SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  20
สุมิตร คุณานุกร กล่าวว่าองค์ประกอบของหลักสูตร มี 4 องค์ประกอบ
คือ
1. ความมุ่งหมาย (Objective)
2. เนื้อหา (Content)
3. การนาหลักสูตรไปใช้ (Curriculum Implementation)
4. การประเมินผล (Evaluation)
ธารง บัวศรี กล่าวว่า สาหรับหลักสูตรนั้น มีองค์ประกอบที่สาคัญอย่างน้อย
6 อย่างคือ
1. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร (Curriculum Aims)
2. จุดประสงค์ของการเรียนการสอน (Instruction
Objectives)
3. เนื้อหาสาระและประสบการณ์ (Content and
4. ยุทธศาสตร์การเรียนการสอน (Instructional
Strategies)
5. วัสดุอุปกรณ์และสื่อการเรียนการสอน (Instructional
Media and
Materials
6. การประเมินผล (Evaluation)
ทาบา กล่าวว่า หลักสูตรควรมีองค์ประกอบอยู่ 4 อย่าง คือ
1. วัตถุประสงค์ทั่วไปและวัตถุประสงค์เฉพาะวิชา
2. เนื้อหาวิชา และจานวนชั่วโมงสอนแต่ละวิชา
3. กระบวนการสอนและการเรียนหรือการนาหลักสูตรไปใช้
4. โครงการประเมินผลการสอนตามหลักสูตร
สรุปได้ว่าองค์ประกอบที่สาคัญของหลักสูตร คือ
1. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร (Curriculum Aims)
จุดมุ่งหมายของหลักสูตร หมายถึง ความตั้งใจหรือความคาดหวังที่
ต้องการให้เกิดขึ้นในตัวผู้ที่จะผ่านหลักสูตร
จุดมุ่งหมายของหลักสูตรมีอยู่หลายระดับ ได้แก่
1.1 จุดมุ่งหมายระดับหลักสูตร
1.2 จุดมุ่งหมายของกลุ่มวิชา
1.3 จุดมุ่งหมายรายวิชา
2. เนื้อหา (Content)
เมื่อกำหนดจุดมุ่งหมำยของหลักสูตรแล้ว กิจกรรมขั้นต่อไป คือ กำรเลือก
เนื้อหำประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ต่ำงๆ ที่คำดว่ำจะช่วยผู้เรียนพัฒนำไปสู่จุดหมำย
ที่กำหนดไว้โดยดำเนินกำรตั้งแต่เลือกเนื้อหำและประสบกำรณ์ กำรเรียงลำดับ
เนื้อหำสำระ พร้อมทั้งกำรกำหนดเวลำเรียนที่เหมำะสม
3. การนาหลักสูตรไปใช้ (Curriculum Implementation)
เป็นกำรนำหลักสูตรไปสู่กำรปฏิบัติ ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่ำงๆ เช่น
3.1 กำรจัดทำวัสดุหลักสูตร ได้แก่ คู่มือครู เอกสำรหลักสูตร แผนกำร
สอน แนวกำรสอน และแบบเรียน เป็นต้น
3.2 กำรจัดเตรียมควำมพร้อมด้ำนบุคลำกรและสิ่งแวดล้อม เช่น กำรจัด
โต๊ะเก้ำอี้ ห้องเรียน วัสดุอุปกรณ์ในกำรเรียน และสิ่งอำนวยควำมสะดวกต่ำงๆ
3.3 กำรดำเนินกำรสอน เป็นกิจกรรมที่สำคัญที่สุดในขั้นกำรนำหลักสูตรไปใช้
เพรำะหลักสูตรจะได้ผลหรือไม่ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมกำรสอนของครู
4. การประเมินผลหลักสูตร (Evaluation)
กำรประเมินผลหลักสูตร คือ กำรหำคำตอบว่ำ หลักสูตรสัมฤทธิผลตำมท
กำหนดไว้ในจุดมุ่งหมำยหรือไม่มำกน้อยเพียงใด และอะไรเป็นสำเหตุ
ลักษณะของหลักสูตรที่ดี
1. ตรงความมุ่งหมายของการศึกษา
2. ตรงตามลักษณะของพัฒนาการของเด็กในวัยต่างๆ
3. ตรงตามลักษณะวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและเอกลักษณ์ของชาติ
4. มีเนื้อหาสาระของเรื่องที่สอนบริบูรณ์เพียงพอที่จะช่วยให้นักเรียนคิดเป็น ทา
เป็น และมีพัฒนาการในทุกด้าน
5. หลักสูตรที่ดีจะต้องเป็นประสบการณ์ที่เกี่ยวกับชีวิตประจาวันของเด็ก เพื่อให้เด็ก
ได้แก้ปัญหาต่างๆในชีวิต เพื่อให้มีความเป็นอยู่อย่างผาสุก
6. หลักสูตรที่ดี ควรสาเร็จขึ้นด้วยความร่วมมือของทุกฝ่าย
7. ควรยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสมกับสภาพการณ์ต่างๆ
8. หลักสูตรที่ดีจะต้องให้นักเรียนได้เรียนรู้ต่อเนื่องกันไป และจะต้อง
เรียงลาดับความยากง่ายไม่ให้ขาดตอนจากกัน
ลักษณะของหลักสูตรที่ดี
9. หลักสูตรที่ดีจะต้องเพิ่มพูนและส่งเสริมทักษะเบื้องต้นที่จาเป็นของเด็ก
10. หลักสูตรที่ดี จะต้องส่งเสริมให้เด็กเกิดความรู้ ทักษะ เจตคติ ความคิด
ริเริ่มมีความคิดสร้างสรรค์ในการดาเนินชีวิต
11. หลักสูตรที่ดี ต้องส่งเสริมให้เด็กทางานเป็นอิสระ และทางานร่วมกันเป็น
หมู่คณะ เพื่อพัฒนาให้รู้จักอยู่ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตย
12. หลักสูตรที่ดีย่อมบอกแนวทาง วิธีการสอน และอุปกรณ์สื่อการสอน
เนื้อหาสาระที่จะสอนไว้อย่างเหมาะสม
13. หลักสูตรที่ดีย่อมประเมินผลอยู่ตลอดเวลาเพื่อทราบข้อบกพร่องในอันที่
จะปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น
14. หลักสูตรที่ดีจะต้องจัดประสบการณ์ให้เด็กเกิดความรู้ ความเข้าใจ และมี
โอกาสแก้ปัญหาต่างๆ โดยเฉพาะปัญหาครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติ
15. หลักสูตรที่ดี ต้องส่งเสริมให้เด็กรู้จักแก้ปัญหา
16. หลักสูตรที่ดีต้องจัดประสบการณ์ที่มีความหมายต่อชีวิตเด็ก
17. หลักสูตรที่ดี ต้องจัดประสบการณ์และกิจกรรมหลายๆ อย่าง เพื่อเปิดโอกาสให้
เด็กได้เลือกอย่างเหมาะสมตามความสนใจ ความต้องการ และความสามารถของ
เด็กแต่ละบุคคล
18. หลักสูตรที่ดีจะต้องวางกฎเกณฑ์ไว้อย่างเหมาะสมแก่การนาไปปฏิบัติและ
สะดวกแก่การวัดและประเมินผล
ลักษณะของหลักสูตรที่ดี
รูปแบบของหลักสูตรประกอบไปด้วย 8 รูปแบบดังนี้
1. หลักสูตรแบบเน้นเนื้อหา (The Subject Matter
Curriculum)
เป็นรูปแบบที่เก่าแก่ที่สุดซึ่งใช้ในการสอนศาสนา ละติน กรีก
อาจเรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า เป็ นหลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็ นศูนย์กลาง
(Subject-Centered-Curriculum) ซึ่งสอดคล้องกับวิธีการสอน
ของครูที่ใช้วิธีการ บรรยาย ปรัชญาการจัดการศึกษาแนวนี้จะยึดปรัชญาสารัตถ
นิยม(Essentialism)และสัจวิทยา(Perennialism)
2. หลักสูตรสหสัมพันธ์ (Correlated Curriculum)
หลักสูตรสหสัมพันธ์ คือ หลักสูตรเนื้อหาวิชาอีกรูปแบบหนึ่ง แต่
เป็นหลักสูตรที่นาเอาเนื้อหาวิชาของวิชาต่าง ๆ ที่สอดคล้องหรือ
ส่งเสริมซึ่งกันและกันมาเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน แล้วจัดสอนเป็นเนื้อหา
เดียวกันวิธีการดังกล่าวอาศัยหลักความคิดของนักการศึกษาที่ว่า การ
ที่จะเรียนรู้สิ่งใดให้ได้ดีผู้เรียนต้องมีความสนใจเข้าใจความหมายของ
สิ่งที่เรียนและมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่เรียนกับสิ่งอื่นที่
เกี่ยวข้องเพราะฉะนั้นหลักสูตรสหสัมพันธ์จะกาหนดเนื้อวิชาใดวิชา
หนึ่งหรือหมวดใดหมวดหนึ่ง แล้วนาเนื้อหาสาระวิชาที่สัมพันธ์กันมา
รวมไว้ด้วยกัน
3.หลักสูตรแบบผสมผสาน (Fused Curriculum or
Fusion Curriculum)
หลักสูตรแบบผสมผสานเป็ นหลักสูตรที่พยายาม
ปรับปรุงข้อบกพร่องของหลักสูตรเนื้อหาวิชา เพราะฉะนั้น
หลักสูตรแบบผสมผสานคือหลักสูตรเนื้อหาวิชาอีกรูปแบบหนึ่ง
โดยการรวมเอาวิชาย่อย ๆ ที่มีลักษณะใกล้เคียงกันมา
ผสมผสานกันในด้านเนื้อหาเข้าเป็นหมวดหมู่
4. หลักสูตรแบบหมวดวิชาแบบกว้าง (Broad Fields
