SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  2
การสร้างคำาในภาษาไทย
                            คำาและการสร้างคำา
ความหมายของคำา
          ทราบกันแล้วว่า คำา คือ พยางค์ที่มีความหมาย อาจประกอบด้วย
พยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้
           คำา ที่ประกอบด้วยพยางค์ห นึ่งพยางค์ เรีย กว่ า คำา พยางค์ เดี ยว
เช่น ดู ไป ตี จันทร์ ฟุต
          คำาที่ประกอบด้วยพยางค์หลายพยางค์ เรียกว่า คำา หลายพยางค์
เช่น หนังสือ ลักษณะ

อ    ง       ค์       ป       ร        ะ   ก   อ   บ   ข       อ       ง    คำา

       คำาประกอบด้วยพยางค์และความหมาย พยางค์ที่ไม่มีความหมาย ไม่
ว่า จะเป็น พยางค์ เดี ยวหรื อหลายพยางค์ ยัง ไม่ จัด เป็ น คำา พยางค์ที่ มีค วาม
หมายอาจเป็นพยางค์เดียวหลายพยางค์ก็ได้จะมีลักษณะของคำา

แ        บ        บ       ส       ร้       า   ง   ข       อ       ง       คำา

         เมื่อพิจารณาถึงแบบสร้างของคำา แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ
          ๑.คำามูล ซึ่งได้แก่ คำาที่ตั้งขึ้นโดยเฉพาะ
          ๒.คำาที่สร้างขึ้นจากคำามูล

คำามูล
               คำามูล เป็น คำาดั้งเดิมที่มีใช้ในภาษามีความหมายสมบูรณ์ใน
ตัวเอง อาจเป็นคำาไทยแท้ หรือเป็นคำายืมจากภาษาต่างประเทศก็ได้ คำามูล
สามารถแบ่งออกเป็น ๒ ชนิด ดังนี้
      ๑.๑ คำามูลพยางค์เดียว
            คำา มูลพยางค์เดี ยวอาจเป็ น คำา ไทยแท้ หรื อเป็น คำา ยืม มาจาก
ภาษาต่างประเทศก็ได้ เช่น
           ๑) คำาไทยแท้ เช่น พ่อ แม่ ฉัน นอน ร้อน เพราะ โอ้ย
           ๒) คำายืมภาษาจีน เช่น ก๊ก โต๊ะ เก๋ง เกี๊ยะ
           ๓) คำายืมภาษาบาลีสันสกฤต เช่น บาตร ผล เวร
           ๔) คำายืมภาษาอังกฤษ เช่น เมตร ลิตร เกม
      ๑.๒ คำามูลหลายพยางค์
           คำามูลหลายพยางค์เป็นคำาที่มีสองพยางค์ขึ้นไปที่มีความหมาย
ในตัวเอง ไม่สามารถแยกพยางค์ภายในคำาได้ เพราะทำาให้ไม่ได้ความหมาย
อาจเป็นคำาไทยแท้ หรือเป็นคำายืมมาจากภาษาต่างประเทศก็ได้ เช่น
           ๑) คำาไทยแท้ เช่น โหระพา มะละกอ เกเร
           ๒) คำายืมภาษาจีน เช่น บะหมี่ ห้อยจ๊อ เฉาก๊วย
           ๓) คำายืมภาษาบาลีสันสกฤต เช่น บิดา ราชินี นาฬิกา
๔) คำายืมภาษาอังกฤษ เช่น คอมพิวเตอร์ สติ๊กเกอร์ แอโรบิก

คำาที่สร้างขึ้นใหม่จากคำามูล
       คำา ที่สร้างขึ้น ใหม่ โดยนำา คำา มูล มารวมกั น จะมี ลัก ษณะต่ า งกัน ไป ๕
ชนิด ดังนี้
               ๑.คำาประสม
               ๒.คำาซ้อน
               ๓.คำาซำ้า
               ๔.คำาสมาส
               ๕.คำาสนธิ

Contenu connexe

Tendances

ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
vp12052499
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
Nook Kanokwan
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
Warissa'nan Wrs
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
Hansa Srikrachang
 

Tendances (19)

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
 
แผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำแผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำ
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
Th 2014-01-01
Th 2014-01-01Th 2014-01-01
Th 2014-01-01
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 

