพร่หลาย สามารถใช้สื่อสารได้ทั่ว โลก การที่ไทยติดต่อค้าขายกับอังกฤษมาช้านานจนสมัย ร.๓ ไทยเริ่มมีการ ยืมคาจากภาษาอังกฤษมาใช้ในลักษณะการออกเสียงแบบไทยๆ ตลอดจน เจ้านายและข้าราชการที่ได้ศึกษาภาษาอังกฤษและมิชชันนารีก็เข้ามา เผยแพร่ศาสนาคริสต์ ทาให้ภาษาอังกฤษเข้ามามีบทบาทในภาษาไทยมาก ขึ น ร.๔ ทรงเห็นประโยชน์ของการศึกษาภาษาอังกฤษมากด้วย
ลักษณะภำษำอังกฤษ ๑. ภาษาอังกฤษมีการเปลี่ยนแปลงรูปคาหรือเติมท้ายศัพท์ในลักษณะต่างๆ กันเพื่อแสดงลักษณะไวยากรณ์ เช่น การบอกเพศ พจน์ กาล (go-went-gone) หรือ ทาให้คาเปลี่ยนความหมายไป ๒. คาในภาษาอังกฤษมีการลงนาหนัก ศัพท์คาเดียวกันถ้าลงนาหนักต่าง พยางค์กันก็ย่อมเปลี่ยนความหมายและหน้าที่ของคา เช่น record -record๓. ภาษาอังกฤษมีตัวอักษร ๒๖ ตัว สระเดี่ยว(สระแท้) ๕ ตัว สระประสม มากมาย ๔. ภาษาอังกฤษมีพยัญชนะควบกลามากมาย ทั งควบกลา ๒ เสียง ๓ เสียง ๔ เสียง ปรากฏได้ทั งต้นและท้ายคา เช่น spring, grease, strange พยัญชนะต้นควบ desk, past, text พยัญชนะท้ายควบ
กำรสร้ำงคำในภำษำอังกฤษ ๑. การใช้หน่วยคาเติมทั งหน้าศัพท์ (prefix) และหลังศัพท์ (suffix) โดยศัพท์นั นเมื่อเติมอุปสรรค, ปัจจัย จะทาให้เกิดศัพท์ความหมาย ใหม่ หรือ ความหมายเกี่ยวกันก็ได้ การปัจจัย (suffix) เช่น draw (วาด) - drawer (ลิ นชัก), write (เขียน) -writer (ผู้เขียน) การเติมอุปสรรค (prefix) เช่น -polite (สุภาพ) -impolite (ไม่สุภาพ), action (การ กระทา) -reaction (การตอบสนอง) ๒. การประสมคาโดยการนาคาศัพท์ ๒ คาขึ นไปมาเรียงติดต่อกัน ทาให้เกิดคาใหม่ ความหมายกว้างขึ น อาจใช้ นาม + นาม, นาม + กริยา, นาม + คุณศัพท์ ก็ได้ โดยคาขยายจะอยู่หน้าคาศัพท์ คาประสมอาจเขียน ติดหรือแยกกันก็ได้
คำภำษำอังกฤษที่กลำยเป็นคำยืมในภำษำไทยมักเกิดกำรเปลี่ยนแปลงตำมระบบ เสียงที่ แตกต่ำงกันโดย ๑. การตัดเสียงพยัญชนะต้นคาและท้ายคา ๒. การเพิ่มเสียง มีทั งเสียงสระและเสียงพยัญชนะ โดยเฉพาะสระระหว่าง พยัญชนะควบ เช่น copy -ก๊อปปี้, meeting -มี ตติ งเพิ่มเสียงพยัญชนะ slang -สแลง, screw -สกรู เพิ่มเสียงสระ ๓. การเปลี่ยนแปลงเสียงพยัญชนะทั งต้นคาและพยัญชนะท้ายคา เช่น g = k-golf = กอล์ฟ, g หรือ j = y-jam = แยม gypsy = ยิปซี sh= ch-shirt = เชิ ต, v = w-vote = โหวต เปลี่ยนเสียงพยัญชนะต้นคา jazz = แจ๊ส, bugalow= บังกาโลเปลี่ยนเสียงพยัญชนะท้ายคา
ตัวอย่ำงคำภำษำอังกฤษที่นำมำใช้ในภำษำไทย 
๑. คาที่เกี่ยวกับการกีฬา เช่น เทนนิส ฟุตบอล แบดมินตัน บาสเกตบอล 
๒. คาที่เกี่ยวกับการดนตรี เช่น เปียโน ไวโอลิน ทรัมเป็ต แซ็กโซโฟน 
๓. คาที่เกี่ยวกับอาหาร เช่น สเต๊กสตู สลัด แซนด์วิช แฮมเบอร์เกอร์ ทูน่า เฟรนช์ฟราย โดนัต 
๔. คาที่เกี่ยวกับผลไม้ เช่น แอปเปิล สตรอว์เบอร์รี พลัมราสป์เบอร์รี 
๕. คาที่เกี่ยวกับเครื่องดื่มและขนม เช่น ไอศกรีม คุกกี เค้ก ไวน์ เบียร์ 
๖. คาที่เกี่ยวกับเครื่องใช้ เช่น เชิ ต เนกไท โซฟา ชอล์ก 
๗. คาที่เกี่ยวกับวิชาการ เช่น อะตอม เรดาร์ พลาสติก วัคซีน ออกซิเจน
ตัวอย่ำงคำยืมจำกภำษำอังกฤษที่ใช้บ่อย 
กราฟ (graph) แผนภูมิที่ใช้เส้น จุด หรือภาพเพื่อแสดงอาการเปลี่ยนแปลงค่าตัวแปรเทียบกับ ตัวแปรอื่น ก๊อก (cork) เครื่องปิด-เปิดนาจากท่อ หรือภาชนะบรรจุนา กอซ (gauze) ผ้าบางที่ใช้พันหรือปิดแผล ก๊อปปี้ (copy) กระดาษที่ใช้ทาสาเนา กอล์ฟ (golf) กีฬาใช้ไม้ตีลูกกลมผ่านพื นที่ขวางกั น เช่น หลุมทรายให้ไปลงหลุมที่กาหนด กะรัต (carat) หน่วยมาตราชั่งเพชรพลอย กะละแม (caramel) ชื่อขนมทาด้วยข้าวเหนียว กะทิ และนาตาลกวนจนเหนียวเป็นสีดา กัปตัน (captain) นายเรือ ก๊าซ (gas) อากาศธาตุ
ใบกิจกรรมเรื่อง คายืมที่มาจากภาษาอังกฤษ 
ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย √ใน หน้าคาที่มาจากภาษาอังกฤษ และเครื่องหมาย × ใน หน้าคาที่ไม่ใช่คาภาษาอังกฤษ 
๑. ทีม ๖. ฟรี 
๒. แสตมป์๗. เศร้า 
๓.ครีม๘. ฟุตบอล 
๔. ซีอิ๊ว๙. ฟิล์ม 
๕. ลิตร๑๐. เซ็น
๕. คายืมภาษาญี่ปุ่น 
คายืมภาษาญี่ปุ่นที่มีใช้ในภาษาไทยจะมีไม่มากส่วนมากเป็นชื่อ อาหารชื่อกีฬาเช่น ชื่ออาหารเช่นสุกี ยากี ซาบะวาซาบิโมจิยากิ โซบะซูซิเท็มปุระอูด้ง ชื่อกีฬาเช่นยูโดคาราเต้ซูโม่ คาอื่น ๆเช่นกิโมโนสึนามิคาราโอเกะซาโยนาระซามูไรฮาราคีรี
ลักษณะของคำภำษำญี่ปุ่น 
๑. การเรียงคาเข้าประโยคในภาษาญี่ปุ่นจะแตกต่างกับภาษาไทย เพราะ ภาษาญี่ปุ่นใช้ ประธาน + กรรม + กริยา 
๒. ภาษาญี่ปุ่นไม่มีรูปวรรณยุกต์ เช่น กิโมโน ซาบะวาซาบิ 
๓. คายืมภาษาญี่ปุ่นที่นามาใช้ในภาษาไทยมักใช้คาทับศัพท์ เช่น ยูโด ซากุระ ซูชิ
คำยืมมำจำกภำษำญี่ปุ่นคำแปล 
กิโมโนเสื อชุดประจาชาติญี่ปุ่น 
เกอิชาหญิงต้อนรับหญิงให้บริการ 
คามิคาเซ่ทหารหน่วยกล้าตายของญี่ปุ่น 
คาราเต้ศิลปะการต่อสู้ด้วยสันหรือนิ วมือ 
เค็นโด้ศิลปะการต่อสู้ด้วยไม้ 
ซามูไรทหารอาชีพเดิมพวกนี ใช้มีดดาบเป็นอาวุธ 
ซูโมมวยปลา
๖. คำภำษำชวำ-มลำยูที่มีใช้ในภำษำไทย 