Curriculum)
หลักสูตรหมวดวิชาแบบกว้างหรือหลักสูตรรวมวิชา เป็ น
หลักสูตรที่พยายามจะแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดจากหลักสูตรเนื้อหาวิชา
ซึ่งขาดการผสมผสานของความรู้ให้เป็นหลักสูตรที่มีการประสาน
สัมพันธ์ของเนื้อหาความรู้ที่กว้างยิ่งขึ้น
5. หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม (Social Process and Life Function
Curriculum)
หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม เป็นหลักสูตรที่มุ่งแก้ไขข้อบกพร่องของหลักสูตรที่ผ่าน
มาด้วยการรวบรวมความรู้ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยยึดกิจกรรมต่าง ๆ ของคนไทย
เป็นหลัก เป็นหลักสูตรที่ถูกคาดว่ามีคุณค่ามากที่สุดสาหรับผู้เรียน การจัดหลักสูตรแบบนี้
ได้ยึดเอาสังคมและชีวิตจริงของเด็กเป็นหลัก เพื่อผู้เรียนจะได้นาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้ เพราะมีการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาวิชาในหลักสูตรกับ
ชีวิตจริงของผู้เรียนหรือภาวะทางสังคมที่ผู้เรียนกาลังประสบอยู่ หลักการจัดหลักสูตร
ประเภทนี้ได้รับอิทธิพลมาจากความคิดของจอห์น ดิวอี้กับปรัชญาการศึกษาสาขาพิพัฒ
นาการนิยม และปรัชญาการศึกษาสาขาปฏิรูปนิยม
6. หลักสูตรกิจกรรมหรือประสบการณ์ (Activity or
Experience Curriculum)
หลักสูตรกิจกรรมหรือประสบการณ์เป็นหลักสูตรที่เกิดขึ้นจาก
ความพยายามที่จะแก้ไขการเรียนรู้แบบครูเป็นผู้สอนเพียงอย่างเดียว ไม่
คานึงถึงความต้องการและความสนใจของผู้เรียนซึ่งเป็นข้อบกพร่องของ
หลักสูตรแบบเนื้อหาวิชา หลักสูตรแบบนี้ยึดประสบการณ์ และกิจกรรมเป็น
หลักมุ่งส่งเสริมการเรียนการสอนโดยวิธีการแก้ปัญหา ผู้เรียนได้แสดงออก
ด้วยการลงมือกระทา ลงมือวางแผน เพื่อหาประสบการณ์อันเกิดจากการ
แก้ปัญหานั้น ๆ ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการเรียนแบบการเรียนรู้ด้วยการกระทา (
Learning by Doing)
7. หลักสูตรแบบแกน (Core Curriculum)
หลักสูตรแบบแกนเป็นหลักสูตรที่ประสานสัมพันธ์เนื้อหาวิชาต่าง ๆ
เข้าด้วยกันมุ่งที่จะสนองความต้องการและความสนใจของผู้เรียนและ
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ส่งเสริมการเรียนรู้แบบ Active
Learning สิ่งที่เรียนจะมีความสัมพันธ์กับประสบการณ์และชีวิตของ
ผู้เรียน เพื่อให้สามารถเชื่อมโยงชีวิตความเป็นอยู่มาสัมพันธ์กับการเรียนรู้
ได้ เป็นหลักสูตรที่ยึดปรัชญาปฏิรูปนิยม สิ่งเหล่านี้มีอยู่แล้วในรูปแบบ
หลักสูตรที่ผ่านมา จึงดูเหมือนว่าหลักสูตรแบบแกนจะเป็นหลักสูตรที่รวม
เอาลักษณะเด่นของหลักสูตรอื่น ๆ เข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งนักการศึกษาเชื่อว่า
เป็นแบบที่ดีเหมาะสมที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับหลักสูตรต่าง ๆ ที่กล่าว
8. หลักสูตรบูรณาการ (Integrated Curriculum)
หลักสูตรบูรณาการเป็นหลักสูตรที่รวมประสบการณ์การเรียนรู้ต่าง ๆ
เข้าด้วยกัน ประสบการณ์ดังกล่าวเป็นประสบการณ์ที่คัดเลือกมาจากหลาย
สาขาวิชา แล้วจัดเป็นกลุ่มหรือหมวดหมู่ของประสบการณ์ เป็นการบูรณาการ
เนื้อหาเข้าด้วยกัน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์สัมพันธ์และต่อเนื่อง
อันมีคุณค่าต่อการดารงชีวิต
*
BY: SUNISA MAKHOON