Similaire à การสร้างคำในภาษาไทย

หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
sukuman139
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
nootsaree
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
Nook Kanokwan
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
Srion Janeprapapong
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
Hansa Srikrachang
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
monnawan
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
 

Similaire à การสร้างคำในภาษาไทย (20)

หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืมใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
 
สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
นำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จนำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จ
 
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
หนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 

Plus de kruthai40

ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
kruthai40
 

Plus de kruthai40 (20)

กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
 
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11
 
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
 
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
 
History
HistoryHistory
History
 
ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
 
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายคำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
การอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณการอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณ
 

การสร้างคำในภาษาไทย

  • 1. การสร้างคำาในภาษาไทย คำาและการสร้างคำา ความหมายของคำา ทราบกันแล้วว่า คำา คือ พยางค์ที่มีความหมาย อาจประกอบด้วย พยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้ คำา ที่ประกอบด้วยพยางค์ห นึ่งพยางค์ เรีย กว่ า คำา พยางค์ เดี ยว เช่น ดู ไป ตี จันทร์ ฟุต คำาที่ประกอบด้วยพยางค์หลายพยางค์ เรียกว่า คำา หลายพยางค์ เช่น หนังสือ ลักษณะ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง คำา คำาประกอบด้วยพยางค์และความหมาย พยางค์ที่ไม่มีความหมาย ไม่ ว่า จะเป็น พยางค์ เดี ยวหรื อหลายพยางค์ ยัง ไม่ จัด เป็ น คำา พยางค์ที่ มีค วาม หมายอาจเป็นพยางค์เดียวหลายพยางค์ก็ได้จะมีลักษณะของคำา แ บ บ ส ร้ า ง ข อ ง คำา เมื่อพิจารณาถึงแบบสร้างของคำา แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ๑.คำามูล ซึ่งได้แก่ คำาที่ตั้งขึ้นโดยเฉพาะ ๒.คำาที่สร้างขึ้นจากคำามูล คำามูล คำามูล เป็น คำาดั้งเดิมที่มีใช้ในภาษามีความหมายสมบูรณ์ใน ตัวเอง อาจเป็นคำาไทยแท้ หรือเป็นคำายืมจากภาษาต่างประเทศก็ได้ คำามูล สามารถแบ่งออกเป็น ๒ ชนิด ดังนี้ ๑.๑ คำามูลพยางค์เดียว คำา มูลพยางค์เดี ยวอาจเป็ น คำา ไทยแท้ หรื อเป็น คำา ยืม มาจาก ภาษาต่างประเทศก็ได้ เช่น ๑) คำาไทยแท้ เช่น พ่อ แม่ ฉัน นอน ร้อน เพราะ โอ้ย ๒) คำายืมภาษาจีน เช่น ก๊ก โต๊ะ เก๋ง เกี๊ยะ ๓) คำายืมภาษาบาลีสันสกฤต เช่น บาตร ผล เวร ๔) คำายืมภาษาอังกฤษ เช่น เมตร ลิตร เกม ๑.๒ คำามูลหลายพยางค์ คำามูลหลายพยางค์เป็นคำาที่มีสองพยางค์ขึ้นไปที่มีความหมาย ในตัวเอง ไม่สามารถแยกพยางค์ภายในคำาได้ เพราะทำาให้ไม่ได้ความหมาย อาจเป็นคำาไทยแท้ หรือเป็นคำายืมมาจากภาษาต่างประเทศก็ได้ เช่น ๑) คำาไทยแท้ เช่น โหระพา มะละกอ เกเร ๒) คำายืมภาษาจีน เช่น บะหมี่ ห้อยจ๊อ เฉาก๊วย ๓) คำายืมภาษาบาลีสันสกฤต เช่น บิดา ราชินี นาฬิกา
  • 2. ๔) คำายืมภาษาอังกฤษ เช่น คอมพิวเตอร์ สติ๊กเกอร์ แอโรบิก คำาที่สร้างขึ้นใหม่จากคำามูล คำา ที่สร้างขึ้น ใหม่ โดยนำา คำา มูล มารวมกั น จะมี ลัก ษณะต่ า งกัน ไป ๕ ชนิด ดังนี้ ๑.คำาประสม ๒.คำาซ้อน ๓.คำาซำ้า ๔.คำาสมาส ๕.คำาสนธิ