ภาษาชวา ปัจจุบันเรียกว่าภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาตระกูลคาติดต่อ ตระกูลเดียวกับภาษามลายู ภาษาชวาที่ไทยยืมมาใช้ส่วนมากเป็นภาษา เขียน ซึ่งรับมาจากวรรณคดีเรื่อง ดาหลังและอิเหนาเป็นส่วนใหญ่ ถ้อยคา ภาษาเหล่านี ใช้สื่อสารในวรรณคดี และในบทร้อยกรองต่าง ๆ มากกว่าคาที่ นามาใช้สื่อสารในชีวิตประจาวัน ภาษามลายูหรือภาษามาเลย์ ปัจจุบันเรียกว่า ภาษามาเลเซีย เป็นภาษา คาติดต่อ อยู่ในตระกูลภาษาชวา-มลายู คาส่วนใหญ่จะมีสองพยางค์และ สามพยางค์ เข้ามาปะปนในภาษาไทยเพราะมีเขตแดนติดต่อกัน จึงติดต่อ สัมพันธ์กันทั งทางด้านการค้าขาย ศาสนา วัฒนธรรม มาเป็นเวลานาน โดยเฉพาะจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ยะลา สงขลา ปัตตานี นราธิวาส และสตูล ยังคงใช้ภาษามลายูสื่อสารในชีวิตประจาวันอยู่เป็นจานวนมาก
กำรยืมคำภำษำชวำ-มลำยูมำใช้ในภำษำไทย 
ใช้ในการแต่งคาประพันธ์ เช่น บุหรง บุหลัน ระตู ปาหนัน ตุนาหงัน เป็นต้น 
ใช้สื่อสารในชีวิตประจาวัน เช่น กัลปังหา กุญแจ กระดังงา ซ่าหริ่ม ประทัด เป็นต้น 
นามาใช้ในความหมายคงเดิม เช่น ทุเรียน น้อยหน่า บุหลัน เป็นต้น 
ตัวอย่ำงคำภำษำชวำ-มลำยูในภำษำไทยกะพง กระจูด กะลาสี กะลุมพี กายาน กาปั่น กระยาหงัน (สวรรค์) กะละปังหา กระแชง จับปิ้ง จาปาดะ ตลับ ทุเรียน บูดู ปาเต๊ะ มังคุด สละ สลัก สลาตัน สลัด สุจหนี่ โสร่ง หนัง ยะลา เบตง น้อยหน่า กริช กิดาหยัน (มหาดเล็ก) กุหนุง (เขาสูง) กุญแจ การะบุหนิง (ดอกแก้ว) กระดังงา อิเหนา อังกะลุง อสัญแดหวา (เทวดา) ตุนาหงัน (คู่หมั น) ยิหวา (ดวงใจ) บุหรง (นกยูง) บุหลัน (ดวงจันทร์) บุหงา (ดอกไม้) อุรังอุตัง สะตาหมัน (สวน) บุหงาราไป ปาหนัน (ดอกลาเจียก) รามะนา การะบุหนิง (ดอกแก้ว) กิดาหยัน (มหาดเล็ก) ซ่าโบะ (ผ้าห่ม) ซ่าหริ่ม ดาหงัน (สงคราม) ปัน หยี ปั้นเหน่ง ประทัด บุษบามินตรา (ดอกพุทธรักษา) มาลาตี (ดอกมะลิ) มินตรา (ต้น กระถิน) มิรันตี (ดาวเรือง) สะการะตาหรา (ดอกกรรณิการ์) ตันหยง (ดอกพิกุล) กาหลา (ชื่อ ดอกไม้) ประไหมสุหรีมะเดหวี ระตู (เจ้าเมือง)
เพลงคำยืมที่มำจำกภำษำชวำ มาซิมาร้องราทาเพลง ให้ครื นเครงร้องเพลงชวา กระยาหงันคือวิมานเทวา สะตาหมันอุทยานแนวไพร อสัญแดหวาเทวดา ซ่าหริ่มนั นหนาหวานเย็นชื่นใจ ปั้นเหน่งเข็มขัดรัดเอวทรามวัย ประไหมสุหรีมเหสีราชา บุหลันนั นคือพระจันทร์อาไพ บุหงาราไปคือดอกไม้นานา พุทธรักษา บุษบามินตรา ระเด่นโอรสายิหวาดวงใจ
แบบทดสอบหลังเรียน 
๑. คาที่เกี่ยวข้องกับอาหารการกิน มักจะยืมมาจากภาษาใด 
ก.ภาษาจีน 
ข.ภาษาเขมร 
ค.ภาษาอังกฤษ 
ง.ภาษาชวา-มลายู 
๒.คาว่า “เมตตา วิญญาณ” ยืมมาจากภาษาใด 
ก.เขมรข.บาลี 
ค.ชวาง.สันสกฤต
๓.คาในข้อใดยืมมาจากภาษาสันสกฤตทุกคา 
ก. กีฬา บรรทัด พรรณนา 
ข. กรีฑา อัชฌาสัย สมุทร 
ค. ศิษย์ พฤกษา เคราะห์ 
ง. พาณิชย์ มัธยมศึกษา ปราชญ์ 
๔.คาในข้อใดเป็นคาภาษาเขมร 
ก.เพลิง 
ข.เพชร 
ค.มรกต 
ง.บูรณะ
๕.ข้อใดเป็นลักษณะของคาภาษาจีนที่ใช้ในภาษาไทย 
ก.ส่วนใหญ่เป็นเสียงสามัญ 
ข.ไม่มีตัวสะกดแต่นิยมผสมด้วยสระเสียงยาว 
ค.พยัญชนะต้นเป็นอักษรกลางมากกว่าอักษรอื่น 
ง.ส่วนใหญ่เป็นคาพยางค์เดียว ไทยนามาสร้างคาใหม่เป็นคาประสม 
๖.คาภาษาชวาเข้ามาในภาษาไทยพร้อมกับวรรณคดีเรื่องใด 
ก.รามเกียรติ์ 
ข. ระเด่นลันได 
ค.ลิลิตเพชรมงกุฎ 
ง. ดาหลังและอิเหนา
๗.ข้อใดเป็นลักษณะเด่นของภาษาชวา-มลายู 
ก .เป็นคาโดด 
ข. ใช้รูปวรรณยุกต์เอก โท 
ค. ไม่มีเสียงพยัญชนะควบกล้า 
ง. เป็นคาที่แสดงถึงวัฒนธรรมประเพณี 
๘.คายืมที่มาจากภาษาอังกฤษเริ่มเข้ามาในสมัยใด 
ก. รัชกาลที่ 1ข.รัชกาลที่ 2 
ค. รัชกาลที่ 3-4ง.รัชกาลที่ 4-6
๙. คาทับศัพท์มีลักษณะอย่างไร 
ก.ยืมมาปรับเปลี่ยนความหมาย 
ข. ยืมมาใช้โดยไม่มีการปรับปรุงแก้ไข 
ค. ยืมมาปรับเปลี่ยนโครงสร้างของคา 
ง. ยืมมาปรับเปลี่ยนวิธีการออกเสียง 
๑๐.ศัพท์บัญญัติคิดขึ้นมาใช้แทนคาศัพท์ในภาษาใด 
ก.ภาษาอังกฤษ 
ข. ภาษาบาลี-สันสกฤต 
ค. ภาษาชวา-มลายู 
ง. ภาษาจีนและอังกฤษ
๑๑.ศัพท์บัญญัติใช้คาในภาษาใดมาประกอบขึ้นเป็นคาใหม่ 
ก. ภาษาอังกฤษ 
ข. ภาษาบาลีสันสกฤต 
ค. ภาษาชวา-มลายู 
ง. ภาษาจีนและอังกฤษ 
๑๒.คาในข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติ 
ก. โบนัส 
ข. ไดโนเสาร์ 
ค. วัฒนธรรม 
ง. กรรมการ
๑๓.ข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติทางคณิตศาสตร์ 
ก. รหัสแท่ง ทวิเสถียร 
ข. อนุกรม การแปลงผัน 
ค. สัมปทาน ค่าผ่านทาง 
ง. การแฝงนัย การผูกขาด 
๑๔.ข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติทางวรรณคดี 
ก. รัฐกันชน 
ข. การเสียดสี 
ค. เสียงเสียดแทรก 
ง. ความสูงคลื่นเสียง
๑๕.ข้อใดไม่ใช่คาศัพท์ในวงวิชาชีพธุรกิจการขาย 
ก. คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก 
ข.เบรกอีเวน เยียร์ลีรีวิว 
ค. ควอเตอร์โปรเจ็กเซล 
ง. ซัพพลายเออร์ออร์เดอร์
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 
๑. ข2. ก3.ก4.ค 
5. ง 6.ค 7.ค8.ค 9.ก10. ข 11. ก12. ข 13. ข14. ค15.ข
๑.ก๒.ข๓.ค๔.ก 
๕. ค ๖.ง๗.ค๘.ง ๙.ข ๑๐.ก ๑๑.ข๑๒.ค ๑๓.ข๑๔. ข ๑๕.ก
เฉลยใบกิจกรรมเรื่องคำยืมภำษำเขมร 
๑. สราญ 
๒. เชลย 
๓. ตาหนัก 
๔. สดับ 
๕. บาเพ็ญ
๑. √ 
๒. √ 
๓. √ 
๔. √ 
๕. √ 
๖. √ 
๗.× 
๘. √ 
๙.× 
๑๐.. √ 
เฉลยใบกิจกรรมเรื่องคำยืมภำษำจีน
เฉลยใบกิจกรรมเรื่องคำยืมภำษำอังกฤษ 
๑. √ 
๒. √ 
๓. √ 
๔.× 
๕. √ 
๖. √ 
๗.× 
๘. √ 
๙. √ 
๑๐. √
เฉลยใบกิจกรรมเรื่องคำยืมภำษำบำลีและสันสกฤต 
พระเจ้าแผ่นดิน เช่น กษัตราธิราช พระมหากษัตริย์ ขัตติยะ กษัตริย์ 
นเรนทร์ภูมิบดี ภูวนาถ ภูวไนยบพิตร เป็นต้น 
ดอกไม้ เช่น บุษบา บุปผา ผกา มาลี มาลย์ 
น้า เช่น ชล อุทก คงคา วารี อาโป 
เด็ก เช่น ทารก ดรุณ กุมาร 
ตะวัน เช่น พระอาทิตย์ ทินกร ทิวากร สุริยา ประภากร