Contenu connexe

Tendances

แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการJariya
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรBigbic Thanyarat
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 

Tendances (20)

หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 

Similaire à องค์ประกอบของหลักสูตร

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรการกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรkhanidthakpt
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรNoawanit Songkram
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรkruskru
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคkruskru
 
teaching
teachingteaching
teachingsangkom
 
1369802778 project base learning
1369802778 project base learning1369802778 project base learning
1369802778 project base learningKruthai Kidsdee
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9benty2443
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9nattawad147
 

Similaire à องค์ประกอบของหลักสูตร (20)

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
 
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรการกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
 
teaching
teachingteaching
teaching
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 
5
55
5
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
1369802778 project base learning
1369802778 project base learning1369802778 project base learning
1369802778 project base learning
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 

องค์ประกอบของหลักสูตร

  • 1.
  • 2.
  • 3. สุมิตร คุณานุกร กล่าวว่าองค์ประกอบของหลักสูตร มี 4 องค์ประกอบ คือ 1. ความมุ่งหมาย (Objective) 2. เนื้อหา (Content) 3. การนาหลักสูตรไปใช้ (Curriculum Implementation) 4. การประเมินผล (Evaluation) ธารง บัวศรี กล่าวว่า สาหรับหลักสูตรนั้น มีองค์ประกอบที่สาคัญอย่างน้อย 6 อย่างคือ 1. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร (Curriculum Aims) 2. จุดประสงค์ของการเรียนการสอน (Instruction Objectives) 3. เนื้อหาสาระและประสบการณ์ (Content and
  • 4. 4. ยุทธศาสตร์การเรียนการสอน (Instructional Strategies) 5. วัสดุอุปกรณ์และสื่อการเรียนการสอน (Instructional Media and Materials 6. การประเมินผล (Evaluation) ทาบา กล่าวว่า หลักสูตรควรมีองค์ประกอบอยู่ 4 อย่าง คือ 1. วัตถุประสงค์ทั่วไปและวัตถุประสงค์เฉพาะวิชา 2. เนื้อหาวิชา และจานวนชั่วโมงสอนแต่ละวิชา 3. กระบวนการสอนและการเรียนหรือการนาหลักสูตรไปใช้ 4. โครงการประเมินผลการสอนตามหลักสูตร
