SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
การใช้ภาษากายในการนําเสนอ
1. การเดินเข้าห้องนําเสนออย่าง
             มาดมั่น

• การเข้าไปรอในห้องก่อนที่ผู้ฟังจะมาถึง   เพื่อให้เกิดความรู้สึก
 ว่าคุณเป็น “เจ้าของห้อง”

• ทําความคุ้นเคยกับห้องก่อนการนําเสนอเพื่อให้เกิดความผ่อน
 คลาย และสามารถควบคุมสถานการณ์ได้
2. การใช้ท่าทางที่มั่นใจ

• ยืนตัวตรงให้เท้าทั้งสองข้างแยกออกจากกันเล็กน้อย     ศีรษะตั้ง
 ตรง ให้พยายามคิดว่าตนเองกําลังครอบครองพื้นที่ในห้องนํา
 เสนอ การคิดว่า “ฉันมั่นใจ” จะช่วยให้มีท่าทางที่มั่นใจขึ้นโดย
 อัตโนมัติ

• อย่าเอาแขนมาไว้ด้านหน้าลําตัวมากเกินไปเพราะถือเป็นการ
 แสดงออกของการป้องกัันตัวในขณะที่รู้สึกประหม่า
3. ใช้ท่าทางที่ดูเป็นธรรมชาติ
• เป็นตัวของตัวเอง

• ห้ามแสดงกิริยาหรือท่าทางหยาบคาย

• พยายามอย่าทําท่าทางเดิมซํ้าๆ   บ่อยเกินไปจนติดเป็นนิสัย

• พยายามอย่าทําท่าทางที่คุณติดเป็นนิสัย   มักจะทําเวลาอยู่ภาย
 ใต้แรงกดดัน

• สามารถหาที่อยู่ของมือตนเองด้วย   การถืออุปกรณ์ช่วยนําเสนอ
4. การสบตากับผู้ฟัง


• สบตากับผู้ฟังให้มากที่สุดเท่าที่จะทําได้
                                       ไม่ใช่เฉพาะกับผู้นั่ง
 แถวหน้าเพียงอย่างเดียว หรือเฉพาะกับคนที่เห็นด้วยกับคุณ
 เท่านั้น ให้สบตากับทุกคนเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีและ
 เกิดความเต็มใจในการรับฟังสิ่งที่คุณนําเสนอมากขึ้น
5. ไม่พูดช้าหรือเร็วเกินไป

• รู้จักจังหวะในการพูด

• การพูดช้าเกินไป      แสดงถึงความไม่มั่นใจในสิ่งที่คุณนําเสนอ
 ทําให้ผู้ฟังรู้สึกไม่เชื่อในสิ่งที่คุณนําเสนอ

• การพูดเร็วเกินไป เป็นธรรมชาติของการแสดงออกถึงความ
 ประหม่า ทําให้ผู้ฟังอาจไม่ฟังเรา
6. การระวังนํ้าเสียงและมารยาท
             ในการพูด
• ใช้นํ้าเสียงที่ฟังเป็นมิตร

• ไม่ใช้นํ้าเสียงที่ดุดันหรือฟังเหมือนการออกคําสั่ง

• มีระดับเสียงที่ดังขึ้นมาเล็กน้อยย่อมดีกว่าเบาเกินไป

• ให้คนที่คุณเชื่อถือมาฟังการนําเสนอของคุณเพื่อช่วยดูว่าคุณ
 พูดมีความชัดเจนในการพูดหรือไม่

• ระวังการใช้คําว่า “เอ่อ” หรือ “อ่า”
7. การแสดงออกทางสีหน้า


• สีหน้าที่เป็นมิตรกับผู้ฟัง

• การใช้สีหน้าเรียบในการนําเสนอ

• ไม่จําเป็นต้องยิ้มตลอดเวลาการนําเสนอ
8. เลือกเสื้อผ้าให้เหมาะสม


• ผู้ฟังอาจตัดสินตัวคุณก่อนการเริ่มนําเสนอจากการแต่งกาย

• เสื้อผ้าที่มีลักษณะเหมือนกับผู้ฟัง

• หากไม่แน่ใจให้เลือกการแต่งกายเรียบๆไว้ก่อน
HOMEWORK
• ทํางานนําเสนอชิ้นท2
                    ี่
                     (ศิลปิน) ใน prezi.com โดยมีจํานวน
 frame อย่างน้อย 8 เฟรม มีหัวข้อ คําอธิบายหลัก ชัดเจน

• เซฟและส่งงานโดยการ       copy link ไปส่งไว้ในกรุ้ป facebook :
 อ.ปุ๋ย sharing สิ่งทอ ปี2 โดยระบุด้วยว่างานชิ้นที่ 2

• ส่งภายในวันพุธ   ที่ 30 ม.ค. 56 ภายในเวลา 16.00 น.

