SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
สารสนเทศ
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือ
เรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน
สัตว์ สิ่งของสถานที่
ฯลฯ โดยอยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสมต่อ
การสื่อสาร การแปลความหมายและการ
ประมวลผล ซึ่งข้อมูลอาจจะ
ได้มาจากการสังเกต การรวบรวม
การวัด ข้อมูลเป็นได้ทั้งข้อมูลตัวเลขหรือ
สัญญลักษณ์ใด ๆ ที่สำาคัญจะ
ต้องมีความเป็นจริงและต่อเนื่อง
ตัวอย่างของข้อมูล เช่น คะแนนสอบ ชือ
นักเรียน เพศ อายุ เป็นต้น
สารสนเทศ (Information) หมายถึง
ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผล
แล้ว อาจใช้วิธีง่าย ๆ
เช่น หาค่าเฉลี่ยหรือใช้เทคนิคขั้นสูง
เช่น การวิจัยดำาเนินงาน เป็นต้น เพื่อ
เปลี่ยนแปลงสภาพข้อมูลทั่วไป
ให้อยู่ในรูปแบบที่มีความสัมพันธ์หรือ
มีความเกี่ยวข้องกัน เพื่อนำาไปใช้
ประโยชน์ในการตัดสินใจหตือตอบ
ปัญหาต่าง ๆ ได้ สารสนเทศประกอบ
ด้วยข้อมูลเอกสาร เสียง หรือรูปภาพต่าง
ๆ แต่จัดเนื้อเรื่องให้อยู่ใน
รูปที่มีความหมาย สารสนเทศไม่ใช่
จำากัดเฉพาะเพียงตัวเลขเพียงอย่างเดียว
เท่านั้น
คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี
1. ความถูกต้อง หากมีการเก็บ
รวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือ
ไม่ได้จะทำาให้เกิดผลเสีย
อย่างมาก ผู้ใช้ไม่กล้าอ้างอิงหรือ
นำาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การ
ตัดสินใจของผู้บริหาร
ขาดความแม่นยำา และอาจมี
โอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูล ที่
ออก แบบต้องคำานึงถึงกรรมวิธี
การดำาเนินงานเพื่อให้ได้ความ
ถูกต้องแม่นยำามากที่สุด โดยปกติความ
ผิดพลาดของสารสนเทศ
ส่วนใหญ่มาจากข้อมูลที่ไม่มี
ความถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคน
หรือเครื่องจักร การออกแบบ
ระบบจึงต้องคำานึงถึงในเรื่องนี้
2. ความรวดเร็ว และเป็นปัจจุบัน การ
ได้มาของข้อมูลจำาเป็นต้องให้ทันต่อความ
ต้องการของผู้ใช้
มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้
ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อ
เหตุการณ์หรือความต้องการ
มีการออกแบบระบบการเรียนค้น
และรายงานตามผู้ใช้
3. ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของ
สารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและ
วิธีการทางปฏิบัติด้วย
ในการดำาเนินการจัดทำา
สารสนเทศต้องสำารวจและสอบถามความ
ต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้
ข้อมูลที่สมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่
เหมาะสม
4. ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัด
เก็บข้อมูลจำานวนมากจะต้องใช้พื้นที่ใน
การจัดเก็บข้อมูลมาก
จึงจำาเป็นต้องออกแบบโครงสร้าง
ข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการ
ใช้รกัสหรือย่นย่อข้อมูล
ให้เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้
ในระบบคอมพิวเตอร์
5. ความสอดคล้อง ความต้องการเป็น
เรื่องที่สำาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสำารวจ
เพื่อหาความต้องการ
ของหน่วยงานและองค์การดูสภาพ
การใช้ข้อมูลความลึกหรือความกว้างของ
ขอบเขตของข้อมูล
ที่สอดคล้องกับความต้องการ
การทำาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
1. การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล
ควรประกอบด้วย
1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็น
เรื่องของการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งมี
จำานวนมาก และต้องเก็บให้
ได้อย่างทันเวลา เช่น ข้อมูล
การลงทะเบียนเรียนของนักเรียน ข้อมูล
ประวัติบุคลากร ปัจจุบัน
มีเทคโนโลยีช่วยในการจัด
เก็บอยู่เป็นจำานวนมาก เช่น การป้อน
ข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์
การอ่านข้อมูลจากรหัสแท่ง
การตรวจใบลงทะเบียนที่มีการฝนดินสอ
ดำาในตำาแหน่งต่าง ๆ
เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
เช่นกัน
1.2 การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมี
การเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจำาเป็นต้องมี
การตรวจสอบข้อมูล
เพื่อตรวจสอบความถูก
ต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบจะต้องมี
ความเชื่อถือได้ หากพบ
ที่ผิดพลาดต้องแก้ไข การ
ตรวจสอบข้อมูลมีหลายวิธี เช่น การใช้
ผู้ป้อนข้อมูลสองคน
ป้อนข้อมูลชุดเดียวกันเข้า
เครื่องคอมพิวเตอร์แล้วเปรียบเทียบกัน
2. การดำาเนินการประมวลผลข้อมูลให้
