SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  75
Télécharger pour lire hors ligne
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
โดย...ครูทัศนียา ชื่นเจริญ
1. เยื่อหุ้มชั้นนอก (Outer membrane)
- มีลักษณะเรียบหน้าที่คอยควบคุมการผ่านเข้าออกของสาร
2. เยื้อหุ้มชั้นใน (Inner membrane)
- มีลักษณะหยักไปมาคล้ายวิลลัสในลาไส้คน เรียกว่า
คริสตา (Crista)
- ที่เยื่อชั้นในมีโครงสร้างเล็ก ๆ ลักษณะเป็นเม็ดกกลม ๆ
เรียกว่า Inner membrane particle ติดกอยู่เต็มไปหมดก
- โครงสร้างเล็ก ๆ มีหน้าที่เป็นแหล่งเก็บสารที่เป็นตัวรับ
ไฮโดกรเจนและตัวรับอิเล็กตรอน
- ของเหลวบรรจุอยู่ภายใน เรียกว่าเมทริกซ์ (Matrix)
เป็นแหล่งผลิตพลังงานให้แก่เซลล์ หรือเป็นบริเวณ
ที่เกิดกการหายใจภายในเซลล์ (Internal respiration)
คือกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีที่เกิดกภายใน
เซลล์เท่านั้น
1. Anabolism เป็นปฏิกิริยาการสร้างสารอินทรีย์
ใช้พลังงานในรูป ATP
2. Catabolism เป็นปฏิกิริยาการสลายสารอินทรีย์
จะคายพลังงานออกมา
- คือรงควัตถุในรูปโปรตีน ซึ่งมีธาตุเหล็ก(Fe)เป็นองค์ประกอบ
- มีหน้าที่สาคัญ คือเป็นตัวรับและถ่ายทอดกอิเล็กตรอน
- กลุ่มสารอินทรีย์ที่มีวิตามิน B เป็นองค์ประกอบ
- สาคัญคือ เป็นตัวรับและถ่ายทอดกไฮโดกรเจน
- เช่น NAD + , FAD และ Co.A
NAD+ (Nicotinamide adenine dinucleotide)
FAD (Flavin adenine dinucleotide)
Co.A (Coenzyme A)
- เป็นกระบวนการสร้าง ATP จากโมเลกุลของกลูโคส
ไดก้มากที่สุดกถึง 36 -38 โมเลกุล หรือมากกว่าต่อกลูโคส
1 โมเลกุล
- เป็นการสลายสารอาหารโดกยใช้ออกซิเจนเข้าร่วม
ปฏิกิริยา
1. ไกลโคลิซีส (Glycolysis)
2. การสร้างอะซิติลโคเอนไซม์เอ หรือการออกซิเดกชัน กรดก
ไพรูวิก (Pyruvate oxidation หรือ pyruvate
dehydrogenase complex pathway)
3. วัฏจักรเครบส์ (Krebs cycle)
4. การถ่ายทอดกอิเล็กตรอน (Electron transport system)
กระบวนการไกลโคลิซีสเป็นกระบวนการสลายน้าตาลกลูโคส (C6H12O6)
- คาร์บอน 6 อะตอมไปเป็นกรดกไพรูวิก (C3H4O3)
- ซึ่งมีคาร์บอน 3 อะตอม จานวน 2 โมเลกุล
- เกิดกที่ไซโทพลาสซึมของเซลล์ที่เรียกว่าไซโทซอล (Cytosol)
- มีหลายขั้นตอนแต่ละขั้นตอนมีเอนไซม์ต่างชนิดกกันเป็นตัวเร่ง
ปฏิกิริยา
- เริ่มต้นดก้วยการเติมหมู่ฟอสเฟตให้กลูโคส ทาให้กลูโคสมีค่า
พลังงานศักย์สูงขึ้น
- การฟอสโฟรีเลชันกลูโคส 1 โมเลกุล ต้องใช้พลังงาน 2 ATP
++ ฟอสโฟรีเลชัน (Phosphorylation) หมายถึง การรวมตัว
ของหมู่ฟอสเฟต (Pi) กับสารแล้วทาให้สารนั้นมีค่าพลังงานศักย์
สูงขึ้น เช่น
ADP + Pi  ATP
กลูโคส + Pi  กลูโคส- Pi
- พลังงานที่ปล่อยออกมาจากการสลายกลูโคสไปเป็นกรดกไพรูวิก
