SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง อินเตอร์เน็ต
เสนอ
อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ
จัดทาโดย
นางสาวธัญรดา พุ่มแก้ว เลขที่ 23
นางสาวกัลยา
อ่อนจุติ เลขที่ 24
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4
โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
คำนำ
รายงานฉบับนี้จดทาขึ้นเพือประกอบการเรี ยนการสอน ในรายวิชา คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษา
ั
่
ปี ที่ 4 โดยมีจุดประสงค์ เพือศึกษาความรู ้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต เป็ นการเรี ยนรู ้เพิ่มเติมจากการเรี ยนในชั้น
่
เรี ยน และเป็ นการฝึ กความสามัคคี
ผูจดทาหวังเป็ นอย่างยิงว่ารายงานฉบับนี้ จะเป็ นประโยชน์ต่อผูอ่านไม่มากก็น้อย หากผิดพลาด
้ั
้
่
ประการใด ก็ ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ดวย
้

จัดทาโดย
่
นางสาวธัญรดา พุมแก้ว
นางสาวกัลยา อ่อนจุติ
สำรบัญ
เรื่อง

หน้ ำ

อินเทอร์เน็ต

1

พัฒนาการของ Internet

2

บริ การต่าง ๆ บนอินเตอร์เน็ต
หลักกำรใช้ อินเทอร์ เน็ตอย่ ำงปลอดภัย
อ้างอิง

5
10
12
อินเทอร์ เน็ต
อินเทอร์เน็ต (Internet) มาจากคาว่า Inter Connection Network หมายถึง เครื อข่ายของเครื อข่าย
คอมพิว เตอร์ ระบบต่ า ง ๆ ที่เ ชื่ อ มโยงกัน ลัก ษณะของระบบอิ นเทอร์ เ น็ ต เป็ นเสมื อ นใยแมงมุ ม ที่
ครอบคลุมทัวโลก ในแต่ละจุดที่เชื่อ มต่ออิ นเทอร์ เน็ตนั้น สามารถสื่ อสารกันได้หลายเส้นทาง โดยไม่
่
กาหนดตายตัว และไม่จาเป็ นต้องไปตามเส้นทางโดยตรง อาจจะผ่านจุดอื่น ๆ หรื อ เลือกไปเส้นทางอื่น
ได้หลาย ๆ เส้นทาง ดังรู ป

อินเทอร์เน็ตในปั จจุบน ถูกพัฒนามาจากโครงการวิจยทางการทหารของกระทรวงกลาโหมของ
ั
ั
ประเทศ สหรัฐอเมริ กา คือ Advanced Research Projects Agency (ARPA) ในปี 1969 โครงการนี้ เป็ นการ
วิจยเครื อข่ายเพื่อการสื่ อสารของการทหารในกองทัพอเมริ กา หรื ออาจเรี ยกสั้นๆ ได้ว่า ARPA Net ในปี
ั
ค.ศ. 1970 ARPA Net ได้มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้นโดยการเชื่อมโยงเครื อข่ายร่ วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนา
ของอเมริ กา คือ มหาวิทยาลัยยูทาห์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ซานตาบาบารา มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์ เนี ย
ที่ล อสแองเจลิ ส และสถาบันวิจยของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ ด และหลังจากนั้นเป็ นต้นมาก็มี การใช้
ั
อินเทอร์เน็ตกันอย่างแพร่ หลายมากขึ้น
สาหรับในประเทศไทย อินเทอร์ เน็ตเริ่ มมีการใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2530 ที่มหาวิยาลัยสงขลา
นคริ นทร์ โดยได้รับความช่วยเหลือ จากโครงการ IDP (The International Development Plan) เพื่อให้
ั
มหาวิทยาลัยสามารถติต่อ สื่ อ สารทางอีเมล์กบมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นในออสเตรเลี ยได้ ได้มีการติดตั้ง
ระบบอี เมล์ข้ ึนครั้งแรก โดยผ่านระบบโทรศัพท์ ความเร็ วของโมเด็มที่ใช้ในขณะนั้นมีความเร็ ว 2,400
บิต/วินาที จนกระทังวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2531 ได้มีการส่ งอีเมล์ฉบับแรกที่ติดต่อระหว่างประเทศไทย
่
กับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์จึงเปรี ยบเสมือนประตูทางผ่าน (Gateway) ของ
ไทยที่เชื่อมต่อไปยังออสเตรเลียในขณะนั้น
ในปี พ.ศ. 2533 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ได้เชื่อมต่อ
คอมพิวเตอร์ ของสถาบัน การศึ ก ษาของรั ฐ โดยมี ชื่อ ว่า เครื อ ข่า ยไทยสาร (Thai Social/Scientific
Academic and Research Network : ThaiSARN) ประกอบด้วย มหาวิยาลัยสงขลานคริ นทร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแห่ งเอเชีย (AIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เพือให้บริ การอินเทอร์เน็ตภายในประเทศ เพือการศึกษาและวิจย
่
่
ั
ในปี พ.ศ. 2538 ได้มีการบริ การอินเทอร์เน็ ตเชิงพาณิ ชย์ข้ ึน เพื่อให้บริ การแก่ ประชาชน และ
ภาคเอกชนต่างๆ ที่ตองการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โดยมีบริ ษทอินเทอร์เน็ตไทยแลนด์ (Internet Thailand)
้
ั
เป็ นผูให้บ ริ การอิ นเทอร์ เน็ ต (Internet Service Provider: ISP) เป็ นบริ ษ ัท แรก เมื่ อ มี ค นนิ ย มใช้
้
อินเทอร์เน็ตเพิมมากขึ้น บริ ษทที่ให้บริ การอินเทอร์เน็ตจึงได้ก่อตั้งเพิมขึ้นอีกมากมาย
ั
่
่