More Related Content

What's hot

โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
krubuatoom
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
Sivagon Soontong
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
Sivagon Soontong
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
krubuatoom
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
bambookruble
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
KruBowbaro
 
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
Parit_Blue
 

What's hot (20)

ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำ
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
1 อิศรญาณภาษิต ok
1 อิศรญาณภาษิต  ok1 อิศรญาณภาษิต  ok
1 อิศรญาณภาษิต ok
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
 
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
 

Viewers also liked

ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
Suriyawaranya Asatthasonthi
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (10)

ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืมใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 

Similar to คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
Nook Kanokwan
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
krudow14
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
vp12052499
 
Kam
KamKam
Kam
sa
 

Similar to คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย (20)

Korat
KoratKorat
Korat
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
ระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอ
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59
 
Kam
KamKam
Kam
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 

More from พัน พัน

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

  • 1. เรื่อง คำยืมภำษำต่ำงประเทศในภำษำไทย โดย ครูอรุณศรี บงกชโสภิต ภำคเรียนที่ ๑ ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๗ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กำญจนบุรี วิชาภาษาไทย ม.๓
  • 2. มำตรฐำนกำรเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การ เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ม. ๓/๑จาแนกและใช้คาภาษาต่างประเทศที่ใช้ใน ภาษาไทย
  • 3. จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ๑. บอกหลักการจาแนกคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย (K) ๒. จาแนกคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย (P) ๓. ยกตัวอย่างคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย (P) ๔. ตระหนักถึงความสาคัญของภาษาไทย และอิทธิพล ภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย (A)
  • 4. แบบทดสอบก่อนเรียน ๑.คาว่า “เมตตา วิญญาณ” ยืมมาจากภาษาใด ก.เขมรข.บาลี ค. ชวาง.สันสกฤต ๒.คาที่เกี่ยวข้องกับอาหารการกิน มักจะยืมมาจากภาษาใด ก.ภาษาจีน ข.ภาษาเขมร ค.ภาษาอังกฤษ ง.ภาษาชวา-มลายู
  • 5. ๓.คาในข้อใดเป็นคาภาษาเขมร ก.เพลิง ข.เพชร ค.มรกต ง.บูรณะ ๔.คาในข้อใดยืมมาจากภาษาสันสกฤตทุกคา ก. กีฬา บรรทัด พรรณนา ข. กรีฑา อัชฌาสัย สมุทร ค. ศิษย์ พฤกษา เคราะห์ ง. พาณิชย์ มัธยมศึกษา ปราชญ์
  • 6. ๕.คาภาษาชวาเข้ามาในภาษาไทยพร้อมกับวรรณคดีเรื่องใด ก.รามเกียรติ์ ข. ระเด่นลันได ค.ลิลิตเพชรมงกุฎ ง. ดาหลังและอิเหนา ๖.ข้อใดเป็นลักษณะของคาภาษาจีนที่ใช้ในภาษาไทย ก.ส่วนใหญ่เป็นเสียงสามัญ ข.ไม่มีตัวสะกดแต่นิยมผสมด้วยสระเสียงยาว ค.พยัญชนะต้นเป็นอักษรกลางมากกว่าอักษรอื่น ง.ส่วนใหญ่เป็นคาพยางค์เดียว ไทยนามาสร้างคาใหม่ เป็นคาประสม
  • 7. ๗.ข้อใดเป็นลักษณะเด่นของภาษาชวา-มลายู ก .เป็นคาโดด ข. ใช้รูปวรรณยุกต์เอก โท ค. ไม่มีเสียงพยัญชนะควบกลา ง. เป็นคาที่แสดงถึงวัฒนธรรมประเพณี ๘.คายืมที่มาจากภาษาอังกฤษเริ่มเข้ามาในสมัยใด ก. รัชกาลที่ ๑ข.รัชกาลที่ ๒ ค. รัชกาลที่ ๓-๔ง.รัชกาลที่ ๔-๖
  • 8. ๙.ศัพท์บัญญัติคิดขึ นมาใช้แทนคาศัพท์ในภาษาใด ก.ภาษาอังกฤษ ข. ภาษาบาลี-สันสกฤต ค. ภาษาชวา-มลายู ง. ภาษาจีนและอังกฤษ ๑๐. คาทับศัพท์มีลักษณะอย่างไร ก.ยืมมาปรับเปลี่ยนความหมาย ข. ยืมมาใช้โดยไม่มีการปรับปรุงแก้ไข ค. ยืมมาปรับเปลี่ยนโครงสร้างของคา ง. ยืมมาปรับเปลี่ยนวิธีการออกเสียง