- สามารถสังเคราะห์ ATP ไดก้ 4 โมเลกุล และไฮโดกรเจนที่
ประกอบดก้วยอิเล็กตรอนที่มีค่าพลังงานศักย์สูงอีก 4 อะตอม
- โดกยมี NAD มารับโปรตอนและอิเล็กตรอน
- เนื่องจากอะตอมของไนโตรเจนมีประจุบวก จึงเขียน NAD+ โดกย
1 โมเลกุลของ NAD+ รับไฮโดกรเจนไดก้ 2 อะตอม และรับ
อิเล็กตรอนไดก้ 2 อะตอม ดกังนี้
NAD+ + 2H+ + 2e-  NADH + H+
C6H12O6 + 2 ADP + 2Pi + 2 NAD+  2 C3H4O3 + 2ATP + 2NADH + H+
กระบวนการและผลลัพธ์เป็นอย่างไร
เรามาช่วยกันสรุปทบทวนกันดีกว่าสรุป
1. ไกลโคลิซีสเป็นกระบวนการสลายกลูโคสให้กลายเป็น
กรดกไพรูวิก (Pyluvic acid: C3H4O3) หรือไพรูเวต(Pyluvate)
ซึ่งมีคาร์บอน 3 อะตอม 2 โมเลกุล
2. เกิดกขึ้นในไซโทพลาสซึมของเซลล์สิ่งมีชีวิตทุกชนิดกทุก
สภาวะไม่ว่าจะใช้ O2 หรือไม่ใช้O2 หายใจก็ตาม
3. ถ้าเริ่มจากกลูโคส ( C6H12O6 ) 1 โมเลกุล จะไดก้
ผลลัพธ์ที่สาคัญ คือ
3.1 ไดก้กรดกไพรูวิก 2 โมเลกุล (2 C3H4O3 )
3.2 เกิดก ATP จากกระบวนการ 4 ATP ใช้
ในการฟอสโฟรีเลชันไป 2 ATP เพราะฉะนั้นจึงไดก้พลังงาน
สุทธิ 2 ATP
3.3 เกิดกไฮโดกรเจน (H) 4 อะตอม โดกยมี
NAD+ มารับ
2 NAD+ + 4 H+ + 2e-  2 NADH + H+
- เป็นขั้นตอนเชื่อมต่อระหว่างไกลโคลิซีสกับวัฎจักรเครบส์
- มีกรดกไพรูวิก (C3H4O3 ) เป็นสารตั้งต้น
- เกิดกขึ้นที่ของเหลวในไมโทคอนเดรีย
- กรดกไพรูวิกแต่ละโมเลกุลจะทาปฏิกิริยากับโคเอนไซม์เอ
(Co-enzyme A)
- ไดก้เป็นอะซิติลโคเอนไซม์เอ (Acetyl Co A)
- แต่ละโมเลกุลมีคาร์บอน 2 อะตอม และคาร์บอนไดกออกไซดก์
1โมเลกุล
- มีการปล่อยไฮโดกรเจน 2 อะตอม โดกยมี NAD+ (ตัวนา
อิเล็กตรอน) มารับและเปลี่ยนไปเป็น NADH + H+ แล้วเข้าสู่
กระบวนการถ่ายทอดกอิเล็กตรอน
2 C3H4O3 + 2 NAD+ +2 Coenzyme A 
2 C2H3O - S – Co A + 2NADH + H++ 2CO2
กระบวนการและผลลัพธ์เป็นอย่างไร
เรามาช่วยกันสรุปดีกว่า
1. กรดกไพรูวิกแต่ละโมเลกุลจะถูกเปลี่ยนเป็นอะซิติลโค
เอนไซม์ เอ โดกยกลุ่มของเอนไซม์ Pyruvate dehydrogenase
complex
2. ปฏิกิริยาการเปลี่ยนกรดกไพรูวิกแต่ละโมเลกุล ไปเป็นอะซิติล
โคเอนไซม์ เอ นี้ ไดก้ผลลัพธ์ที่สาคัญ คือ
2.1 เกิดกคาร์บอนไดกออกไซดก์ 1 โมเลกุล จากแต่ละ
ปฏิกิริยา กลูโคส 1 โมเลกุล ทาให้ไดก้กรดกไพรูวิก 2 โมเลกุล
เพราะฉะนั้นจึงไดก้ผลลัพธ์เป็นคาร์บอนไดกออกไซดก์รวมทั้งสิ้น 2
โมเลกุล/ 1 โมเลกุลของ กลูโคส
2.2 เกิดกไฮโดกรเจน 2 อะตอม จากแต่ละปฏิกิริยา ซึ่งรวมกับ
NAD+ กลายเป็น NADH + H+ 1 โมเลกุล
เริ่มต้นจากกลูโคส 1 โมเลกุล ไดก้กรดกไพรูวิก 2
โมเลกุล เพราะฉะนั้นจึงไดก้ไฮโดกรเจนทั้งสิ้น 4 อะตอม หรือ
NADH + H+ 2 โมเลกุล
- มีชื่อเรียกอย่างอื่นอีก เช่น วัฏจักรของกรดกซิตริก (Citric