พัฒนำกำรของ Internet

ปี พ.ศ. 2500 (1957) โซเวียดได้ปล่ อยดาวเทียม Sputnik ทาให้สหรัฐอเมริ กาได้ตระหนักถึ ง
ปั ญหาที่อาจจะเกิดขึ้น ดังนั้น ค..ศ. 2512 (1969) กองทัพสหรัฐต้องเผชิญหน้ากับความเสี่ ยงทางการทหาร
และความเป็ นไปได้ในการถูกโจมตี ด้วยอาวุธปรมาณู หรื อนิวเคลียร์ การถูกทาลายล้าง ศูนย์คอมพิวเตอร์
และระบบการสื่ อสารข้อมู ล อาจทาให้เกิ ดปั ญหาทางการรบ และในยุคนี้ ระบบคอมพิว เตอร์ ที่ มี
หลากหลายมากมายหลายแบบ ทาให้ไม่ สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร และโปรแกรมกันได้ จึงมี
แนวความคิด ในการวิจยระบบที่สามารถ เชื่อมโยงเครื่ องคอมพิวเตอร์ และแลกเปลี่ ยนข้อมูล ระหว่าง
ั
ระบบที่แตกต่างกันได้ ตลอดจนสามารถรับส่งข้อมูลระหว่างกัน ได้อย่างไม่ผิดพลาด แม้ว่าคอมพิวเตอร์
บางเครื่ อ ง หรื อ สายรั บส่ ง สัญ ญาณ เสี ย ดายหรื อ ถู กท าลาย กระทรวงกลาโหมอเมริ กัน (DoD =
Department of Defense) ได้ให้ทุนที่มีชื่อว่า DARPA (Defense Advanced Research Project Agency)
ภายใต้การควบคุมของ Dr. J.C.R. Licklider ได้ทาการทดลอง ระบบเครื อข่ายที่มีชื่อว่า DARPA Network
และต่อมาได้กลายสภาพเป็ น ARPANet (Advanced Research Projects Agency Network) และต่อได้มา
พัฒนาเป็ น INTERNET ในที่สุด
การเริ่ มต้นของเครื อข่ายนี้ เริ่ มในเดือน ธันวาคม 2512 (1969) จานวน 4 มหาวิทยาลัย ได้แก่
 มหาวิทยาลัยยูทาห์
 มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนี ยที่ซานตาบาบารา
 มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนี ยที่ลอสแองเจลิส
 สถาบันวิจยของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด
ั
และขยายต่อไปเรื่ อยๆ เป็ น 50 จุดในปี พ.ศ. 2515 จนเป็ นหลายล้านแห่ งทัวโลกทีเดียว งานหลัก
่
ของเครื อข่ายนี้ คือ การค้นคว้าและวิจยทางทหาร ซึ่ งอาศัยมาตรฐานการรับส่ งข้อมูลเดียวกัน ที่เรี ยกว่า
ั
Network Control Protocol (NCP) ทาหน้าที่ควบคุมการรับส่ งข้อมูล การตรวจสอบความผิดพลาดในการ
ส่งข้อมูล และตัวกลางที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องเข้าด้วยกัน และมาตรฐานนี้ก็มีจุดอ่อนในการขยาย
ระบบ จนต้องมีการพัฒนามาตรฐานใหม่
พ.ศ. 2525 ได้มีมาตรฐานใหม่อ อกมา คือ Transmission Control Protocol/Internet Protocol
(TCP/IP) อันเป็ นก้าวสาคัญของอินเทอร์เน็ต เนื่องจากมาตรฐานนี้ทาให้คอมพิวเตอร์ต่างชนิดกัน สามารถ
่
รับส่งข้อมูลไปมาระหว่างกันได้ เปรี ยบเสมือนเป็ นหัวใจของอินเทอร์เน็ตเลยก็วาได้