กลายเป็นสารสนเทศ อาจประกอบด้วย
กิจกรรม
ดังต่อไปนี้
2.1 การจัดแบ่งข้อมูล ข้อมูลที่จัด
เก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียม
ไว้สำาหรับ
การใช้งาน การแบ่งแยก
กลุ่มมีวิธีการที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลใน
โรงเรียนมีการแบ่งเป็นแฟ้ม
ประวัตินักเรียน และแฟ้มลง
ทะเบียน สมุดโทรศัพท์หน้าเหลืองมีกร
แบ่งหมวดหมู่
สินค้า และบริการ เพื่อ
ความสะดวกในการค้นหา
2.2 การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่ง
กลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูล
ตามลำาดับ
ตัวเลข หรือตัวอักษร หรือ
เพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา
ตัวอย่าง
การจัดเรียงข้อมูล เช่น การ
จัดเรียงบัตรข้อมูลผู้แต่งหนังสือในตู้บัตร
รายการของ
ห้องสมุดตามลำาดับตัวอักษร
การจัดเรียงชื่อคนในสมุดรายนามผู้ใช้
โทรศัพท์
ทำาให้ค้นหาได้ง่าย
2.3 การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่
จัดเก็บมีเป็นจำานวนมาก จำาเป็นต้องมีการ
สรุปผลหรือ
สร้างรายงานย่อ เพื่อนำาไป
ใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจสื่อ
ความหมายได้ดีกว่า
เช่นสถิติจำานวนนักเรียน
แยกตามชั้นเรียนแต่ละชั้น
2.4 การคำานวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็น
จำานวนมาก ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูล
ตัวเลขที่สามารถ
นำาไปคำานวณเพื่อหาผลลัพธ์
บางอย่างได้ ดังนั้นการสร้างสารสนเทศ
จากข้อมูล
จึงอาศัยการคำานวณข้อมูลที่
เก็บไว้ด้วย
3. การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้
งาน ประกอบด้วย
3.1 การเก็บรักษาข้อมูล การเก็บ
รักษาข้อมูลหมายถึงการนำาข้อมูลมา
บันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึก
ต่างๆ เช่น แผ่นบันทึกข้อมูล
นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทำา
สำาเนาข้อมูล
เพื่อให้ใช้งานต่อไปใน
อนาคตได้
3.2 การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัด
เก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อ
ไปการค้นหา
ข้อมูลจะต้องค้นได้ถูกต้อง
แม่นยำา รวดเร็ว จึงมีการนำาคอมพิวเตอร์
เข้ามามีส่วนช่วย
ในการทำางาน ทำาให้การ
เรียกค้นกระทำาได้ทันเวลา
3.3 การทำาสำาเนาข้อมูล การทำา
สำาเนาเพื่อที่จะนำาข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือ
นำาไปแจกจ่าย
ในภายหลัง จึงควรจัดเก็บ
ข้อมูลให้ง่ายต่อการทำาสำาเนา หรือนำาไป
ใช้อีกครั้งได้โดยง่าย
3.4 การสื่อสาร ข้อมูลต้อง
กระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่าง
ไกลได้ง่าย การสื่อสาร
ข้อมูลจึงเป็นเรื่องสำาคัญ
และมีบทบาทที่สำาคัญยิ่งท่จะทำาให้การส่ง
ข่าวสาร
ไปยังผู้ใช้ทำาได้รวดเร็วและ
ทันเวลา
ข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลแบ่งออก
เป็น 2 ชนิด คือ
1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric
Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำานวนที่
สามารถนำาไปคำานวณได้
ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ
- เลขจำานวนเต็ม หมายถึง
ตัวเลขที่ไม่มีจุดทศนิยม เช่น 12, 9, 137 ,
8319 , -46
- เลขทศนิยม หมายถึง ตัวเลข
ที่มีจุดทศนิยม ซึ่งอาจมีค่าเป็นจำานวนเต็ม
เช่น 12
หรือเป็นจำานวนที่มีเศษ
ทศนิยมก็ได้ เช่น 12.763 เลข
ทศนิยมแบบนี้สามารถเขียนได้
2 รูปแบบคือ
- แบบที่ใช้การทั่วไป เช่น
12., 9.0 ,17.63, 119.3267 , -17.34
- แบบที่ใช้งานทาง
วิทยาศาสตร์ เช่น
123. x 104
หมายถึง 1230000.0
13.76 x 10-3
หมายถึง 0.01376
- 1764.0 x 102
หมายถึง -176400.0
- 1764.10-2
หมายถึง -17.64
2) ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระ
(Character Data) หมายถึง ข้อมูลที่ ไม่
สามารถนำา
ไปคำานวณได้ แต่อาจนำาไป
เรียงลำาดับได้ เช่น การเรียงลำาดับตัว
อักษร ข้อมูลอาจ
เป็นตัวหนังสือ ตัวเลข หรือ
เครื่องหมายใด ๆ เช่น COMPUTER,
ON-LINE,
1711101,&76
ประเภทของข้อมูล
ถ้าจำาแนกข้อมูลออกเป็นประเภท
จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. ข้อมูลปฐมภฺมิ (Primary Data)
หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม หรือ
บันทึก
จากแหล่งข้อมูลโดยตรงซึ่ง
อาจจะได้จากการสอบถาม การ
สัมภาษณ์ การสำารวจและ
การจดบันทึก ตลอดจนการ
จัดหามาด้วย เครื่องจักรอัตโนมัติ เช่น
เครื่องอ่านรหัสแท่ง
เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก
2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary
Data) หมายถึง ข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้