acid cycle) หรือวัฏจักรของกรดกไทรคาร์บอกซิลิก
(Tricarboxylic acid cycle = TCA cycle)
- ปฏิกิริยาในช่วงนี้มีลักษณะเป็นวัฏจักรเกิดกขึ้นบริเวณเมทริกซ์
(Matrix) ของไมโทคอนเดรีย
- ต้องอาศัยเอนไซม์และโคแฟกเตอร์หลายชนิดก ที่เกี่ยวข้องกับ
การสร้างสารพลังงานสูงให้กับเซลล์จานวนมาก
1. อะซิติลโคเอนไซม์เอ 1 โมเลกุล ทาปฏิกิริยากับ H2O แล้ว
โคเอนไซม์ เอ จะแยกเป็นอิสระ จะเหลือสารที่มีคาร์บอน
2 อะตอม (C2H4O2)
2. สารที่มีคาร์บอน 2 อะตอม จะทาปฏิกิริยากับสารที่มี
คาร์บอน 4 อะตอม คือกรดกออกซาโลอะซิติก
(Oxaloacetic acid) ซึ่งมีอยู่แล้วภายในเซลล์ ไดก้เป็น
กรดกซิตริก ซึ่งมีคาร์บอน 6 อะตอม
3. กรดกซิตริกจะสลายตัวเป็นสารที่มีจานวนคาร์บอน 5
อะตอมคือกรดกแอลฟาคีโตกลูตาริก (α Ketoglultaric acid )
โดกยให้ CO2 ออกมา 1 โมเลกุล และให้ไฮโดกรเจน ออกมา 2
อะตอม โดกยสารที่มารับ H+ อะตอม คือ NAD+
NAD+ + 2H+ + 2e-  NADH + H+
4. กรดกแอลฟาคีโตกลูตาริกทาปฏิกิริยากับน้า แล้วสลายตัว
ให้สารที่มีคาร์บอน 4 อะตอมคือกรดกซักซินิก (Succinic acid)
โดกยให้ CO2 ออกมา 1 โมเลกุล และให้ไฮโดกรเจน ออกมา 2
อะตอม โดกยมี NAD+ มารับ กลายเป็น NADH + H+ มีการ
ปลดกปล่อยพลังงานออกมาสร้าง GTP ไดก้ 1 โมเลกุล
(เทียบเท่ากับ ATP 1 โมเลกุล)
5. กรดกซักซินิก จะเปลี่ยนเป็นกรดกฟูมาริก(Fumaric) ให้
ไฮโดกรเจน ออกมา 2 อะตอม โดกยมี FAD มารับ กลายเป็น
FADH2
FAD + 2H+ + 2e-  FADH2
6. กรดกฟูมาริกทาปฏิกิริยากับน้า ไดก้สารที่มีคาร์บอน 4
อะตอม คือ กรดกมาลิก(Malic acid)
7. กรดกมาลิกจะเปลี่ยนเป็นกรดกออกซาโลอะซิติกโดกยปล่อย
ไฮโดกรเจน ออกมา 2 อะตอม และมี NAD+ มารับ กลายเป็น
NADH + H+
2CH3COSCoA + 6 NAD++ 2FAD + 2GDP + 2Pi + 6H2O 
4 CO2 + 6NADH + 6H+ + 2FADH2 + 2GTP + 2CoASH
กระบวนการและผลลัพธ์เป็นอย่างไร
เรามาช่วยกันสรุปกันดีกว่า
1. เกิดกขึ้นที่ของเหลว (Matrix) ในไมโทคอนเดกรีย
2. ผลลัพธ์ที่สาคัญของปฏิกิริยามีดกังนี้ (เริ่มต้นจากลูโคส 1
โมเลกุลหรืออะซิติลโค เอ 2 โมเลกุล)
2.1 เกิดกพลังงานอิสระเก็บไว้ในรูปของ GTP
(Guanosine triphosphate) 2 โมเลกุล เมื่อถูกไฮโดกรลิซีสแล้วจะ
ให้พลังงานออกมาเท่ากับ 1 ATP จึงอาจถือว่าให้พลังงานเท่ากับ
2 ATP ไดก้
2.2 เกิดกไฮโดกรเจน 16 อะตอม โดกย H 12 อะตอม
มี NAD+ มารับกลายเป็น 6 (NADH + H+) และ H 4
อะตอม มี FAD มารับกลายเป็น 2 FADH2 โมเลกุล NADH
+ H+ และ FADH2 ที่เกิดกขึ้นทั้งหมดกจะถูกส่งเข้าสู่กระบวนการ
ถ่ายทอดกอิเล็กตรอน เพื่อออกซิเดกชันให้ไดก้ ATP ต่อไป
2.3 เกิดก CO2 ทั้งสิ้น 4 โมเลกุล
ขั้นตอน
ผลิตภัณฑ์
CO2 ATP NADH FADH2
Glycolysis
Acetyl Co A synthesis
Krebs cycle
สรุปรวมผลิตภัณฑ์ทั้งหมด