  • 9. ๑๑.ข้อใดไม่ใช่คาศัพท์ในวงวิชาชีพธุรกิจการขาย ก. คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก ข.เบรกอีเวน เยียร์ลีรีวิว ค. ควอเตอร์โปรเจ็กเซล ง. ซัพพลายเออร์ออร์เดอร์ ๑๒.ข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติทางคณิตศาสตร์ ก. รหัสแท่ง ทวิเสถียร ข. อนุกรม การแปลงผัน ค. สัมปทาน ค่าผ่านทาง ง. การแฝงนัย การผูกขาด
  • 10. ๑๓.ข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติทางวรรณคดี ก. รัฐกันชน ข. การเสียดสี ค. เสียงเสียดแทรก ง. ความสูงคลื่นเสียง ๑๔.ศัพท์บัญญัติใช้คาในภาษาใดมาประกอบขึ นเป็นคาใหม่ ก.ภาษาอังกฤษ ข. ภาษาบาลีสันสกฤต ค. ภาษาชวา-มลายู ง. ภาษาจีนและอังกฤษ
  • 11. ๑๕.คาในข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติ ก. โบนัส ข. ไดโนเสาร์ ค. วัฒนธรรม ง. กรรมการ
  • 12. สำระสำคัญ การนาคาภาษาต่างประเทศมาใช้ทาให้ภาษาไทยมีคาใช้เพิ่มมากขึ น แสดงถึงการรับอิทธิพลทางภาษาและวัฒนธรรมจากต่างประเทศ การศึกษาคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทยเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา ภาษาไทยในระดับที่สูงขึ นต่อไป คำยืมภำษำต่ำงประเทศในภำษำไทย • ภาษาเขมร • ภาษาจีน • ภาษาบาลี-สันสกฤต • ภาษาอังกฤษ • ภาษาญี่ปุ่น • ภาษาชวา-มลายู
  • 13. ๑. คำยืมจำกภำษำเขมร เขมรเป็นชาติที่มีความสัมพันธ์มานานทั งทางการค้า การสงคราม การเมืองและวัฒนธรรม เขมรมีอิทธิพลเหนือดินแดนสุวรรณภูมิก่อนกรุงสุโขทัยหลายร้อยปี จากการมีอาณาเขตติดต่อกัน ทาให้เขมรภาษาเขมรเข้ามาปะปนกับภาษาไทยตั งแต่สมัยโบราณ ภาษาถิ่นเขมรก็คล้ายคลึงกับ ภาษาพูด ของชาวอีสานใต้ของไทย ตลอดจนชาวภาคตะวันออกตามชายแดนไทย -กัมพูชาด้วยลักษณะ ภำษำเขมร ๑. ภาษาเขมรเป็นภาษาคาโดด คาส่วนใหญ่มีเพียง ๑ -๒ พยางค์ ใช้อักษรขอมหวัด มีพยัญชนะ ๓๓ ตัว เหมือนภาษาบาลี คือ วรรคกะ ก ข ค ฆ ง, วรรคจะ จ ฉ ช ฌ ญ วรรคฏะฏ ฐ ฑ ฒ ณ ,วรรคตะ ต ถ ท น ธ วรรคปะ ป ผ พ ภ ม ,เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ อ ๒. ภาษาเขมรไม่มีวรรณยุกต์แต่อิทธิพลคายืมบางคาให้เขมรมีรูปวรรณยุกต์ (+)ใช้ ๓. ภาษาเขมรมรสระจม ๑๘ รูป สระลอย ๑๘ รูป แบ่งเป็นสระเดี่ยวยาว ๑๐ เสียง สระผสม ๒ เสียง ยาว ๑๗ เสียง สระเดี่ยวสั น ๙ เสียง สระประสม ๒ เสียง สั น ๓ เสียง ๔. ภาษาเขมรมีพยัญชนะควบกลามากมาย มีพยัญชนะควบกลา ๒ เสียง ถึง ๘๕หน่วยและพยัญชนะควบกลา ๓ เสียง ๓ หน่วย
  • 14. กำรสร้ำงคำในภำษำเขมร ๑. การสร้างคาโดยการเติมหน่วยคาเข้าข้างหน้าคาเดิม ทาให้คาเดิมพยางค์เดียวเป็นคาใหม่ ๒ พยางค์เรียกว่าการลงอุปสรรค บ(บัง,บัน,บา) เช่น เพ็ญ -บาเพ็ญ ,เกิด -บังเกิด ,โดย-บันโดย โดยเมื่อ บ อยู่หน้าวรรคกะ หรือ เศษวรรคจะอ่านว่า "บัง" เช่น บังคม ,บังเกิด,บังอาจ เมื่อ บ อยู่หน้าวรรคตะ อ่านว่า "บัน" เช่น บันดาล,บันโดย,บันเดิน เมื่อ บ อยู่หน้าวรรคปะ อ่านว่า "บา" เช่น บาบัด,บาเพ็ญ,บาบวง ๒. การสร้างคาโดยการเติมหน่วยคาเข้ากลาง คาหลัก ทาให้คาเดิมพยางค์เดียว เป็นคาใหม่ ๒ พยางค์เรียกการลงอาคม ก. การลง อา น เช่น จง-จานง,ทาย -ทานาย ,อวย-อานวย ข. การเติม อา เช่น กราบ-การาบ.ตรวจ-ตารวจ,เปรอ-บาเรอ ค. การเปลี่ยน ข เป็น ก,ฉ เป็น จ และเพิ่ม ท เช่น ฉัน-จังหัน,แข็ง-กาแหง ง. การเติม ง,น,ร,ล เช่น เรียง-ระเบียง,เรียบ-ระเบียบ,ราย-ระบาย * เนื่องจากภาษาเขมรพยัญชนะคนละกลุ่ม เมื่อประสมตัวเดียวกันจะออกเสียงต่างกัน ซึ่งต่าง จากภาษาไทย ลักษณะของภาษาเขมรที่ไทยนามาใช้จึงมีการเปลี่ยนแปลงรูปบ้าง เสียงบ้างตามแบบไทย
  • 15. ลักษณะคำเขมรในภำษำไทย ๑. คาที่มาจากภาษาเขมรส่วนมากมาจากสะกดด้วย จ ญ ร ล เช่น เผด็จ ,บาเพ็ญ, กาธร , ถกล , ตรัส ๒. ต้องแปลความหมายจึงจะเข้าใจ ใช้มากในบทร้อยกรอง ๓. เมื่อมาใช้ในภาษาไทย ข แผลงกระ เช่น ขจาย-กระจาย, ขโดง-กระโดง ๔. นิยมใช้อักษรนาแบบออกเสียงตัวนาโดยพยางค์ต้นออกเสียง อะกึ่ง เสียงพยางค์หลังออกเสียงตามสระที่ผสมอยู่ เช่น สนุก ,สนาน, เสด็จ ถนน ,เฉลียว ๕. คาเขมรส่วนมากใช้เป็นราชาศัพท์ เช่น เสวย,บรรทม,เสด็จ,โปรด
  • 16. ตัวอย่าง จ สะกด เช่น เผด็จ เสด็จ สมเด็จ กาจ อาจ อานาจ สาเร็จ สารวจ ฉกาจ ตารวจ ร สะกด เช่น ควร จาร บังอร ขจร จร ล สะกด เช่น ดล ถกล บันดาล ทูล กังวล ถวิล ญ สะกด เช่น เพ็ญ เจริญ จาเจริญ เชิญ อัญเชิญ ชาญ ชานาญ ลาญ ผลาญ