จากระบบปฏิ บ ัติ ก ารคอมพิว เตอร์ ที่ มี อ ยู่ใ นยุค นั้น ไม่ ส ามารถตอบสนองการสื่ อ สารได้
บริ ษทเบลล์ (Bell) ได้ให้ทุนการศึกษาแก่ ห้องทดลองที่มีชื่อเสี ยงที่สุดแห่ งหนึ่ ง ในสมัยต่อมา คือ Bell's
ั
Lab ให้ทดลองสร้าง ระบบปฏิบติการแห่ งอนาคต (ของคนในยุคนั้น) เดนนิ ส ริ สซี และ เคเน็ต ทอมสัน
ั
ได้ออกแบบ และพัฒนาระบบที่มีชื่อว่า UNIX ขึ้น และแพร่ หลายอย่างรวดเร็ ว พร้อมๆ กับการแพร่ หลาย
ของระบบ Internet เนื่ องจากความสามารถ ในการสื่ อสารของ UNIX และมีการนา TCP/IP มาเป็ นส่ วน
หนึ่งของระบบปฏิบติการนี้ดวย
ั
้
พ.ศ. 2529 มูลนิ ธิวิทยาลัยศาสตร์แห่ งชาติ สหรัฐอเมริ กา (National Science Foundation - NSF)
ได้วางระบบเครื อ ข่ายขึ้นมาอี กระบบหนึ่ ง เรี ยกว่า NSFNet ซึ่ งประกอบด้วยซุ ปเปอร์ คอมพิวเตอร์ 5
เครื่ องใน 5 รัฐ เชื่อมต่อเพือประโยชน์ทางการศึกษา และค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ และมีการใช้มาตรฐาน
่
TCP/IP เป็ นมาตรฐานหลักในการรับส่งข้อมูล ส่งผลให้การใช้งานเครื อข่ายเป็ นไปอย่างรวดเร็ว
หลังจากนั้นก็มีเครื อข่ายอื่นๆ เกิดขึ้นมาเช่น UUNET, UUCP, BitNet, CSNet เป็ นต้น และต่อมา
ได้เ ชื่ อ มต่อ กัน โดยมี NSFNet เป็ นเครื อ ข่ายหลัก ซึ่ ง เปรี ยบเสมื อ นกระดู กสันหลังของเครื อ ข่า ย
(Backbone)
ในปี พ.ศ. 2530 เครื อ ข่าย ARPANET ได้รวมกับ NSFNET และลดบทบาทตัวเองลงมา
เปลี่ยนไปใช้บทบาทของ NSFNet แทน และเลิกระบบ ARPANET ในปี พ.ศ. 2534
ในปั จจุบน Internet เป็ นการต่อโยงทางตรรกะ (Logic) ของระบบคอมพิวเตอร์นับล้าน ๆ เครื่ อง
ั
และโยงกับระบบ Wide Area Network (WAN) ต่างๆ เช่น MILNET, NSFNET, CSNET, BITNET หรื อ
แม้แต่ เครื อข่ายทางธุรกิจ เช่น IBMNET, Compuserve Net และอื่ น ๆ ภายใต้โปรโตคอล ที่มีชื่อว่า
TCP/IP โดยที่ขนาดของเครื อข่าย ครอบคลุม ไปทัวโลก รวมทั้งประเทศไทย และมีการขยายขอบเขต
่
ออกไป อย่างไม่หยุดยั้ง