ขั้นตอน
ผลิตภัณฑ์
CO2 ATP NADH FADH2
Glycolysis 0 2 2 0
Acetyl Co A synthesis 2 0 2 0
Krebs cycle 4 2 6 2
สรุปรวมผลิตภัณฑ์ทั้งหมด 6 4 10 2
- เกิดกขึ้นที่เยื่อชั้นในของไมโทคอนเดรียหรือคริสตี (Cristae)
- จะเกิดกควบคู่กันไปทุกขั้นตอน
( คือถ้ามีไฮโดกรเจนเกิดกขึ้นในทุกกระบวนการ ไฮโดกรเจนจะ
ถูกส่งเข้าสู่กระบวนการถ่ายทอดกอิเล็กตรอนทันที )
ในการสังเคราะห์ ATP อิเล็กตรอนที่หลุดกออกจากโมเลกุลของ
สารอาหารจะมีสารมารับอิเล็กตรอน เรียกว่า ตัวนาอิเล็กตรอน
(Electron carrier) แล้วถ่ายทอดกไปยังตัวนาอิเล็กตรอนตัวอื่น
ขณะที่มีการถ่ายทอดกอิเล็กตรอน จะมีพลังงานปล่อยออกมาจาก
อิเล็กตรอน พลังงานเหล่านั้นนาไปสังเคราะห์ ATP
1. สารที่เป็นตัวนาอิเล็กตรอน
2. สารที่เป็นตัวรับพลังงานจากการถ่ายทอดกอิเล็กตรอน
สารที่เป็นตัวนาอิเล็กตรอน
นิโคตินาไมด์ อะดีนีน ไดนิวคลีโอไทด์ (NAD+ )
สามารถรับไดก้ทั้งโปรตอนและอิเล็กตรอน
ดกังสมการ
NAD+ + 2H+ + 2e-  NADH + H+
ฟลาวิน อะดีนีน ไดนิวคลีโอไทด์ (FAD)
รับไดก้ทั้งโปรตอนและอิเล็กตรอน
ดกังสมการ
FAD + 2H+ + 2e-  FADH2
สารที่เป็นตัวนาอิเล็กตรอน (ต่อ)
ระบบไซโตโครม (Cytochrome) ทั้งหมด รับไดก้เฉพาะ
อิเล็กตรอน โดกยเฉพาะออกซิเจนเป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดกท้าย
แล้วเกิดกเป็นน้าขึ้น
2H+ + 2e- + ½ O2  H2O
เรียงตามลาดกับ คือ
NAD+ FAD  Cytochrome b 
Cytochrome c  Cytochrome a  O2
คือ ADP +Pi ATP
-ในขณะที่มีการถ่ายทอดกอิเล็กตรอนจะมีการปล่อยพลังงานออกมา
- พลังงานที่ปลดกปล่อยออกมาถ้าหากเกิน 7.3 กิโลแคลอรี/โมล ก็
สามารถสังเคราะห์ ATP (จาก ADP และ Pi ไดก้)
- พบว่าการถ่ายทอดกอิเล็กตรอนจาก NADH + H+  FADH2 จะ
มีพลังงานออกมา 12.2 กิโลแคลอรี/โมล
- การถ่ายทอดกอิเล็กตรอนจาก Cytochrome b  Cytochrome c มี
การปลดกปล่อยพลังงานออกมา 9.9 กิโลแคลอรี/โมล
- Cytochrome a  Cytochrome a 3 ไปยังแก๊สออกซิเจนมีปล่อย
พลังงานออกมาถึง 23.8 กิโลแคลอรี/โมล
พลังงานที่เหลือจากการสังเคราะห์ ATP ก็
จะปลดกปล่อยออกมาในรูปของพลังงานความร้อน
ทาให้ร่างกายอบอุ่นอยู่ตลอดกเวลา
แล้วพลังงานที่เหลือจากการสังเคราะห์ ATP
...หายไปไหน...
24 H + 6 O2 + 34 ADP + 34Pi  12 H2O + 34 ATP
NAD+ เป็นสารตัวแรกที่มารับอิเล็กตรอน เมื่อการถ่ายทอด
อิเล็กตรอนสิ้นสุดลงจะสังเคราะห์ ATP ได้ 3 โมเลกุล
FAD เป็นสารตัวแรกที่มารับอิเล็กตรอน เมื่อการถ่ายทอด
อิเล็กตรอนสิ้นสุดลงจะสังเคราะห์ ATP ได้ 2 โมเลกุล
สรุป .....ลักษณะกระบวนการและผลลัพธ์สาคัญของ
..............ระบบการถ่ายทอดอิเล็กตรอน
1. เกิดกขึ้นที่เยื่อหุ้มชั้นในของไมโทคอนเดกรียหรือครีสตี