ให้แล้ว
บางครั้งอาจมีการประมวลผล
เพื่อเป็นสารสนเทศ เช่น สถิติจำานวน
ประชากร
แต่ละจังหวัด สถิติการนำาสินค้า
เข้า และการส่งสินค้าออก เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ (software)
หมายถึง หมายถึงชุดคำา สั่ง
หรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์
ทำา งาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำา ดับขั้น
ตอนการทำางานที่เขียนขึ้นด้วยคำาสั่งของ
ค อ มพิวเ ต อ ร์ คำา สั่ง เ ห ล่า นี้เ รียง กัน เ ป็น
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้ว
ว่า ค อ ม พิว เ ต อ ร์ทำา ง า น ต า ม คำา สั่ง ก า ร
ทำา ง านพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำา กับ
ข้อมูลที่เป็นตัวเลข ฐานสอง ซึ่งใช้แทน
ข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือ
แม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้
โ ป ร แ ก ร ม ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ที่ ใ ช้ สั่ ง ง า น
คอมพิวเตอร์จึงเป็นซอฟต์แวร์ เพราะเป็น
ลำาดับขั้นตอนการทำางานของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งทำา งานแตกต่าง
กันได้มากมายด้วยซอฟต์แวร์ที่แตกต่าง
กัน ซอฟต์แวร์จึงหมายรวมถึงโปรแกรม
ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ทุ ก ป ร ะ เ ภ ท ที่ ทำา ใ ห้
คอมพิวเตอร์ทำางานได้
การที่เราเห็นคอมพิวเตอร์ทำา งานให้กับ
เ ร า ไ ด้ม า ก ม า ย เ พ ร า ะ ว่า มีผู้พัฒ น า
โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาให้เราสั่งงาน
คอมพิวเตอร์ ร้านค้าอาจใช้คอมพิวเตอร์
ทำาบัญชีที่ยุ่งยากซับซ้อน บริษัทขายตั๋วใช้
ค อ ม พิว เ ต อ ร์ช่ว ย ใ น ร ะ บ บ ก า ร จ อ ง ตั๋ว
ค อ ม พิว เ ต อ ร์ช่ว ย ใ น เ รื่อ ง กิจ ก า ร ง า น
ธ น า ค า ร ที่ มี ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ ม า ก ม า ย
ค อ ม พิว เ ต อ ร์ช่ว ย ง า น พิม พ์เ อ ก ส า ร ใ ห้
ส ว ย ง า ม เ ป็น ต้น ก า ร ที่ค อ ม พิว เ ต อ ร์
ดำา เ นิน ก า ร ใ ห้ป ร ะ โ ย ช น์ไ ด้ม า ก ม า ย
มหาศาลจะอยู่ที่ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จึง
เ ป็น ส่ว น สำา คัญ ข อ ง ร ะ บ บ ค อ ม พิว เ ต อ ร์
ห า ก ข า ด ซ อ ฟ ต์แ ว ร์ค อ ม พิว เ ต อ ร์ก็ไ ม่
สามารถทำางานได้ ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่
จำา เป็น และมีความสำา คัญมาก และเป็น
ส่วนประกอบหนึ่งที่ทำาให้ระบบสารสนเทศ
เป็นไปได้ตามที่ต้องการ
ซอฟท์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใน
การทำางาน มนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธี
การให้คอมพิวเตอร์ทราบ การที่บอกสิ่งที่
ม นุษ ย์เ ข้า ใ จ ใ ห้ค อ ม พิว เ ต อ ร์รับ รู้ แ ล ะ
ทำา งานได้อย่างถูกต้อง จำา เป็นต้องมีสื่อ
กลาง ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำา วัน
แล้ว เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกัน
และกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ต้องการจะ
ถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับ
รู้และปฏิบัติตาม จะต้องมีสื่อกลางสำาหรับ
การติดต่อ เพื่อ ให้ค อมพิวเตอ ร์รับ รู้ เรา
เ รีย ก สื่อ ก ล า ง นี้ว่า ภ า ษ า ค อ ม พิว เ ต อ ร์
เ นื่ อ ง จ า ก ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ทำา ง า น ด้ ว ย
สัญญาณทางไฟฟ้า ใช้แทนด้วยตัวเลข 0
แ ล ะ 1 ไ ด้ ผู้อ อ ก แ บ บ ค อ ม พิว เ ต อ ร์ใ ช้
ตัวเลข 0 และ 1 นี้เป็นรหัสแทนคำา สั่งใน
การสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูล
แ ล ะ คำา สั่ง โ ด ย ใ ช้ร ะ บ บ เ ล ข ฐ า น ส อ ง นี้
คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียก
เลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำา สั่ง
และใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะ
เข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่ง
ยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำา ได้ยาก
จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่
เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ ภาษา
ใ น ลัก ษ ณ ะ ดัง ก ล่า ว นี้เ รีย ก ว่า ภ า ษ า
คอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่
มากมาย บางภาษามีความเหมาะสมกับ
ก า ร ใ ช้ สั่ ง ง า น ก า ร คำา น ว ณ ท า ง
คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ บางภาษามี
ความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการ
จั ด ก า ร ข้ อ มู ล ใ น ก า ร ทำา ง า น ข อ ง
คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะแปลภาษา
ระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ดังนั้นจึงมีผู้
พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำาหรับแปล
ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงให้เป็นภาษา
เครื่อง
โ ป ร แ ก ร ม ที่ใ ช้แ ป ล ภ า ษ า ค อ ม พิว เ ต อ ร์
ระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องเรียกว่า คอม
ไพเลอร์ (compiler) หรืออินเทอร์พรีเตอร์
(interpreter)
คอมไพเลอร์ จะทำา การแปลโปรแกรมที่
เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้
เ ป็ น ภ า ษ า เ ค รื่ อ ง ก่ อ น แ ล้ ว จึ ง ใ ห้
คอมพิวเตอร์ทำางานตามภาษาเครื่องนั้น
ส่วนอินเทอร์พรีเตอร์ จะทำาการแปลทีละ
คำา สั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำา ตามคำา สั่ง
นั้น เมื่อทำา เสร็จแล้วจึงมาทำา การแปลคำา
สั่งลำา ดับต่อไป ข้อแตกต่างระหว่างคอม
ไพเลอร์กับอินเทอร์พรีเตอร์จึงอยู่ที่การ
แปลทั้งโปรแกรมหรือแปลทีละคำา สั่ง ตัว
แปลภาษาที่รู้จักกันดี เช่น ตัวแปลภาษา
เบสิก ตัวแปลภาษาโคบอล
ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์จึง
เป็นส่วนสำา คัญที่ควบคุมการทำา งานของ
คอมพิวเตอร์ให้ดำาเนินการตามแนวความ
คิ ด ที่ ไ ด้ กำา ห น ด ไ ว้ ล่ ว ง ห น้ า แ ล้ ว
ค อมพิวเตอ ร์ต้อ ง ทำา ง าน ตา มโป รแ กร ม
เท่านั้น ไม่สามารถทำางานที่นอกเหนือจาก
ที่กำาหนดไว้ในโปรแกรม
ชนิดของซอฟต์แวร์
ใ น บ ร ร ด า ซ อ ฟ ต์แ ว ร์ห รือ โ ป ร แ ก ร ม
คอมพิวเตอร์ที่มีผู้พัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานกับ
คอมพิวเตอร์มีมากมาย ซอฟต์แวร์เหล่านี้
อ า จ ไ ด้รับ ก า ร พัฒ น า โ ด ย ผู้ใ ช้ง า น เ อ ง
ห รือ ผู้พัฒน าร ะบ บ ห รือ ผู้ผ ลิตจำา ห น่า ย
ห า ก แ บ่ง แ ย ก ช นิด ข อ ง ซ อ ฟ ต์แ ว ร์ต า ม
สภาพการทำางาน พอแบ่งแยกซอฟต์แวร์
ได้เป็นสองประเภท คือ
1. ซอฟต์แวร์ระบบ (system software)
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software)
ฮาร์ดแวร์
(Hardware)คือ
อะไร ?
เขียนโดย man@dmin
วันเสาร์ที่ 02 พฤษภาคม 2009 เวลา 02:22
น.
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
หมายถึง
ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบ
ข้าง (Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได้ โดยจะ
ประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่
ควบคุมการประมวลผลข้อมูล การรับข้อมูล การ
แสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์
เป็นอุปกรณ์ที่จับต้อง สัมผัส และสามารถ
มองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม มีทั้งที่ติดตั้ง
ภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) และ เชื่อม
ต่อภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์
เ ร า ส า ม า ร ถ แ บ่ ง ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง
ฮ า ร์ด แ ว ร์อ อ ก ไ ด้เ ป็น 5 ห น่ว ย ที่สำา คัญ
ดังนี้
1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทำาหน้าที่ใน
การรับโปรแกรม และข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์
ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้ในการรับข้อมูลเข้า ได้แก่
แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด (Keyboard) เครื่อง
สแกนต่างๆ เช่น เครื่องรูดบัตร สแกนเนอร์ ฯลฯ
2. หน่วยความจำา (Memory Unit) ทำาหน้าที่
เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับ
ข้อมูล เพื่อเตรียมส่งให้หน่วยประมวลผลกลาง
ทำาการประมวลผล และรับผลลัพธ์ที่ได้จากการ
ประมวลผล เพื่อเตรียมส่งออกหน่วยแสดงข้อมูล
ต่อไป
3. ห น่ว ย ป ร ะ ม ว ล ผ ล ก ล า ง (CPU หรือ
Central Processing Unit) ทำา หน้าที่ปฏิบัติ
งานตามคำาสั่งที่ปรากฏอยู่ในโปรแกรม หน่วยนี้
จะประกอบด้วยหน่วยย่อยๆ อีก 2 หน่วย ได้แก่
หน่วยคำานวณเลขคณิตและตรรกวิทยา (ALU
ห รื อ Arithmetic and Logical Unit) แ ล ะ
หน่วยควบคุม (CU หรือ Control Unit)
4. ห น่ว ย เ ก็บ ข้อ มูล สำา ร อ ง (Secondary Storge) ทำา
หน้าที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมที่จะป้อนเข้าสู่
หน่วยความจำาหลักภายในเครื่องก่อนทำาการ
ประมวลผลโดย ซีพียู รวมทั้งเป็นแหล่งเก็บผล
ลัพท์จากการประมวลผลด้วย เพื่อการใช้งานใน
ภายหลัง
5. ห น่ว ย แ ส ด ง ข้อ มูล (Output Unit) ทำา
หน้าที่แสดงผลลัพท์จากการประมวลผล เช่น
จอภาพ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น