  • 17. ตัวอย่ำงคำยืมจำกภำษำเขมรที่ใช้บ่อย กฏจดไว้เป็นหลักฐาน; ข้อบังคับ กรง(กฺรง)สิ่งที่ทาเป็นซี่ๆ สาหรับขังนก เป็นต้น กรม(กฺรม)ลาดับ, หมวด, หมู่, กอง กรรไตร(กันไตร)เครื่องมือสาหรับตัดโดยใช้หนีบ กรวด(กฺรวด)หลั่งนาอุทิศส่วนกุศล กระชื่อเต่าทะเลหลังเป็นเกร็ดแผ่นโตๆ สีนาลายเหลือง ปากงุ้ม ขาเป็นพาย กระฉูดอาการที่ของเหลวพุ่งออกไป กระเชอภาชนะสานคล้ายกระจาดขนาดเล็ก กระเดียดเอาเข้าสะเอว กระโดงใบเรือ
  • 18. ใบกิจกรรมเรื่อง คาที่มาจากภาษาเขมร คาต่อไปนี้มีที่มาจากภาษาเขมร ให้นักเรียนเติมตัวอักษรที่หายไป เพื่อให้คาสมบูรณ์และตรงกับความหมาย ๑. สุขสบาย ๒. ผู้ที่ถูกข้าศึกจับตัวได้ ๓. เรือนของเจ้านาย ๔. ตั้งใจฟัง ๕.ประพฤติ ปฏิบัติ ร ย ห ก บ พ บ
  • 19. ๒. คำยืมจำกภำษำจีน ไทยและจีนเป็นมิตรประเทศที่ติดต่อเจริญสัมพันธไมตรี อีกทั งยังมีการ ค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้าและวัฒนธรรมอันดีงามกันมาช้านานรวมทั งศิลปะ สถาปัตยกรรมต่างๆ ด้วย ชาวจีนที่เข้ามาค้าขายตลอดจนตั งถิ่นฐานอยู่ในประเทศไทยเป็นจานวนมาก ปัจจุบัน คนไทยเชื อสายจีนก็เพิ่มพูนขึ นมากมาย ภาษาจีนจึงเข้ามาสู่ไทยโดยทางเชื อ สาย นอกจากนี ภาษาจีนและภาษาไทยยังมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันจึงทาให้คา ภาษาจีนเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทยจนแทบแยกกันไม่ออก
  • 20. ลักษณะภำษำจีน ภาษาจีนมีลักษณะคล้ายคลึงกับภาษาไทยมาก คือ เป็นภาษาคาโดดและมี เสียงวรรณยุกต์ใช้ เช่นเดียวกัน เมื่อนาคาภาษาจีนมาใช้ในภาษาไทยซึ่งมีวรรณยุกต์ และสระประสมใช้จึงทาให้สามารถ ออกเสียงวรรณยุกต์และสระตามภาษาจีนได้ อย่างง่ายดาย คาภาษาจีนยังมีคาที่บอกเพศในตัวเช่นเดียว กับภาษาไทยอีกด้วย เช่น เฮีย(พี่ชาย), ซ้อ(พี่สะใภ้), เจ๊(พี่สาว), นอกจากนี การสะกดคาภาษาจีนในภาษาไทยยังใช้ตัวสะกดตรงตามมาตรา ตัวสะกดทั ง ๘ มาตรา และมีการใช้ทัณฑฆาต หรือตัวการันต์ด้วย
  • 21. ตัวอย่ำงคำภำษำจีนที่นำเข้ำมำใช้ในภำษำไทย ๑. ที่เกี่ยวกับอาหารและขนม เช่น ก๋วยเตี๋ยว กวยจั๊บ เย็นตาโฟ เกี ยมอี๋ บะหมี่ เฉาก๊วย เต้าหู้ พะโล้ บะช่อ กวยจี๊ เกาเหลา แป๊ะซะ เต้าส่วน เต้าทึง เต้าฮวย เต้าหู้ยี ๒. คาที่เกี่ยวกับเครือญาติ เช่น เจ๊ก๋ง เตี่ยเฮีย ม่วย ๓. คาที่เกี่ยวกับผักผลไม้ เช่น เกี ยมไฉ่ ขึ นฉ่าย ตังโอ๋ กุยช่าย กงไฉ่ เก๊กฮวย บ๊วย หนาเลี๊ยบ ๔. คาที่เกี่ยวกับเครื่องใช้ เช่น เก๊ะเข่ง โต๊ะ เก้าอี ตั๋ว กอเอี๊ยะ อั งโล่ ๕. คาที่เกี่ยวกับเครื่องแต่งกาย เช่น ขาก๊วย เกี๊ยะ กุยเฮง เอี๊ยม ๖. คาที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมจีน เช่น งิ ว กงเต๊ก เซียมซี แซยิด
  • 22. ตัวอย่างคายืมจากภาษาจีนที่ใช้บ่อย ก๊กพวก, หมู่, เหล่า กงเต๊กการทาบุญให้ผู้ตายพิธีจีนโดยสวดและเผากระดาษรูปต่างๆ มี บ้าน, รถ, คนใช้ กวยจั๊บชื่อของกินทาด้วยแป้งข้าวเจ้าหั่นเป็นชิ นใหญ่ ก๋วยเตี๋ยวชื่อของกินทาด้วยแป้งข้าวเจ้าเป็นเส้นๆ กอเอี๊ยะขี ผึ งปิดแผลชนิดหนึ่งแบบจีน กุ๊นขลิบเย็บหุ้มริมผ้าหรือของอื่นๆ กุยช่ายชื่อไม้ล้มลุกคล้ายต้นหอม ใบแบน กลิ่นฉุน กินได้ เฉาก๊วยชื่อขนมคล้ายวุ้นสีดากินกับนาหวาน
  • 23. ใบกิจกรรมเรื่อง คายืมภาษาจีน ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย √ใน หน้าคาที่มาจากภาษาจีน และ เครื่องหมาย × ใน หน้าคาที่ไม่ใช่คาภาษาจีน ๑. แซ่ ๘. เกาเหลา ๒. เกี๊ยะ ๙. เท่ ๓. จับกัง ๑๐. เก้าอี้ ๔. กวยจั๊บ ๕. ซินแส ๖. เซียน ๗. คิว
  • 24. ๓. คายืมจากภาษาสันสกฤต ภาษาสันสกฤตเกิดจากภาษาพระเวท มีกฎเกณฑ์รัดกุมมาก เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เป็นภาษาที่ผู้มีการศึกษาสูงใช้ และเป็นภาษาทาง วรรณคดีใช้เขียนคัมภีร์พระเวท เป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์มีผู้ศึกษาน้อยจนเป็น ภาษาที่ตายไปในที่สุด การที่ไทยเรารับเอาลัทธิบางอย่างมาจากศาสนา พราหมณ์ ทาให้ภาษาสันสกฤตได้เข้ามามีบทบาทในภาษาไทยด้วย ภาษา สันสกฤตเป็นภาษาที่ไพเราะและสุภาพมากจึงมักใช้ในบทร้อยกรองและ วรรณคดี
  • 25. สระในภำษำสันสกฤต ภาษาสันสกฤตมีสระทั งหมด ๑๔ เสียง สระเดี่ยว ๑๐ เสียง สระประสม ๔ เสียง พยัญชนะวรรคในภำษำบำลีสันสกฤต กัณฐชะ ฐานคอ วรรคกะ ก ข ค ฆ ง ตาลุชะ ฐานเพดาน วรรคจะ จ ฉ ช ฌ ญ มุทธชะ ฐานปุ่มเงือก วรรคฏะฏ ฐ ฑ ฒ ณ ทันตชะ ฐานฟัน วรรคตะ ต ถ ท ธ น โอษฐชะ ฐานริมฝีปาก วรรคปะ ป ผ พ ภ ม เศษวรรค ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ
  • 26. กำรสร้ำงคำในภำษำสันสกฤต ๑. การสมาส (ดูภาษาบาลี) เช่น ศิลปะ + ศาสตร์ = ศิลปะ ศาสตร์, มานุษย+ วิทยา =มานุษยวิทยา ๒. การสนธิ (ดูภาษาบาลี) เช่น คณ+ อาจารย์ = คณาจารย์, ภูมิ + อินทร์ = ภูมินทร์ ๓. การใช้อุปสรรค คือ การเติมพยางค์ประกอบหน้าศัพท์เป็นส่วน ขยายศัพท์ ทาให้ความหมายเปลี่ยนแปลงไป เช่น วิ -วิเทศ, สุ -สุภาษิต, อป -อัปลักษณ์, อา -อารักษ์
  • 27. ข้อสังเกต ๑. ภาษาสันสกฤตจะใช้สระประสม ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา คาประสมสระไอเมื่อเป็นคาไทยใช้สระแอ (ไวทย-แพทย์) ๒. ภาษาสันสกฤตจะใช้พยัญชนะ ศ ษ ฑ (บาลีใช้ ส, ฬ) เช่น กรีฑา, ศิลปะ, ษมา ๓. ภาษาสันสกฤตมีพยัญชนะประสมและ รรใช้ เช่น ปรากฏ, กษัตริย์ ; ครรภ์, จักรวรรดิ
  • 28. ตัวอย่ำงคำยืมจำกภำษำสันสกฤตที่ใช้บ่อย กนิษฐ์ น้อง, น้อย (คู่กับเชษฐ์) กบฎ(กะบด) พญาลิง (กปิ + อินทร) กรกฎ (กอระกด) ปู ; ชื่อกลุ่มดาวปู กรม (กฺรม) ลาดับ กรรณ (กัน) หู, ใบหู กรรณิกา (กัน-) ดอกไม้ กรรม (กา) การกระทาที่ส่งผลร้ายมายังปัจจุบันหรือซึ่งจะส่งผลร้ายต่อไปยัง อนาคต กรรมกร (กามะกอน) ผู้ใช้แรงงาน, คนงาน, ลูกจ้าง (กรฺม+ กร) กรรมการ (กามะกาน) คณะบุคคลที่ร่วมกันทางานที่ได้รับมอบหมาย (กรฺม+ การ)
  • 29. ๑. ให้สังเกตจากพยัญชนะตัวสะกดตัวตามอยู่ในวรรคเดียวกัน ถ้าพยัญชนะตัวที่ ๑ สะกด ตัวที่ ๑ หรือตัวที่ ๒ ตาม พยัญชนะตัวที่ ๓ สะกด ตัวที่ ๓ หรือตัวที่ ๔ ตาม พยัญชนะตัวที่ ๕ สะกด พยัญชนะทุกตัวในวรรคเดียวกันตามได้ สังเกตจากตัวอักษรที่มี ฬ และ ฆ ฌ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ พบมากในภาษาบาลี และคาที่มี “ปฏิ” อยู่ข้างหน้า ส่วน ใหญ่จะเป็นคาในภาษาบาลี ๒. วิธีสังเกตคาสันสกฤตในไทย ให้สังเกตคาที่มี ศ ษ ยกเว้นคาว่า ศอก ศึก เศิก เศร้า เป็นคาไทย คาที่มี ฤ ฤา ฦ ฦาไอ เอา คาที่มี “รร” และคาที่มี ร ควบกับตัวอื่น และใช้เป็นตัวสะกด ๓. เมื่อนาคาภาษาบาลีสันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย สามารถใช้ในความหมายเหมือนกัน ความหมายต่างกัน หรือเลือกใช้ตามความนิยม
  • 30. ใบกิจกรรมเรื่อง ค้นหำคำที่มำจำกภำษำบำลี-สันสกฤต ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มและแข่งขันค้นหำคำที่มำจำกภำษำบำลี- สันสกฤตและมีควำมหมำยตรงกับคำภำษำไทยที่กำหนด พระเจ้าแผ่นดิน...................................................................... ดอกไม้.................................................................................... นา........................................................................................... เด็ก........................................................................................ ตะวัน..................................................................................
  • 31. ๔. คำยืมจำกภำษำอังกฤษ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่แพร่หลาย สามารถใช้สื่อสารได้ทั่ว โลก การที่ไทยติดต่อค้าขายกับอังกฤษมาช้านานจนสมัย ร.๓ ไทยเริ่มมีการ ยืมคาจากภาษาอังกฤษมาใช้ในลักษณะการออกเสียงแบบไทยๆ ตลอดจน เจ้านายและข้าราชการที่ได้ศึกษาภาษาอังกฤษและมิชชันนารีก็เข้ามา เผยแพร่ศาสนาคริสต์ ทาให้ภาษาอังกฤษเข้ามามีบทบาทในภาษาไทยมาก ขึ น ร.๔ ทรงเห็นประโยชน์ของการศึกษาภาษาอังกฤษมากด้วย
  • 32. ลักษณะภำษำอังกฤษ ๑. ภาษาอังกฤษมีการเปลี่ยนแปลงรูปคาหรือเติมท้ายศัพท์ในลักษณะต่างๆ กันเพื่อแสดงลักษณะไวยากรณ์ เช่น การบอกเพศ พจน์ กาล (go-went-gone) หรือ ทาให้คาเปลี่ยนความหมายไป ๒. คาในภาษาอังกฤษมีการลงนาหนัก ศัพท์คาเดียวกันถ้าลงนาหนักต่าง พยางค์กันก็ย่อมเปลี่ยนความหมายและหน้าที่ของคา เช่น record -record๓. ภาษาอังกฤษมีตัวอักษร ๒๖ ตัว สระเดี่ยว(สระแท้) ๕ ตัว สระประสม มากมาย ๔. ภาษาอังกฤษมีพยัญชนะควบกลามากมาย ทั งควบกลา ๒ เสียง ๓ เสียง ๔ เสียง ปรากฏได้ทั งต้นและท้ายคา เช่น spring, grease, strange พยัญชนะต้นควบ desk, past, text พยัญชนะท้ายควบ
  • 33. กำรสร้ำงคำในภำษำอังกฤษ ๑. การใช้หน่วยคาเติมทั งหน้าศัพท์ (prefix) และหลังศัพท์ (suffix) โดยศัพท์นั นเมื่อเติมอุปสรรค, ปัจจัย จะทาให้เกิดศัพท์ความหมาย ใหม่ หรือ ความหมายเกี่ยวกันก็ได้ การปัจจัย (suffix) เช่น draw (วาด) - drawer (ลิ นชัก), write (เขียน) -writer (ผู้เขียน) การเติมอุปสรรค (prefix) เช่น -polite (สุภาพ) -impolite (ไม่สุภาพ), action (การ กระทา) -reaction (การตอบสนอง) ๒. การประสมคาโดยการนาคาศัพท์ ๒ คาขึ นไปมาเรียงติดต่อกัน ทาให้เกิดคาใหม่ ความหมายกว้างขึ น อาจใช้ นาม + นาม, นาม + กริยา, นาม + คุณศัพท์ ก็ได้ โดยคาขยายจะอยู่หน้าคาศัพท์ คาประสมอาจเขียน ติดหรือแยกกันก็ได้