• เตรียมพูดนําเสนอคนละ     5 นาที ในครั้งหน้า ( 1 ก.พ. 2556)
ถ่ายภาพทํา E-BOOK
•   ทํางานกลุ่ม 4-6 คน

•   แต่ละกลุ่มให้เตรียมวัสดุตามหมวดหมู่ที่ให้ ทุกกลุ่มเตรียม สี อะคริลิค มาด้วย

•   นํามาจัดวางองค์ประกอบลงบนบอร์ดขนาด A3 เพื่อถ่ายภาพทํา ebook โดยอ.ปุ๋ยจะเตรียมบอร์ด
    และ softbox ถ่ายภาพนิ่ง ไว้ให้

•   ครั้งหน้า เรียนที่ ชั้น 9 ห้อง 905

•   กลุ่มวัสดุมีดังนี้

                •   ดอกไม้ ใบไม้ ขนาด เล็ก กลาง ใหญ่

                •   ผลไม้ ขนาด เล็ก กลาง ใหญ่

                •   ก้อนหิน ก้อนอิฐ ขนาด เล็ก กลาง ใหญ่

                •   พลาสติก ขนาดเล็ก กลาง ใหญ่

                •   ผัก ขนาดเล็กกลางใหญ่

More Related Content

What's hot

Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
thnaporn999
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
Kunlaya Kamwut
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
Nongkran_Jarurnphong
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
Sani Satjachaliao
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
Saran Srimee
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
montira
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
Golfzie Loliconer
 
ความเป็นพลเมืองโลก
ความเป็นพลเมืองโลกความเป็นพลเมืองโลก
ความเป็นพลเมืองโลก
니 태
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
Naracha Nong
 

What's hot (20)

13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
 
การบริหารลูกเสือ
การบริหารลูกเสือการบริหารลูกเสือ
การบริหารลูกเสือ
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
ความเป็นพลเมืองโลก
ความเป็นพลเมืองโลกความเป็นพลเมืองโลก
ความเป็นพลเมืองโลก
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 

More from Suthini (6)

แผนเตรียมการเป็นเจ้าภาพประชุมเทรนด์
แผนเตรียมการเป็นเจ้าภาพประชุมเทรนด์แผนเตรียมการเป็นเจ้าภาพประชุมเทรนด์
แผนเตรียมการเป็นเจ้าภาพประชุมเทรนด์
 
Ss2014 runway trend reconfirmation
Ss2014 runway trend reconfirmationSs2014 runway trend reconfirmation
Ss2014 runway trend reconfirmation
 
สีและการรับรู้ของสี Colours matter
สีและการรับรู้ของสี Colours matterสีและการรับรู้ของสี Colours matter
สีและการรับรู้ของสี Colours matter
 
พฤติกรรมผู้บริโภค1
พฤติกรรมผู้บริโภค1พฤติกรรมผู้บริโภค1
พฤติกรรมผู้บริโภค1
 
วงจรอุตสาหกรรมแฟชั่น fashion cycle
วงจรอุตสาหกรรมแฟชั่น fashion cycleวงจรอุตสาหกรรมแฟชั่น fashion cycle
วงจรอุตสาหกรรมแฟชั่น fashion cycle
 
Presentation techniques utk
Presentation techniques utkPresentation techniques utk
Presentation techniques utk
 