Contenu connexe

Tendances

บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศWarakon Phommanee
 
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2sasima
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอNorthSamed
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..runjaun
 
Ch11 slide
Ch11 slideCh11 slide
Ch11 slidejune006
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศOwat
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศOwat
 
Ch08 slide
Ch08 slideCh08 slide
Ch08 slidejune006
 
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดelfinspiritap
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnantakit
 

Tendances (17)

Part1
Part1Part1
Part1
 
Basic it
Basic itBasic it
Basic it
 
K7
K7K7
K7
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบันห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
 
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอ
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
 
Ch11 slide
Ch11 slideCh11 slide
Ch11 slide
 
E book
E bookE book
E book
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Ch08 slide
Ch08 slideCh08 slide
Ch08 slide
 
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Similaire à สารสนเทศ

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศwilaiporntoey
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศManasawin_Panluadthai
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศManasawin_Panluadthai
 
ข้อมูลและสารสนเทศ2
ข้อมูลและสารสนเทศ2ข้อมูลและสารสนเทศ2
ข้อมูลและสารสนเทศ2Oat_zestful
 

Similaire à สารสนเทศ (20)

A0141 20
A0141 20A0141 20
A0141 20
 
งานอ.รัฐพล
งานอ.รัฐพลงานอ.รัฐพล
งานอ.รัฐพล
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ2
ข้อมูลและสารสนเทศ2ข้อมูลและสารสนเทศ2
ข้อมูลและสารสนเทศ2
 