  • 5. สรุปได้ว่าองค์ประกอบที่สาคัญของหลักสูตร คือ 1. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร (Curriculum Aims) จุดมุ่งหมายของหลักสูตร หมายถึง ความตั้งใจหรือความคาดหวังที่ ต้องการให้เกิดขึ้นในตัวผู้ที่จะผ่านหลักสูตร จุดมุ่งหมายของหลักสูตรมีอยู่หลายระดับ ได้แก่ 1.1 จุดมุ่งหมายระดับหลักสูตร 1.2 จุดมุ่งหมายของกลุ่มวิชา 1.3 จุดมุ่งหมายรายวิชา
  • 6. 2. เนื้อหา (Content) เมื่อกำหนดจุดมุ่งหมำยของหลักสูตรแล้ว กิจกรรมขั้นต่อไป คือ กำรเลือก เนื้อหำประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ต่ำงๆ ที่คำดว่ำจะช่วยผู้เรียนพัฒนำไปสู่จุดหมำย ที่กำหนดไว้โดยดำเนินกำรตั้งแต่เลือกเนื้อหำและประสบกำรณ์ กำรเรียงลำดับ เนื้อหำสำระ พร้อมทั้งกำรกำหนดเวลำเรียนที่เหมำะสม 3. การนาหลักสูตรไปใช้ (Curriculum Implementation) เป็นกำรนำหลักสูตรไปสู่กำรปฏิบัติ ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่ำงๆ เช่น 3.1 กำรจัดทำวัสดุหลักสูตร ได้แก่ คู่มือครู เอกสำรหลักสูตร แผนกำร สอน แนวกำรสอน และแบบเรียน เป็นต้น 3.2 กำรจัดเตรียมควำมพร้อมด้ำนบุคลำกรและสิ่งแวดล้อม เช่น กำรจัด โต๊ะเก้ำอี้ ห้องเรียน วัสดุอุปกรณ์ในกำรเรียน และสิ่งอำนวยควำมสะดวกต่ำงๆ 3.3 กำรดำเนินกำรสอน เป็นกิจกรรมที่สำคัญที่สุดในขั้นกำรนำหลักสูตรไปใช้ เพรำะหลักสูตรจะได้ผลหรือไม่ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมกำรสอนของครู
  • 7. 4. การประเมินผลหลักสูตร (Evaluation) กำรประเมินผลหลักสูตร คือ กำรหำคำตอบว่ำ หลักสูตรสัมฤทธิผลตำมท กำหนดไว้ในจุดมุ่งหมำยหรือไม่มำกน้อยเพียงใด และอะไรเป็นสำเหตุ
  • 8. ลักษณะของหลักสูตรที่ดี 1. ตรงความมุ่งหมายของการศึกษา 2. ตรงตามลักษณะของพัฒนาการของเด็กในวัยต่างๆ 3. ตรงตามลักษณะวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและเอกลักษณ์ของชาติ 4. มีเนื้อหาสาระของเรื่องที่สอนบริบูรณ์เพียงพอที่จะช่วยให้นักเรียนคิดเป็น ทา เป็น และมีพัฒนาการในทุกด้าน 5. หลักสูตรที่ดีจะต้องเป็นประสบการณ์ที่เกี่ยวกับชีวิตประจาวันของเด็ก เพื่อให้เด็ก ได้แก้ปัญหาต่างๆในชีวิต เพื่อให้มีความเป็นอยู่อย่างผาสุก 6. หลักสูตรที่ดี ควรสาเร็จขึ้นด้วยความร่วมมือของทุกฝ่าย 7. ควรยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสมกับสภาพการณ์ต่างๆ 8. หลักสูตรที่ดีจะต้องให้นักเรียนได้เรียนรู้ต่อเนื่องกันไป และจะต้อง เรียงลาดับความยากง่ายไม่ให้ขาดตอนจากกัน
  • 9. ลักษณะของหลักสูตรที่ดี 9. หลักสูตรที่ดีจะต้องเพิ่มพูนและส่งเสริมทักษะเบื้องต้นที่จาเป็นของเด็ก 10. หลักสูตรที่ดี จะต้องส่งเสริมให้เด็กเกิดความรู้ ทักษะ เจตคติ ความคิด ริเริ่มมีความคิดสร้างสรรค์ในการดาเนินชีวิต 11. หลักสูตรที่ดี ต้องส่งเสริมให้เด็กทางานเป็นอิสระ และทางานร่วมกันเป็น หมู่คณะ เพื่อพัฒนาให้รู้จักอยู่ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตย 12. หลักสูตรที่ดีย่อมบอกแนวทาง วิธีการสอน และอุปกรณ์สื่อการสอน เนื้อหาสาระที่จะสอนไว้อย่างเหมาะสม 13. หลักสูตรที่ดีย่อมประเมินผลอยู่ตลอดเวลาเพื่อทราบข้อบกพร่องในอันที่ จะปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น 14. หลักสูตรที่ดีจะต้องจัดประสบการณ์ให้เด็กเกิดความรู้ ความเข้าใจ และมี โอกาสแก้ปัญหาต่างๆ โดยเฉพาะปัญหาครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติ
  • 10. 15. หลักสูตรที่ดี ต้องส่งเสริมให้เด็กรู้จักแก้ปัญหา 16. หลักสูตรที่ดีต้องจัดประสบการณ์ที่มีความหมายต่อชีวิตเด็ก 17. หลักสูตรที่ดี ต้องจัดประสบการณ์และกิจกรรมหลายๆ อย่าง เพื่อเปิดโอกาสให้ เด็กได้เลือกอย่างเหมาะสมตามความสนใจ ความต้องการ และความสามารถของ เด็กแต่ละบุคคล 18. หลักสูตรที่ดีจะต้องวางกฎเกณฑ์ไว้อย่างเหมาะสมแก่การนาไปปฏิบัติและ สะดวกแก่การวัดและประเมินผล ลักษณะของหลักสูตรที่ดี
  • 11.
  • 12. รูปแบบของหลักสูตรประกอบไปด้วย 8 รูปแบบดังนี้ 1. หลักสูตรแบบเน้นเนื้อหา (The Subject Matter Curriculum) เป็นรูปแบบที่เก่าแก่ที่สุดซึ่งใช้ในการสอนศาสนา ละติน กรีก อาจเรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า เป็ นหลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็ นศูนย์กลาง (Subject-Centered-Curriculum) ซึ่งสอดคล้องกับวิธีการสอน ของครูที่ใช้วิธีการ บรรยาย ปรัชญาการจัดการศึกษาแนวนี้จะยึดปรัชญาสารัตถ นิยม(Essentialism)และสัจวิทยา(Perennialism)
  • 13. 2. หลักสูตรสหสัมพันธ์ (Correlated Curriculum) หลักสูตรสหสัมพันธ์ คือ หลักสูตรเนื้อหาวิชาอีกรูปแบบหนึ่ง แต่ เป็นหลักสูตรที่นาเอาเนื้อหาวิชาของวิชาต่าง ๆ ที่สอดคล้องหรือ ส่งเสริมซึ่งกันและกันมาเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน แล้วจัดสอนเป็นเนื้อหา เดียวกันวิธีการดังกล่าวอาศัยหลักความคิดของนักการศึกษาที่ว่า การ ที่จะเรียนรู้สิ่งใดให้ได้ดีผู้เรียนต้องมีความสนใจเข้าใจความหมายของ สิ่งที่เรียนและมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่เรียนกับสิ่งอื่นที่ เกี่ยวข้องเพราะฉะนั้นหลักสูตรสหสัมพันธ์จะกาหนดเนื้อวิชาใดวิชา หนึ่งหรือหมวดใดหมวดหนึ่ง แล้วนาเนื้อหาสาระวิชาที่สัมพันธ์กันมา รวมไว้ด้วยกัน
  • 14. 3.หลักสูตรแบบผสมผสาน (Fused Curriculum or Fusion Curriculum) หลักสูตรแบบผสมผสานเป็ นหลักสูตรที่พยายาม ปรับปรุงข้อบกพร่องของหลักสูตรเนื้อหาวิชา เพราะฉะนั้น หลักสูตรแบบผสมผสานคือหลักสูตรเนื้อหาวิชาอีกรูปแบบหนึ่ง โดยการรวมเอาวิชาย่อย ๆ ที่มีลักษณะใกล้เคียงกันมา ผสมผสานกันในด้านเนื้อหาเข้าเป็นหมวดหมู่
  • 15. 4. หลักสูตรแบบหมวดวิชาแบบกว้าง (Broad Fields Curriculum) หลักสูตรหมวดวิชาแบบกว้างหรือหลักสูตรรวมวิชา เป็ น หลักสูตรที่พยายามจะแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดจากหลักสูตรเนื้อหาวิชา ซึ่งขาดการผสมผสานของความรู้ให้เป็นหลักสูตรที่มีการประสาน สัมพันธ์ของเนื้อหาความรู้ที่กว้างยิ่งขึ้น