การใช้ภาษากายในการนำเสนอ

  • 2. 1. การเดินเข้าห้องนําเสนออย่าง มาดมั่น • การเข้าไปรอในห้องก่อนที่ผู้ฟังจะมาถึง เพื่อให้เกิดความรู้สึก ว่าคุณเป็น “เจ้าของห้อง” • ทําความคุ้นเคยกับห้องก่อนการนําเสนอเพื่อให้เกิดความผ่อน คลาย และสามารถควบคุมสถานการณ์ได้
  • 3. 2. การใช้ท่าทางที่มั่นใจ • ยืนตัวตรงให้เท้าทั้งสองข้างแยกออกจากกันเล็กน้อย ศีรษะตั้ง ตรง ให้พยายามคิดว่าตนเองกําลังครอบครองพื้นที่ในห้องนํา เสนอ การคิดว่า “ฉันมั่นใจ” จะช่วยให้มีท่าทางที่มั่นใจขึ้นโดย อัตโนมัติ • อย่าเอาแขนมาไว้ด้านหน้าลําตัวมากเกินไปเพราะถือเป็นการ แสดงออกของการป้องกัันตัวในขณะที่รู้สึกประหม่า
  • 4. 3. ใช้ท่าทางที่ดูเป็นธรรมชาติ • เป็นตัวของตัวเอง • ห้ามแสดงกิริยาหรือท่าทางหยาบคาย • พยายามอย่าทําท่าทางเดิมซํ้าๆ บ่อยเกินไปจนติดเป็นนิสัย • พยายามอย่าทําท่าทางที่คุณติดเป็นนิสัย มักจะทําเวลาอยู่ภาย ใต้แรงกดดัน • สามารถหาที่อยู่ของมือตนเองด้วย การถืออุปกรณ์ช่วยนําเสนอ
  • 5. 4. การสบตากับผู้ฟัง • สบตากับผู้ฟังให้มากที่สุดเท่าที่จะทําได้ ไม่ใช่เฉพาะกับผู้นั่ง แถวหน้าเพียงอย่างเดียว หรือเฉพาะกับคนที่เห็นด้วยกับคุณ เท่านั้น ให้สบตากับทุกคนเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีและ เกิดความเต็มใจในการรับฟังสิ่งที่คุณนําเสนอมากขึ้น
  • 6. 5. ไม่พูดช้าหรือเร็วเกินไป • รู้จักจังหวะในการพูด • การพูดช้าเกินไป แสดงถึงความไม่มั่นใจในสิ่งที่คุณนําเสนอ ทําให้ผู้ฟังรู้สึกไม่เชื่อในสิ่งที่คุณนําเสนอ • การพูดเร็วเกินไป เป็นธรรมชาติของการแสดงออกถึงความ ประหม่า ทําให้ผู้ฟังอาจไม่ฟังเรา
  • 7. 6. การระวังนํ้าเสียงและมารยาท ในการพูด • ใช้นํ้าเสียงที่ฟังเป็นมิตร • ไม่ใช้นํ้าเสียงที่ดุดันหรือฟังเหมือนการออกคําสั่ง • มีระดับเสียงที่ดังขึ้นมาเล็กน้อยย่อมดีกว่าเบาเกินไป • ให้คนที่คุณเชื่อถือมาฟังการนําเสนอของคุณเพื่อช่วยดูว่าคุณ พูดมีความชัดเจนในการพูดหรือไม่ • ระวังการใช้คําว่า “เอ่อ” หรือ “อ่า”
  • 8. 7. การแสดงออกทางสีหน้า • สีหน้าที่เป็นมิตรกับผู้ฟัง • การใช้สีหน้าเรียบในการนําเสนอ • ไม่จําเป็นต้องยิ้มตลอดเวลาการนําเสนอ
  • 9. 8. เลือกเสื้อผ้าให้เหมาะสม • ผู้ฟังอาจตัดสินตัวคุณก่อนการเริ่มนําเสนอจากการแต่งกาย • เสื้อผ้าที่มีลักษณะเหมือนกับผู้ฟัง • หากไม่แน่ใจให้เลือกการแต่งกายเรียบๆไว้ก่อน
  • 10. HOMEWORK • ทํางานนําเสนอชิ้นท2 ี่ (ศิลปิน) ใน prezi.com โดยมีจํานวน frame อย่างน้อย 8 เฟรม มีหัวข้อ คําอธิบายหลัก ชัดเจน • เซฟและส่งงานโดยการ copy link ไปส่งไว้ในกรุ้ป facebook : อ.ปุ๋ย sharing สิ่งทอ ปี2 โดยระบุด้วยว่างานชิ้นที่ 2 • ส่งภายในวันพุธ ที่ 30 ม.ค. 56 ภายในเวลา 16.00 น. • เตรียมพูดนําเสนอคนละ 5 นาที ในครั้งหน้า ( 1 ก.พ. 2556)
  • 11. ถ่ายภาพทํา E-BOOK • ทํางานกลุ่ม 4-6 คน • แต่ละกลุ่มให้เตรียมวัสดุตามหมวดหมู่ที่ให้ ทุกกลุ่มเตรียม สี อะคริลิค มาด้วย • นํามาจัดวางองค์ประกอบลงบนบอร์ดขนาด A3 เพื่อถ่ายภาพทํา ebook โดยอ.ปุ๋ยจะเตรียมบอร์ด และ softbox ถ่ายภาพนิ่ง ไว้ให้ • ครั้งหน้า เรียนที่ ชั้น 9 ห้อง 905 • กลุ่มวัสดุมีดังนี้ • ดอกไม้ ใบไม้ ขนาด เล็ก กลาง ใหญ่ • ผลไม้ ขนาด เล็ก กลาง ใหญ่ • ก้อนหิน ก้อนอิฐ ขนาด เล็ก กลาง ใหญ่ • พลาสติก ขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ • ผัก ขนาดเล็กกลางใหญ่