  • 34. คำภำษำอังกฤษที่กลำยเป็นคำยืมในภำษำไทยมักเกิดกำรเปลี่ยนแปลงตำมระบบ เสียงที่ แตกต่ำงกันโดย ๑. การตัดเสียงพยัญชนะต้นคาและท้ายคา ๒. การเพิ่มเสียง มีทั งเสียงสระและเสียงพยัญชนะ โดยเฉพาะสระระหว่าง พยัญชนะควบ เช่น copy -ก๊อปปี้, meeting -มี ตติ งเพิ่มเสียงพยัญชนะ slang -สแลง, screw -สกรู เพิ่มเสียงสระ ๓. การเปลี่ยนแปลงเสียงพยัญชนะทั งต้นคาและพยัญชนะท้ายคา เช่น g = k-golf = กอล์ฟ, g หรือ j = y-jam = แยม gypsy = ยิปซี sh= ch-shirt = เชิ ต, v = w-vote = โหวต เปลี่ยนเสียงพยัญชนะต้นคา jazz = แจ๊ส, bugalow= บังกาโลเปลี่ยนเสียงพยัญชนะท้ายคา
  • 35. ตัวอย่ำงคำภำษำอังกฤษที่นำมำใช้ในภำษำไทย ๑. คาที่เกี่ยวกับการกีฬา เช่น เทนนิส ฟุตบอล แบดมินตัน บาสเกตบอล ๒. คาที่เกี่ยวกับการดนตรี เช่น เปียโน ไวโอลิน ทรัมเป็ต แซ็กโซโฟน ๓. คาที่เกี่ยวกับอาหาร เช่น สเต๊กสตู สลัด แซนด์วิช แฮมเบอร์เกอร์ ทูน่า เฟรนช์ฟราย โดนัต ๔. คาที่เกี่ยวกับผลไม้ เช่น แอปเปิล สตรอว์เบอร์รี พลัมราสป์เบอร์รี ๕. คาที่เกี่ยวกับเครื่องดื่มและขนม เช่น ไอศกรีม คุกกี เค้ก ไวน์ เบียร์ ๖. คาที่เกี่ยวกับเครื่องใช้ เช่น เชิ ต เนกไท โซฟา ชอล์ก ๗. คาที่เกี่ยวกับวิชาการ เช่น อะตอม เรดาร์ พลาสติก วัคซีน ออกซิเจน
  • 36. ตัวอย่ำงคำยืมจำกภำษำอังกฤษที่ใช้บ่อย กราฟ (graph) แผนภูมิที่ใช้เส้น จุด หรือภาพเพื่อแสดงอาการเปลี่ยนแปลงค่าตัวแปรเทียบกับ ตัวแปรอื่น ก๊อก (cork) เครื่องปิด-เปิดนาจากท่อ หรือภาชนะบรรจุนา กอซ (gauze) ผ้าบางที่ใช้พันหรือปิดแผล ก๊อปปี้ (copy) กระดาษที่ใช้ทาสาเนา กอล์ฟ (golf) กีฬาใช้ไม้ตีลูกกลมผ่านพื นที่ขวางกั น เช่น หลุมทรายให้ไปลงหลุมที่กาหนด กะรัต (carat) หน่วยมาตราชั่งเพชรพลอย กะละแม (caramel) ชื่อขนมทาด้วยข้าวเหนียว กะทิ และนาตาลกวนจนเหนียวเป็นสีดา กัปตัน (captain) นายเรือ ก๊าซ (gas) อากาศธาตุ
  • 37. ใบกิจกรรมเรื่อง คายืมที่มาจากภาษาอังกฤษ ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย √ใน หน้าคาที่มาจากภาษาอังกฤษ และเครื่องหมาย × ใน หน้าคาที่ไม่ใช่คาภาษาอังกฤษ ๑. ทีม ๖. ฟรี ๒. แสตมป์๗. เศร้า ๓.ครีม๘. ฟุตบอล ๔. ซีอิ๊ว๙. ฟิล์ม ๕. ลิตร๑๐. เซ็น
  • 38. ๕. คายืมภาษาญี่ปุ่น คายืมภาษาญี่ปุ่นที่มีใช้ในภาษาไทยจะมีไม่มากส่วนมากเป็นชื่อ อาหารชื่อกีฬาเช่น ชื่ออาหารเช่นสุกี ยากี ซาบะวาซาบิโมจิยากิ โซบะซูซิเท็มปุระอูด้ง ชื่อกีฬาเช่นยูโดคาราเต้ซูโม่ คาอื่น ๆเช่นกิโมโนสึนามิคาราโอเกะซาโยนาระซามูไรฮาราคีรี
  • 39. ลักษณะของคำภำษำญี่ปุ่น ๑. การเรียงคาเข้าประโยคในภาษาญี่ปุ่นจะแตกต่างกับภาษาไทย เพราะ ภาษาญี่ปุ่นใช้ ประธาน + กรรม + กริยา ๒. ภาษาญี่ปุ่นไม่มีรูปวรรณยุกต์ เช่น กิโมโน ซาบะวาซาบิ ๓. คายืมภาษาญี่ปุ่นที่นามาใช้ในภาษาไทยมักใช้คาทับศัพท์ เช่น ยูโด ซากุระ ซูชิ
  • 40. คำยืมมำจำกภำษำญี่ปุ่นคำแปล กิโมโนเสื อชุดประจาชาติญี่ปุ่น เกอิชาหญิงต้อนรับหญิงให้บริการ คามิคาเซ่ทหารหน่วยกล้าตายของญี่ปุ่น คาราเต้ศิลปะการต่อสู้ด้วยสันหรือนิ วมือ เค็นโด้ศิลปะการต่อสู้ด้วยไม้ ซามูไรทหารอาชีพเดิมพวกนี ใช้มีดดาบเป็นอาวุธ ซูโมมวยปลา
  • 41. ๖. คำภำษำชวำ-มลำยูที่มีใช้ในภำษำไทย ภาษาชวา ปัจจุบันเรียกว่าภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาตระกูลคาติดต่อ ตระกูลเดียวกับภาษามลายู ภาษาชวาที่ไทยยืมมาใช้ส่วนมากเป็นภาษา เขียน ซึ่งรับมาจากวรรณคดีเรื่อง ดาหลังและอิเหนาเป็นส่วนใหญ่ ถ้อยคา ภาษาเหล่านี ใช้สื่อสารในวรรณคดี และในบทร้อยกรองต่าง ๆ มากกว่าคาที่ นามาใช้สื่อสารในชีวิตประจาวัน ภาษามลายูหรือภาษามาเลย์ ปัจจุบันเรียกว่า ภาษามาเลเซีย เป็นภาษา คาติดต่อ อยู่ในตระกูลภาษาชวา-มลายู คาส่วนใหญ่จะมีสองพยางค์และ สามพยางค์ เข้ามาปะปนในภาษาไทยเพราะมีเขตแดนติดต่อกัน จึงติดต่อ สัมพันธ์กันทั งทางด้านการค้าขาย ศาสนา วัฒนธรรม มาเป็นเวลานาน โดยเฉพาะจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ยะลา สงขลา ปัตตานี นราธิวาส และสตูล ยังคงใช้ภาษามลายูสื่อสารในชีวิตประจาวันอยู่เป็นจานวนมาก