สารสนเทศ

  • 1. สารสนเทศ ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือ เรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของสถานที่ ฯลฯ โดยอยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสมต่อ การสื่อสาร การแปลความหมายและการ ประมวลผล ซึ่งข้อมูลอาจจะ ได้มาจากการสังเกต การรวบรวม การวัด ข้อมูลเป็นได้ทั้งข้อมูลตัวเลขหรือ สัญญลักษณ์ใด ๆ ที่สำาคัญจะ ต้องมีความเป็นจริงและต่อเนื่อง ตัวอย่างของข้อมูล เช่น คะแนนสอบ ชือ นักเรียน เพศ อายุ เป็นต้น สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผล แล้ว อาจใช้วิธีง่าย ๆ เช่น หาค่าเฉลี่ยหรือใช้เทคนิคขั้นสูง เช่น การวิจัยดำาเนินงาน เป็นต้น เพื่อ เปลี่ยนแปลงสภาพข้อมูลทั่วไป ให้อยู่ในรูปแบบที่มีความสัมพันธ์หรือ มีความเกี่ยวข้องกัน เพื่อนำาไปใช้ ประโยชน์ในการตัดสินใจหตือตอบ ปัญหาต่าง ๆ ได้ สารสนเทศประกอบ ด้วยข้อมูลเอกสาร เสียง หรือรูปภาพต่าง ๆ แต่จัดเนื้อเรื่องให้อยู่ใน
  • 2. รูปที่มีความหมาย สารสนเทศไม่ใช่ จำากัดเฉพาะเพียงตัวเลขเพียงอย่างเดียว เท่านั้น คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี 1. ความถูกต้อง หากมีการเก็บ รวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือ ไม่ได้จะทำาให้เกิดผลเสีย อย่างมาก ผู้ใช้ไม่กล้าอ้างอิงหรือ นำาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การ ตัดสินใจของผู้บริหาร ขาดความแม่นยำา และอาจมี โอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูล ที่ ออก แบบต้องคำานึงถึงกรรมวิธี การดำาเนินงานเพื่อให้ได้ความ ถูกต้องแม่นยำามากที่สุด โดยปกติความ ผิดพลาดของสารสนเทศ ส่วนใหญ่มาจากข้อมูลที่ไม่มี ความถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคน หรือเครื่องจักร การออกแบบ ระบบจึงต้องคำานึงถึงในเรื่องนี้ 2. ความรวดเร็ว และเป็นปัจจุบัน การ ได้มาของข้อมูลจำาเป็นต้องให้ทันต่อความ ต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้ ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อ
  • 3. เหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียนค้น และรายงานตามผู้ใช้ 3. ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของ สารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและ วิธีการทางปฏิบัติด้วย ในการดำาเนินการจัดทำา สารสนเทศต้องสำารวจและสอบถามความ ต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ ข้อมูลที่สมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่ เหมาะสม 4. ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัด เก็บข้อมูลจำานวนมากจะต้องใช้พื้นที่ใน การจัดเก็บข้อมูลมาก จึงจำาเป็นต้องออกแบบโครงสร้าง ข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการ ใช้รกัสหรือย่นย่อข้อมูล ให้เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ ในระบบคอมพิวเตอร์ 5. ความสอดคล้อง ความต้องการเป็น เรื่องที่สำาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสำารวจ เพื่อหาความต้องการ ของหน่วยงานและองค์การดูสภาพ การใช้ข้อมูลความลึกหรือความกว้างของ
  • 4. ขอบเขตของข้อมูล ที่สอดคล้องกับความต้องการ การทำาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ 1. การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล ควรประกอบด้วย 1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็น เรื่องของการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งมี จำานวนมาก และต้องเก็บให้ ได้อย่างทันเวลา เช่น ข้อมูล การลงทะเบียนเรียนของนักเรียน ข้อมูล ประวัติบุคลากร ปัจจุบัน มีเทคโนโลยีช่วยในการจัด เก็บอยู่เป็นจำานวนมาก เช่น การป้อน ข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การอ่านข้อมูลจากรหัสแท่ง การตรวจใบลงทะเบียนที่มีการฝนดินสอ ดำาในตำาแหน่งต่าง ๆ เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล เช่นกัน 1.2 การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมี การเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจำาเป็นต้องมี การตรวจสอบข้อมูล เพื่อตรวจสอบความถูก ต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบจะต้องมี ความเชื่อถือได้ หากพบ ที่ผิดพลาดต้องแก้ไข การ
  • 5. ตรวจสอบข้อมูลมีหลายวิธี เช่น การใช้ ผู้ป้อนข้อมูลสองคน ป้อนข้อมูลชุดเดียวกันเข้า เครื่องคอมพิวเตอร์แล้วเปรียบเทียบกัน 2. การดำาเนินการประมวลผลข้อมูลให้ กลายเป็นสารสนเทศ อาจประกอบด้วย กิจกรรม ดังต่อไปนี้ 2.1 การจัดแบ่งข้อมูล ข้อมูลที่จัด เก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียม ไว้สำาหรับ การใช้งาน การแบ่งแยก กลุ่มมีวิธีการที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลใน โรงเรียนมีการแบ่งเป็นแฟ้ม ประวัตินักเรียน และแฟ้มลง ทะเบียน สมุดโทรศัพท์หน้าเหลืองมีกร แบ่งหมวดหมู่ สินค้า และบริการ เพื่อ ความสะดวกในการค้นหา 2.2 การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่ง กลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูล ตามลำาดับ ตัวเลข หรือตัวอักษร หรือ เพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา ตัวอย่าง การจัดเรียงข้อมูล เช่น การ
  • 6. จัดเรียงบัตรข้อมูลผู้แต่งหนังสือในตู้บัตร รายการของ ห้องสมุดตามลำาดับตัวอักษร การจัดเรียงชื่อคนในสมุดรายนามผู้ใช้ โทรศัพท์ ทำาให้ค้นหาได้ง่าย 2.3 การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่ จัดเก็บมีเป็นจำานวนมาก จำาเป็นต้องมีการ สรุปผลหรือ สร้างรายงานย่อ เพื่อนำาไป ใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจสื่อ ความหมายได้ดีกว่า เช่นสถิติจำานวนนักเรียน แยกตามชั้นเรียนแต่ละชั้น 2.4 การคำานวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็น จำานวนมาก ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูล ตัวเลขที่สามารถ นำาไปคำานวณเพื่อหาผลลัพธ์ บางอย่างได้ ดังนั้นการสร้างสารสนเทศ จากข้อมูล จึงอาศัยการคำานวณข้อมูลที่ เก็บไว้ด้วย 3. การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้ งาน ประกอบด้วย 3.1 การเก็บรักษาข้อมูล การเก็บ รักษาข้อมูลหมายถึงการนำาข้อมูลมา