(โดกยเกิดกควบคู่กับปฏิกิริยา 3 ขั้นตอนแรก)
2. O2 จะเป็นตัวรับโปรตอนและอิเล็กตรอนเกิดกเป็นน้า
ทั้งสิ้น 12 โมเลกุล/1โมเลกุลของกลูโคส
3. การถ่ายทอดกอิเล็กตรอนของตัวนาอิเล็กตรอนไปตามลาดกับ
ดกังนี้
NADH + H+  FADH2  Cytochrome b  Cytochrome c
 Cytochrome a  Cytochrome a 3  O2
สรุป .....ลักษณะกระบวนการและผลลัพธ์สาคัญของ
..............ระบบการถ่ายทอดอิเล็กตรอน
4. ขั้นตอนที่มีพลังงานสูงในการสร้าง ATP คือ
4.1 NADH + H+  FADH2
4.2 Cytochrome b  Cytochrome c
4.3 Cytochrome a3  แก๊สออกซิเจน
5. จากปฏิกิริยาในขั้นตอนต่าง ๆ จะไดก้อะตอมของไฮโดกรเจนที่
ผ่านเข้ามาในกระบวนการถ่ายทอดกอิเล็กตรอน รวมทั้งสิ้น 24 อะตอม
5.1 จากไกลโคลิซีส 4 อะตอม
5.2 จากการสร้างอะซิทิลโคเอนไซม์ เอ 4 อะตอม
5.3 จากวัฏจักรเครบส์ 16 อะตอม
( จาก 6 NADH และ 2 FAD H )
6. - NADH + H+ เมื่อผ่านกระบวนการถ่ายทอดกอิเล็กตรอนจะไดก้
พลังงาน = 3 ATP
- FADH2 เมื่อผ่านกระบวนการถ่ายทอดกอิเล็กตรอนจะไดก้
พลังงาน = 2 ATP
สรุป .....ลักษณะกระบวนการและผลลัพธ์สาคัญของ
..............ระบบการถ่ายทอดอิเล็กตรอน
สรุป .....ลักษณะกระบวนการและผลลัพธ์สาคัญของ
..............ระบบการถ่ายทอดอิเล็กตรอน
7. เป็นขั้นตอนที่มีพลังงานเกิดกขึ้นมากที่สุดกในเซลล์
7.1 จากไกลโคลิซีส 2 NADH + H+ = 2 × 3 = 6 ATP
7.2 จากการสร้างอะซิทิลโคเอนไซม์ เอ 2 NADH + H+ = 2 ×3 = 6 ATP
7.3 จากวัฏจักรเครบส์ 6 NADH + H+ = 6 × 3 = 18 ATP
2 FAD H2 = 2 × 2 = 4 ATP
รวมทั้งสิ้น = 34 ATP
C6H12O6 + 6O 2 + 36 – 38 ADP + 36 – 38 Pi 
6CO2 + 6H2O + 36 - 38ATP
C6H12O6 + 6O 2 + 36 – 38 ADP + 36 – 38 Pi 
6CO2 + 6H2O + 36 - 38ATP
C6H12O6 + 2 ADP + 2Pi + 2 NAD+  2 C3H4O3 + 2ATP + 2NADH + H+
2 C3H4O3 + 2 NAD+ +2 Coenzyme A 
2 C2H3O - S – Co A + 2NADH + H++ 2CO2
2CH3COSCoA + 6 NAD++ 2FAD + 2GDP + 2Pi + 6H2O 
4 CO2 + 6NADH + 6H+ + 2FADH2 + 2GTP + 2CoASH
เมื่อเซลล์อยู่ในภาวะที่มีแก๊สออกซิเจนไม่เพียงพอหรือ
ไม่มีเลยเซลล์จะยังคงดาเนินกิจกรรมต่างๆต่อไปได้หรือไม่อย่างไร
การสลายสารอาหารไม่จาเป็นต้องใช้ออกซิเจนเสมอไป
เนื้อเยื่อบางอย่างไดก้พลังงานมาจากการสลายอาหารโดกยไม่ใช้ออกซิเจน
ไดก้แก่ พยาธิตัวตืดก ยีสต์ เมล็ดกพืช แบคทีเรียบางชนิดก
ส่วนกล้ามเนื้อลายเป็นตัวอย่างของเนื้อเยื่อสัตว์ชั้นสูงที่สามารถสลาย
สารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจนไดก้
ประกอบดก้วย 2 ขั้นตอน คือ
1. ไกลโคลิซีส (Gycolysis)
2. การหมัก(Fermentation)
การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกกันจะให้ผลลัพธ์
จากปฏิกิริยาบางขั้นตอนไม่เหมือนกัน เช่น
1. การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนในเซลล์ยีสต์
2. การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนของเซลล์กล้ามเนื้อ
- ขาดกแก๊สออกซิเจนซึ่งเป็นตัวรับอิเล็กตรอนในขั้นตอนสุดกท้าย
(จึงไม่สามารถสร้าง ATP ไดก้)
- มีการสะสม NADH และ FADH2 มากขึ้นจึงทาให้ขาดกแคลน NAD+
และ FAD
- มีผลให้ปฏิกิริยาไกลโคลิซีส วัฏจักรเครบส์ และการถ่ายทอดก
อิเล็กตรอนดกาเนินต่อไปไม่ไดก้และยังทาให้เซลล์ขาดก ATP
-เซลล์จึงมีกระบวนการผันกลับให้ NADH กลายเป็น NAD+ เพื่อให้
กระบวนการไกลโคลิซีสไม่หยุดกชะงัก และสามารถ
สร้าง ATP ต่อไปไดก้
- เรียกกระบวนการนี้ว่า กระบวนการหมัก (Fermentation)
- เริ่มจากไกลโคลิซีส
- NADH + H+ จะถ่ายทอดกอะตอมของไฮโดกรเจนไปยัง
acetaldehyde ซึ่งเป็นสารประกอบที่มีคาร์บอน 2 อะตอม ทาให้ไม่
สามารถใช้พลังงานจากอิเล็กตรอนที่มีอยู่ในอะตอมของไฮโดกรเจนมา
สร้าง ATP ไดก้อีก
เอทิลแอลกอฮอล์เป็นสารพิษเป็นอันตรายต่อเซลล์ ถ้ามี
เอทิลแอลกอฮอล์มากๆ ยีสต์อาจทนไม่ไดก้และตายในที่สุดก
รวมสมการไกลโคลิซีส......
C6H12O6 + 2ATP + 2 ADP + 2Pi + 2 NAD+ 
2 C3H4O3 + 4ATP + 2NADH + 2H+
Enzyme
แต่ยังไม่จบแค่นี้นะค่ะนักเรียน...
ไปดกูต่อดกีกว่า...
2 C3H4O3 Pyruvate decarboxylase 2 C2H4O + 2CO2
- กรดกไพรูวิกจะเปลี่ยนเป็นแอซีทัลดกีไฮดก์ ( Acetaldehyde) เป็น
สารประกอบที่มีคาร์บอน 2 อะตอม
- ไดก้แก๊สคาร์บอนไดกออกไซดก์ โดกยเอนไซม์ไพรูเวตดกีคาร์บอกซีเลส
( Pyruvate decarboxylase)
สมการ
2 C2H4O + 2NADH + 2H+ Alcohol dehydrogenase
2 C2H5OH + 2 NAD+ + 2CO2
- แอซิทิลดกีไฮดก์จะถูกออกซิไดกซ์ดก้วย NADH + H+ เป็น
เอทิลแอลกอฮอล์หรือเอทานอล โดกยเอนไซม์แอลกอฮอล์ดกีไฮโดกรจีเนส
(Alcohol dehydrogenase)
สมการ
- เบียร์
- สุรา
- ไวน์ชนิดกต่าง ๆ
- การผลิตแอลกอฮอล์จากกากน้าตาล
- นามาใช้เป็นเชื้อเพลิง
- พยาธิตัวตืดก และแบคทีเรียบางชนิดก
- กรดกไพรูวิกจะทาปฏิกิริยากับไฮโดกรเจนไดก้เป็นกรดกแลกติก (C3H6 O3)
- ขณะที่เราออกกาลังกาย เลือดกจะมีกรดกแลกติก (Lactic acid) สูงพร้อม ๆ
กับการทางานหนักของกล้ามเนื้อลาย (แลกเปลี่ยนแก๊สสูงถึง 24,000 ลูกบาศก์
เซนติเมตร/นาที ปกติ แลกเปลี่ยนแก๊สไดก้มากที่สุดกประมาณ 5,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร )
- ร่างกายขาดกออกซิเจนหรือไดก้รับแก๊สออกซิเจนไม่เพียงพอ การสลาย
กลูโคสในเซลล์กล้ามเนื้อจะไม่สมบูรณ์ และไม่เข้าสู่วัฏจักรเครบส์และ
ระบบถ่ายทอดกอิเล็กตรอน แต่จะสลายไปสู่กรดกแลกติกหรือแลกเตดก
โดกยตรง
- กรดกแลกติกสามารถเปลี่ยนไปเป็นกรดกไพรูวิก หรือไพรูเวตแล้วเข้าสู่
วัฏจักรเครบส์ไดก้
- ถ้าหากมีสะสมอยู่ในกล้ามเนื้อมาก ๆ ทาให้กล้ามเนื้อล้าจนกระทั่งทางาน