  • 42. กำรยืมคำภำษำชวำ-มลำยูมำใช้ในภำษำไทย ใช้ในการแต่งคาประพันธ์ เช่น บุหรง บุหลัน ระตู ปาหนัน ตุนาหงัน เป็นต้น ใช้สื่อสารในชีวิตประจาวัน เช่น กัลปังหา กุญแจ กระดังงา ซ่าหริ่ม ประทัด เป็นต้น นามาใช้ในความหมายคงเดิม เช่น ทุเรียน น้อยหน่า บุหลัน เป็นต้น ตัวอย่ำงคำภำษำชวำ-มลำยูในภำษำไทยกะพง กระจูด กะลาสี กะลุมพี กายาน กาปั่น กระยาหงัน (สวรรค์) กะละปังหา กระแชง จับปิ้ง จาปาดะ ตลับ ทุเรียน บูดู ปาเต๊ะ มังคุด สละ สลัก สลาตัน สลัด สุจหนี่ โสร่ง หนัง ยะลา เบตง น้อยหน่า กริช กิดาหยัน (มหาดเล็ก) กุหนุง (เขาสูง) กุญแจ การะบุหนิง (ดอกแก้ว) กระดังงา อิเหนา อังกะลุง อสัญแดหวา (เทวดา) ตุนาหงัน (คู่หมั น) ยิหวา (ดวงใจ) บุหรง (นกยูง) บุหลัน (ดวงจันทร์) บุหงา (ดอกไม้) อุรังอุตัง สะตาหมัน (สวน) บุหงาราไป ปาหนัน (ดอกลาเจียก) รามะนา การะบุหนิง (ดอกแก้ว) กิดาหยัน (มหาดเล็ก) ซ่าโบะ (ผ้าห่ม) ซ่าหริ่ม ดาหงัน (สงคราม) ปัน หยี ปั้นเหน่ง ประทัด บุษบามินตรา (ดอกพุทธรักษา) มาลาตี (ดอกมะลิ) มินตรา (ต้น กระถิน) มิรันตี (ดาวเรือง) สะการะตาหรา (ดอกกรรณิการ์) ตันหยง (ดอกพิกุล) กาหลา (ชื่อ ดอกไม้) ประไหมสุหรีมะเดหวี ระตู (เจ้าเมือง)
  • 43. เพลงคำยืมที่มำจำกภำษำชวำ มาซิมาร้องราทาเพลง ให้ครื นเครงร้องเพลงชวา กระยาหงันคือวิมานเทวา สะตาหมันอุทยานแนวไพร อสัญแดหวาเทวดา ซ่าหริ่มนั นหนาหวานเย็นชื่นใจ ปั้นเหน่งเข็มขัดรัดเอวทรามวัย ประไหมสุหรีมเหสีราชา บุหลันนั นคือพระจันทร์อาไพ บุหงาราไปคือดอกไม้นานา พุทธรักษา บุษบามินตรา ระเด่นโอรสายิหวาดวงใจ
  • 44. แบบทดสอบหลังเรียน ๑. คาที่เกี่ยวข้องกับอาหารการกิน มักจะยืมมาจากภาษาใด ก.ภาษาจีน ข.ภาษาเขมร ค.ภาษาอังกฤษ ง.ภาษาชวา-มลายู ๒.คาว่า “เมตตา วิญญาณ” ยืมมาจากภาษาใด ก.เขมรข.บาลี ค.ชวาง.สันสกฤต
  • 45. ๓.คาในข้อใดยืมมาจากภาษาสันสกฤตทุกคา ก. กีฬา บรรทัด พรรณนา ข. กรีฑา อัชฌาสัย สมุทร ค. ศิษย์ พฤกษา เคราะห์ ง. พาณิชย์ มัธยมศึกษา ปราชญ์ ๔.คาในข้อใดเป็นคาภาษาเขมร ก.เพลิง ข.เพชร ค.มรกต ง.บูรณะ
  • 46. ๕.ข้อใดเป็นลักษณะของคาภาษาจีนที่ใช้ในภาษาไทย ก.ส่วนใหญ่เป็นเสียงสามัญ ข.ไม่มีตัวสะกดแต่นิยมผสมด้วยสระเสียงยาว ค.พยัญชนะต้นเป็นอักษรกลางมากกว่าอักษรอื่น ง.ส่วนใหญ่เป็นคาพยางค์เดียว ไทยนามาสร้างคาใหม่เป็นคาประสม ๖.คาภาษาชวาเข้ามาในภาษาไทยพร้อมกับวรรณคดีเรื่องใด ก.รามเกียรติ์ ข. ระเด่นลันได ค.ลิลิตเพชรมงกุฎ ง. ดาหลังและอิเหนา
  • 47. ๗.ข้อใดเป็นลักษณะเด่นของภาษาชวา-มลายู ก .เป็นคาโดด ข. ใช้รูปวรรณยุกต์เอก โท ค. ไม่มีเสียงพยัญชนะควบกล้า ง. เป็นคาที่แสดงถึงวัฒนธรรมประเพณี ๘.คายืมที่มาจากภาษาอังกฤษเริ่มเข้ามาในสมัยใด ก. รัชกาลที่ 1ข.รัชกาลที่ 2 ค. รัชกาลที่ 3-4ง.รัชกาลที่ 4-6
  • 48. ๙. คาทับศัพท์มีลักษณะอย่างไร ก.ยืมมาปรับเปลี่ยนความหมาย ข. ยืมมาใช้โดยไม่มีการปรับปรุงแก้ไข ค. ยืมมาปรับเปลี่ยนโครงสร้างของคา ง. ยืมมาปรับเปลี่ยนวิธีการออกเสียง ๑๐.ศัพท์บัญญัติคิดขึ้นมาใช้แทนคาศัพท์ในภาษาใด ก.ภาษาอังกฤษ ข. ภาษาบาลี-สันสกฤต ค. ภาษาชวา-มลายู ง. ภาษาจีนและอังกฤษ
  • 49. ๑๑.ศัพท์บัญญัติใช้คาในภาษาใดมาประกอบขึ้นเป็นคาใหม่ ก. ภาษาอังกฤษ ข. ภาษาบาลีสันสกฤต ค. ภาษาชวา-มลายู ง. ภาษาจีนและอังกฤษ ๑๒.คาในข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติ ก. โบนัส ข. ไดโนเสาร์ ค. วัฒนธรรม ง. กรรมการ
  • 50. ๑๓.ข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติทางคณิตศาสตร์ ก. รหัสแท่ง ทวิเสถียร ข. อนุกรม การแปลงผัน ค. สัมปทาน ค่าผ่านทาง ง. การแฝงนัย การผูกขาด ๑๔.ข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติทางวรรณคดี ก. รัฐกันชน ข. การเสียดสี ค. เสียงเสียดแทรก ง. ความสูงคลื่นเสียง
  • 51. ๑๕.ข้อใดไม่ใช่คาศัพท์ในวงวิชาชีพธุรกิจการขาย ก. คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก ข.เบรกอีเวน เยียร์ลีรีวิว ค. ควอเตอร์โปรเจ็กเซล ง. ซัพพลายเออร์ออร์เดอร์
  • 52. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ๑. ข2. ก3.ก4.ค 5. ง 6.ค 7.ค8.ค 9.ก10. ข 11. ก12. ข 13. ข14. ค15.ข
  • 53. ๑.ก๒.ข๓.ค๔.ก ๕. ค ๖.ง๗.ค๘.ง ๙.ข ๑๐.ก ๑๑.ข๑๒.ค ๑๓.ข๑๔. ข ๑๕.ก
  • 54. เฉลยใบกิจกรรมเรื่องคำยืมภำษำเขมร ๑. สราญ ๒. เชลย ๓. ตาหนัก ๔. สดับ ๕. บาเพ็ญ
  • 55. ๑. √ ๒. √ ๓. √ ๔. √ ๕. √ ๖. √ ๗.× ๘. √ ๙.× ๑๐.. √ เฉลยใบกิจกรรมเรื่องคำยืมภำษำจีน
  • 56. เฉลยใบกิจกรรมเรื่องคำยืมภำษำอังกฤษ ๑. √ ๒. √ ๓. √ ๔.× ๕. √ ๖. √ ๗.× ๘. √ ๙. √ ๑๐. √
  • 57. เฉลยใบกิจกรรมเรื่องคำยืมภำษำบำลีและสันสกฤต พระเจ้าแผ่นดิน เช่น กษัตราธิราช พระมหากษัตริย์ ขัตติยะ กษัตริย์ นเรนทร์ภูมิบดี ภูวนาถ ภูวไนยบพิตร เป็นต้น ดอกไม้ เช่น บุษบา บุปผา ผกา มาลี มาลย์ น้า เช่น ชล อุทก คงคา วารี อาโป เด็ก เช่น ทารก ดรุณ กุมาร ตะวัน เช่น พระอาทิตย์ ทินกร ทิวากร สุริยา ประภากร