  • 7. บันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึก ต่างๆ เช่น แผ่นบันทึกข้อมูล นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทำา สำาเนาข้อมูล เพื่อให้ใช้งานต่อไปใน อนาคตได้ 3.2 การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัด เก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อ ไปการค้นหา ข้อมูลจะต้องค้นได้ถูกต้อง แม่นยำา รวดเร็ว จึงมีการนำาคอมพิวเตอร์ เข้ามามีส่วนช่วย ในการทำางาน ทำาให้การ เรียกค้นกระทำาได้ทันเวลา 3.3 การทำาสำาเนาข้อมูล การทำา สำาเนาเพื่อที่จะนำาข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือ นำาไปแจกจ่าย ในภายหลัง จึงควรจัดเก็บ ข้อมูลให้ง่ายต่อการทำาสำาเนา หรือนำาไป ใช้อีกครั้งได้โดยง่าย 3.4 การสื่อสาร ข้อมูลต้อง กระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่าง ไกลได้ง่าย การสื่อสาร ข้อมูลจึงเป็นเรื่องสำาคัญ และมีบทบาทที่สำาคัญยิ่งท่จะทำาให้การส่ง ข่าวสาร
  • 8. ไปยังผู้ใช้ทำาได้รวดเร็วและ ทันเวลา ข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลแบ่งออก เป็น 2 ชนิด คือ 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำานวนที่ สามารถนำาไปคำานวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ - เลขจำานวนเต็ม หมายถึง ตัวเลขที่ไม่มีจุดทศนิยม เช่น 12, 9, 137 , 8319 , -46 - เลขทศนิยม หมายถึง ตัวเลข ที่มีจุดทศนิยม ซึ่งอาจมีค่าเป็นจำานวนเต็ม เช่น 12 หรือเป็นจำานวนที่มีเศษ ทศนิยมก็ได้ เช่น 12.763 เลข ทศนิยมแบบนี้สามารถเขียนได้
  • 9. 2 รูปแบบคือ - แบบที่ใช้การทั่วไป เช่น 12., 9.0 ,17.63, 119.3267 , -17.34 - แบบที่ใช้งานทาง วิทยาศาสตร์ เช่น 123. x 104 หมายถึง 1230000.0 13.76 x 10-3 หมายถึง 0.01376 - 1764.0 x 102 หมายถึง -176400.0 - 1764.10-2 หมายถึง -17.64 2) ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระ (Character Data) หมายถึง ข้อมูลที่ ไม่ สามารถนำา ไปคำานวณได้ แต่อาจนำาไป เรียงลำาดับได้ เช่น การเรียงลำาดับตัว อักษร ข้อมูลอาจ เป็นตัวหนังสือ ตัวเลข หรือ เครื่องหมายใด ๆ เช่น COMPUTER, ON-LINE, 1711101,&76 ประเภทของข้อมูล ถ้าจำาแนกข้อมูลออกเป็นประเภท
  • 10. จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. ข้อมูลปฐมภฺมิ (Primary Data) หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม หรือ บันทึก จากแหล่งข้อมูลโดยตรงซึ่ง อาจจะได้จากการสอบถาม การ สัมภาษณ์ การสำารวจและ การจดบันทึก ตลอดจนการ จัดหามาด้วย เครื่องจักรอัตโนมัติ เช่น เครื่องอ่านรหัสแท่ง เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก 2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) หมายถึง ข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้ ให้แล้ว บางครั้งอาจมีการประมวลผล เพื่อเป็นสารสนเทศ เช่น สถิติจำานวน ประชากร แต่ละจังหวัด สถิติการนำาสินค้า เข้า และการส่งสินค้าออก เป็นต้น ซอฟต์แวร์ (software)
  • 11. หมายถึง หมายถึงชุดคำา สั่ง หรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ ทำา งาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำา ดับขั้น ตอนการทำางานที่เขียนขึ้นด้วยคำาสั่งของ ค อ มพิวเ ต อ ร์ คำา สั่ง เ ห ล่า นี้เ รียง กัน เ ป็น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้ว ว่า ค อ ม พิว เ ต อ ร์ทำา ง า น ต า ม คำา สั่ง ก า ร ทำา ง านพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำา กับ ข้อมูลที่เป็นตัวเลข ฐานสอง ซึ่งใช้แทน ข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือ แม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้ โ ป ร แ ก ร ม ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ที่ ใ ช้ สั่ ง ง า น คอมพิวเตอร์จึงเป็นซอฟต์แวร์ เพราะเป็น ลำาดับขั้นตอนการทำางานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งทำา งานแตกต่าง กันได้มากมายด้วยซอฟต์แวร์ที่แตกต่าง กัน ซอฟต์แวร์จึงหมายรวมถึงโปรแกรม ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ทุ ก ป ร ะ เ ภ ท ที่ ทำา ใ ห้ คอมพิวเตอร์ทำางานได้ การที่เราเห็นคอมพิวเตอร์ทำา งานให้กับ เ ร า ไ ด้ม า ก ม า ย เ พ ร า ะ ว่า มีผู้พัฒ น า
  • 12. โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาให้เราสั่งงาน คอมพิวเตอร์ ร้านค้าอาจใช้คอมพิวเตอร์ ทำาบัญชีที่ยุ่งยากซับซ้อน บริษัทขายตั๋วใช้ ค อ ม พิว เ ต อ ร์ช่ว ย ใ น ร ะ บ บ ก า ร จ อ ง ตั๋ว ค อ ม พิว เ ต อ ร์ช่ว ย ใ น เ รื่อ ง กิจ ก า ร ง า น ธ น า ค า ร ที่ มี ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ ม า ก ม า ย ค อ ม พิว เ ต อ ร์ช่ว ย ง า น พิม พ์เ อ ก ส า ร ใ ห้ ส ว ย ง า ม เ ป็น ต้น ก า ร ที่ค อ ม พิว เ ต อ ร์ ดำา เ นิน ก า ร ใ ห้ป ร ะ โ ย ช น์ไ ด้ม า ก ม า ย มหาศาลจะอยู่ที่ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จึง เ ป็น ส่ว น สำา คัญ ข อ ง ร ะ บ บ ค อ ม พิว เ ต อ ร์ ห า ก ข า ด ซ อ ฟ ต์แ ว ร์ค อ ม พิว เ ต อ ร์ก็ไ ม่ สามารถทำางานได้ ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่ จำา เป็น และมีความสำา คัญมาก และเป็น ส่วนประกอบหนึ่งที่ทำาให้ระบบสารสนเทศ เป็นไปได้ตามที่ต้องการ ซอฟท์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใน การทำางาน มนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธี การให้คอมพิวเตอร์ทราบ การที่บอกสิ่งที่ ม นุษ ย์เ ข้า ใ จ ใ ห้ค อ ม พิว เ ต อ ร์รับ รู้ แ ล ะ ทำา งานได้อย่างถูกต้อง จำา เป็นต้องมีสื่อ