ไม่ไดก้ต้องไดก้รับแก๊สออกซิเจนมาชดกเชย
- เพื่อสลายกรดกแลกติกต่อไปจนสมบูรณ์ไดก้น้าและแก๊ส
คาร์บอนไดกออกไซดก์ ซึ่งจะถูกกาจัดกออกนอกร่างกาย
- การหายใจแบบไม่ใช้แก๊สออกซิเจนแล้วเกิดกกรดกแลกติก (C3H6 O3) จึง
เรียกไดก้อีกอย่างหนึ่งว่า
- NAD+ ถูกสร้างขึ้นมาโดกย NADH (จากไกลโคลิซีส) ให้อิเล็กตรอน
และไฮโดกรเจนแก่ไพรูเวตโดกยตรง
- เกิดกแลกเทตขึ้น 2 โมเลกุล
C6H12O6 + 2 ADP + 2Pi → 2 C3H6 O3
สมการ
- กรดกแลกติกที่เกิดกจากกระบวนการหมักจะมีการลาเลียงออก
จากเซลล์กล้ามเนื้อไปยังตับ เพื่อสังเคราะห์กลับเป็นกลูโคสซึ่งร่างกาย
สามารถนาไปใช้ต่อไปไดก้
- การปวดกเมื่อยของกล้ามเนื้อที่เกิดกขึ้นพบว่าเป็นผลมาจากการสะสม
ของกรดกต่างๆที่เกิดกขึ้นในกระบวนการไกลโคลิซีส
- ถึงแม้ว่าจะมีความเข้มข้นของกรดกแลกติกสูงก็ไม่มีอาการปวดกเมื่อย
ของกล้ามเนื้อถ้าร่างกาย สามารถรักษาสมดกุลของกรดก-เบสไว้ไดก้
-มีแบคทีเรียบางชนิดก เช่น แลกโตบาซิลลัส (Lactobacillus) สามารถ
สลายสารอาหารโดกยไม่ใช้แก๊สออกซิเจน ทาให้เกิดกกรดกแลกติก
- เราจึงนาจุลินทรีย์เหล่านี้มาใช้ประโยชน์ในการหมักหรือผลิตอาหาร
บางชนิดก
- เช่น นมเปรี้ยว โยเกิร์ต เต้าหู้ยี้ การดกองผักและผลไม้ต่าง ๆ
1. อาหารสลายตัวไม่สมบูรณ์ (ปฏิกิริยาการสลายกลูโคสสิ้นสุดกลงแค่ขั้น
ไกลโคลิซีส)
2. ถ้าเป็นในพืชและยีสต์ผลสุดกท้ายจะไดก้เอทิลแอลกอฮอล์ + CO2+ 2
ATP สาหรับในสัตว์ผลสุดกท้ายไดก้ กรดกแลกติก (Lactic acid)
3. ถ้าเป็นในพืชและยีสต์เกิดก CO2 ขึ้นแต่ถ้าเป็นสัตว์ไม่เกิดก CO2 ขึ้น
4. ไม่เกิดก H2 O
5. ไดก้พลังงานน้อยกว่าการหายใจแบบใช้แก๊สออกซิเจน 18 – 19 เท่า
6. เกิดกในไซโทพลาสซึมเท่านั้น
แผนภาพสรุป
Lactic fermentation
และ
Alcohol
fermentation
จากภาพ
นักเรียน
ลองสรุป
ตามความเข้าใจ
การสลายสารอาหารแบบใช้ O2 การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ O2
1. สลายโมเลกุลอาหารไดก้สมบูรณ์ คาร์บอน
อินทรีย์ถูกเปลี่ยนเป็นคาร์บอนอินทรีย์ไดก้
ทั้งหมดก
1. สลายโมเลกุลอาหารไดก้ไม่สมบูรณ์ คาร์บอน
อินทรีย์ยังคงปรากฏเหลืออยู่
2. สารตัวสุดกท้ายที่รับไฮโดกรเจนจากกลูโคสคือ O2 2. สารตัวสุดกท้ายที่รับไฮโดกรเจนจากกลูโคสคือ กรดก
ไพรูวิก
3. ผลลัพธ์ตัวสุดกท้ายไดก้ CO2 + H2O และ
พลังงาน
3. ผลลัพธ์ตัวสุดกท้ายในยีสต์ และพืช คือ
เอทิลแอลกอฮอล์ และ CO2 กับพลังงาน
สาหรับกล้ามเนื้อลาย พยาธิตัวตืดก และ
แบคทีเรียจะไดก้กรดกแลกติกและพลังงาน
4. พลังงาน 36 หรือ 38 ATP/ กลูโคส 1
โมเลกุล
4. พลังงาน 2 ATP/ กลูโคส 1 โมเลกุล
5. เกิดกทั้งใน Cytoplasm และ ไมโทคอนเดกรีย 5. เกิดกใน Cytoplasm เท่านั้น
6. เกิดกน้า 6. ไม่เกิดกน้า