  • 16. 5. หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม (Social Process and Life Function Curriculum) หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม เป็นหลักสูตรที่มุ่งแก้ไขข้อบกพร่องของหลักสูตรที่ผ่าน มาด้วยการรวบรวมความรู้ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยยึดกิจกรรมต่าง ๆ ของคนไทย เป็นหลัก เป็นหลักสูตรที่ถูกคาดว่ามีคุณค่ามากที่สุดสาหรับผู้เรียน การจัดหลักสูตรแบบนี้ ได้ยึดเอาสังคมและชีวิตจริงของเด็กเป็นหลัก เพื่อผู้เรียนจะได้นาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ เพราะมีการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาวิชาในหลักสูตรกับ ชีวิตจริงของผู้เรียนหรือภาวะทางสังคมที่ผู้เรียนกาลังประสบอยู่ หลักการจัดหลักสูตร ประเภทนี้ได้รับอิทธิพลมาจากความคิดของจอห์น ดิวอี้กับปรัชญาการศึกษาสาขาพิพัฒ นาการนิยม และปรัชญาการศึกษาสาขาปฏิรูปนิยม
  • 17. 6. หลักสูตรกิจกรรมหรือประสบการณ์ (Activity or Experience Curriculum) หลักสูตรกิจกรรมหรือประสบการณ์เป็นหลักสูตรที่เกิดขึ้นจาก ความพยายามที่จะแก้ไขการเรียนรู้แบบครูเป็นผู้สอนเพียงอย่างเดียว ไม่ คานึงถึงความต้องการและความสนใจของผู้เรียนซึ่งเป็นข้อบกพร่องของ หลักสูตรแบบเนื้อหาวิชา หลักสูตรแบบนี้ยึดประสบการณ์ และกิจกรรมเป็น หลักมุ่งส่งเสริมการเรียนการสอนโดยวิธีการแก้ปัญหา ผู้เรียนได้แสดงออก ด้วยการลงมือกระทา ลงมือวางแผน เพื่อหาประสบการณ์อันเกิดจากการ แก้ปัญหานั้น ๆ ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการเรียนแบบการเรียนรู้ด้วยการกระทา ( Learning by Doing)
  • 18. 7. หลักสูตรแบบแกน (Core Curriculum) หลักสูตรแบบแกนเป็นหลักสูตรที่ประสานสัมพันธ์เนื้อหาวิชาต่าง ๆ เข้าด้วยกันมุ่งที่จะสนองความต้องการและความสนใจของผู้เรียนและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ส่งเสริมการเรียนรู้แบบ Active Learning สิ่งที่เรียนจะมีความสัมพันธ์กับประสบการณ์และชีวิตของ ผู้เรียน เพื่อให้สามารถเชื่อมโยงชีวิตความเป็นอยู่มาสัมพันธ์กับการเรียนรู้ ได้ เป็นหลักสูตรที่ยึดปรัชญาปฏิรูปนิยม สิ่งเหล่านี้มีอยู่แล้วในรูปแบบ หลักสูตรที่ผ่านมา จึงดูเหมือนว่าหลักสูตรแบบแกนจะเป็นหลักสูตรที่รวม เอาลักษณะเด่นของหลักสูตรอื่น ๆ เข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งนักการศึกษาเชื่อว่า เป็นแบบที่ดีเหมาะสมที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับหลักสูตรต่าง ๆ ที่กล่าว
  • 19. 8. หลักสูตรบูรณาการ (Integrated Curriculum) หลักสูตรบูรณาการเป็นหลักสูตรที่รวมประสบการณ์การเรียนรู้ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ประสบการณ์ดังกล่าวเป็นประสบการณ์ที่คัดเลือกมาจากหลาย สาขาวิชา แล้วจัดเป็นกลุ่มหรือหมวดหมู่ของประสบการณ์ เป็นการบูรณาการ เนื้อหาเข้าด้วยกัน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์สัมพันธ์และต่อเนื่อง อันมีคุณค่าต่อการดารงชีวิต