  • 13. กลาง ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำา วัน แล้ว เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกัน และกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ต้องการจะ ถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับ รู้และปฏิบัติตาม จะต้องมีสื่อกลางสำาหรับ การติดต่อ เพื่อ ให้ค อมพิวเตอ ร์รับ รู้ เรา เ รีย ก สื่อ ก ล า ง นี้ว่า ภ า ษ า ค อ ม พิว เ ต อ ร์ เ นื่ อ ง จ า ก ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ทำา ง า น ด้ ว ย สัญญาณทางไฟฟ้า ใช้แทนด้วยตัวเลข 0 แ ล ะ 1 ไ ด้ ผู้อ อ ก แ บ บ ค อ ม พิว เ ต อ ร์ใ ช้ ตัวเลข 0 และ 1 นี้เป็นรหัสแทนคำา สั่งใน การสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูล แ ล ะ คำา สั่ง โ ด ย ใ ช้ร ะ บ บ เ ล ข ฐ า น ส อ ง นี้ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียก เลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำา สั่ง และใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะ เข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่ง ยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำา ได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่ เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ ภาษา ใ น ลัก ษ ณ ะ ดัง ก ล่า ว นี้เ รีย ก ว่า ภ า ษ า คอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่ มากมาย บางภาษามีความเหมาะสมกับ
  • 14. ก า ร ใ ช้ สั่ ง ง า น ก า ร คำา น ว ณ ท า ง คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ บางภาษามี ความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการ จั ด ก า ร ข้ อ มู ล ใ น ก า ร ทำา ง า น ข อ ง คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะแปลภาษา ระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ดังนั้นจึงมีผู้ พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำาหรับแปล ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงให้เป็นภาษา เครื่อง โ ป ร แ ก ร ม ที่ใ ช้แ ป ล ภ า ษ า ค อ ม พิว เ ต อ ร์ ระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องเรียกว่า คอม ไพเลอร์ (compiler) หรืออินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) คอมไพเลอร์ จะทำา การแปลโปรแกรมที่ เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้ เ ป็ น ภ า ษ า เ ค รื่ อ ง ก่ อ น แ ล้ ว จึ ง ใ ห้ คอมพิวเตอร์ทำางานตามภาษาเครื่องนั้น ส่วนอินเทอร์พรีเตอร์ จะทำาการแปลทีละ คำา สั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำา ตามคำา สั่ง นั้น เมื่อทำา เสร็จแล้วจึงมาทำา การแปลคำา สั่งลำา ดับต่อไป ข้อแตกต่างระหว่างคอม ไพเลอร์กับอินเทอร์พรีเตอร์จึงอยู่ที่การ แปลทั้งโปรแกรมหรือแปลทีละคำา สั่ง ตัว แปลภาษาที่รู้จักกันดี เช่น ตัวแปลภาษา เบสิก ตัวแปลภาษาโคบอล
  • 15. ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์จึง เป็นส่วนสำา คัญที่ควบคุมการทำา งานของ คอมพิวเตอร์ให้ดำาเนินการตามแนวความ คิ ด ที่ ไ ด้ กำา ห น ด ไ ว้ ล่ ว ง ห น้ า แ ล้ ว ค อมพิวเตอ ร์ต้อ ง ทำา ง าน ตา มโป รแ กร ม เท่านั้น ไม่สามารถทำางานที่นอกเหนือจาก ที่กำาหนดไว้ในโปรแกรม ชนิดของซอฟต์แวร์ ใ น บ ร ร ด า ซ อ ฟ ต์แ ว ร์ห รือ โ ป ร แ ก ร ม คอมพิวเตอร์ที่มีผู้พัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานกับ คอมพิวเตอร์มีมากมาย ซอฟต์แวร์เหล่านี้ อ า จ ไ ด้รับ ก า ร พัฒ น า โ ด ย ผู้ใ ช้ง า น เ อ ง ห รือ ผู้พัฒน าร ะบ บ ห รือ ผู้ผ ลิตจำา ห น่า ย ห า ก แ บ่ง แ ย ก ช นิด ข อ ง ซ อ ฟ ต์แ ว ร์ต า ม สภาพการทำางาน พอแบ่งแยกซอฟต์แวร์ ได้เป็นสองประเภท คือ 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software)
  • 16. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)คือ อะไร ? เขียนโดย man@dmin วันเสาร์ที่ 02 พฤษภาคม 2009 เวลา 02:22 น. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบ ข้าง (Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได้ โดยจะ ประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ ควบคุมการประมวลผลข้อมูล การรับข้อมูล การ แสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่จับต้อง สัมผัส และสามารถ
  • 17. มองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม มีทั้งที่ติดตั้ง ภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) และ เชื่อม ต่อภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ เ ร า ส า ม า ร ถ แ บ่ ง ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ฮ า ร์ด แ ว ร์อ อ ก ไ ด้เ ป็น 5 ห น่ว ย ที่สำา คัญ ดังนี้ 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทำาหน้าที่ใน การรับโปรแกรม และข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้ในการรับข้อมูลเข้า ได้แก่ แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด (Keyboard) เครื่อง
  • 18. สแกนต่างๆ เช่น เครื่องรูดบัตร สแกนเนอร์ ฯลฯ 2. หน่วยความจำา (Memory Unit) ทำาหน้าที่ เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับ ข้อมูล เพื่อเตรียมส่งให้หน่วยประมวลผลกลาง ทำาการประมวลผล และรับผลลัพธ์ที่ได้จากการ ประมวลผล เพื่อเตรียมส่งออกหน่วยแสดงข้อมูล ต่อไป 3. ห น่ว ย ป ร ะ ม ว ล ผ ล ก ล า ง (CPU หรือ Central Processing Unit) ทำา หน้าที่ปฏิบัติ งานตามคำาสั่งที่ปรากฏอยู่ในโปรแกรม หน่วยนี้ จะประกอบด้วยหน่วยย่อยๆ อีก 2 หน่วย ได้แก่ หน่วยคำานวณเลขคณิตและตรรกวิทยา (ALU ห รื อ Arithmetic and Logical Unit) แ ล ะ หน่วยควบคุม (CU หรือ Control Unit) 4. ห น่ว ย เ ก็บ ข้อ มูล สำา ร อ ง (Secondary Storge) ทำา หน้าที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมที่จะป้อนเข้าสู่ หน่วยความจำาหลักภายในเครื่องก่อนทำาการ ประมวลผลโดย ซีพียู รวมทั้งเป็นแหล่งเก็บผล ลัพท์จากการประมวลผลด้วย เพื่อการใช้งานใน ภายหลัง
  • 19. 5. ห น่ว ย แ ส ด ง ข้อ มูล (Output Unit) ทำา หน้าที่แสดงผลลัพท์จากการประมวลผล เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น