Contenu connexe

Tendances

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)สำเร็จ นางสีคุณ
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 

Tendances (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
 

Similaire à การสลายสารอาหารระดับเซลล์

ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจN'apple Naja
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2Anana Anana
 
การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์Issara Mo
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงnokbiology
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงnokbiology
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellsupreechafkk
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์Y'tt Khnkt
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงTiew Yotakong
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลoraneehussem
 
Bacterial nutrition, metabolism, growth & death
Bacterial nutrition, metabolism, growth & deathBacterial nutrition, metabolism, growth & death
Bacterial nutrition, metabolism, growth & deathpitsanu duangkartok
 
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการเนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการHyings
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)kasidid20309
 

Similaire à การสลายสารอาหารระดับเซลล์ (20)

Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
ระบบหายใจppt
ระบบหายใจpptระบบหายใจppt
ระบบหายใจppt
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
 
การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
 
Pphy05 respiration
Pphy05 respirationPphy05 respiration
Pphy05 respiration
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
Bacterial nutrition, metabolism, growth & death
Bacterial nutrition, metabolism, growth & deathBacterial nutrition, metabolism, growth & death
Bacterial nutrition, metabolism, growth & death
 
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการเนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
 

Plus de พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

Plus de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

การสลายสารอาหารระดับเซลล์