ระบบ Internet เป็ นการนาเครื อข่ายขนาดใหญ่ที่สุดของโลก ที่มีการต่อ เสมือ นกับ ใยแมงมุ ม
หรื อ World Wide Web หรื อเรี ยกย่อๆ ว่า WWW (มีการบัญญัติศพท์ว่า เครื อข่ ำยใยพิภพ) ในระบบนี้ เรา
ั
สามารถเปรี ยบเทียบ Internet ได้ สองลักษณะคือ ลักษณะทางกายภาพ และทางตรรกะ ในทางกายภาพ
(Physical) นั้น Internet เป็ นเครื อข่ายที่รับอิทธิพลจาก เครื อข่ายโทรศัพท์โดยตรง ในสหรัฐอเมริ กา บริ ษท
ั
ที่เป็ นผูให้บริ การ Internet ก็เป็ นบริ ษทที่ทาธุรกิจ ทางโทรศัพท์ เช่น MCI, AT&T, BELL เป็ นต้น และอีก
้
ั
ลักษณะหนึ่ ง ที่เป็ นความเด่นของระบบ คือลักษณะทางตรรกะ หรื อ LOGICAL CONNECTION ที่เป็ น
เสมือนใยแมงมุม ครอบคลุมโลกไว้
บริกำรต่ ำง ๆ บนอินเตอร์ เน็ต
บริ ก ารบนอิ น เทอร์ เ น็ ตมี ห ลายประเภท เพื่อ อ านวยความสะดวกให้กับผูใ ช้ไ ด้เลื อ กใช้ใ ห้
้
เหมาะสมกับลักษณะงาน ซึ่งในที่น้ ีจะยกตัวอย่างบริ การบนอินเทอร์เน็ตที่สาคัญดังนี้
1.บริ การด้านการสื่อสาร
1.1 ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิ กส์( electronic mail)หรื อเรี ยกกันโดยทัวไปว่าอีเมล์ (E-mail)
์
่
่
ถือได้วาเป็ นกิจกรรมประจาวันของผูใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่ งการส่ งและรับจดหมาย หรื อข้อความถึง
้
่
กันได้ทวโลกนี้จาเป็ นจะต้องมีที่อยูอีเมล์ (e-mail address หรื อ e-mail account) เพื่อใช้เป็ นกล่อง
ั่
่
รับจดหมาย ที่อยูของอีเมล์จะประกอบ ด้วยส่วนประกอบสาคัญ 2 ส่ วน คือ ชื่อผูใช้ (User name)
้
และชื่อโดเมน(Domain name) ซึ่งเป็ นชื่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่มีรายชื่อของผูใช้อีเมล์ โดยชื่อผูใช้
้
้
และชื่อโดเมนจะคันด้วยเครื่ องหมาย @(อ่านว่า แอ็ท) เช่น Sriprai@sukhothai.siamu.ac.th จะมี
่
ผูใช้อีเมล์ชื่อ Sriprai ที่มีอยู่อีเมล์ ที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ ชื่อ sukhothai ของมหาวิทยาลัยสยาม
้
(siamu) ซึ่งเป็ นสถาบันการศึกษา (ac) ในประเทศไทย (th)

ในการรับ-ส่งจดหมาย โดยผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น ได้มีการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้
่
สาหรับอีเมล์อยูหลายโปรแกรม เช่น โปรแกรม Microsoft Outlook Express โปรแกรม Netscape
่
Mail เป็ นต้น นอกจากนี้ ผูใช้ยงสามารถลงทะเบียนเพื่อขอรับที่อยูอีเมล์ไ ด้ฟรี จาก เว็บไซต์ที่
้ ั
่
ให้บริ การที่อยูอีเมล์ฟรี เว็บไซต์ที่เป็ นที่รู้จกและนิยม
ั
โดยทัวไปแล้ว ส่ วนประกอบหลัก ๆ ของอีเมล์จะประกอบด้วยส่ วนหัว (header) และ
่
ส่วนข้อความ (message)
1.2 รายชื่อกลุ่มสนทนา (mailing lists) เป็ นกลุ่มสนทนาประเภทหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่มี
ั
่
การติดต่อสื่ อสารและการส่ ง ข่าวสารให้กบสมาชิกตามรายชื่อและที่อยูของสมาชิกที่มีอยู่ ใน
รายการซึ่งในปั จจุบนมีกลุ่ม mailing lists ที่แตกต่างกันตามความสนใจจานวนมาก การเข้าไปมี
ั
ส่วนร่ วมในกลุ่มสนทนาประเภทนี้
ผูใช้จะต้อง สมัครสมาชิกก่อนด้วยการแจ้งความประสงค์และส่ งชื่อและที่อยูเ่ พื่อการลง
้
ทะ เบียบไปยัง subscription address ของ mailing lists ตัวอย่าง mailing list เช่น ทัวร์ออนไลน์
(tourbus@listserv.aol.com)
1.3 กระดานข่าว (usenet) เป็ นการรวบรวมของกลุ่มข่าวหรื อ newsgroup ซึ่ งเป็ นกลุ่ม
ผูสนใจที่ตองการจะติดต่อและแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกับผูใช้อินเทอร์เน็ตคนอื่น ๆ กลุ่มของ
้
้
้
newsgroup ในปั จจุบนมีมากกว่า 10,000 กลุ่มที่มีความสนใจในหัวข้อที่แตกต่างกัน เช่น กลุ่ม
ั
ผูสนใจศิลปะ กลุ่มคอมพิวเตอร์ กลุ่มผูชื่นชอบภาพยนต์ เป็ นต้น
้
้

การส่ งและรับแหล่งข่าวจาก usenet จะใช้โปรแกรมสาหรับอ่านข่าวเพื่อไปดึงชื่อของ
กลุ่มข่าวหรื อหัวข้อจากเครื่ อง คอมพิวเตอร์ ที่ผใช้เข้าไปขอใช้บริ การ
ู้
เช่นเดียวกับระบบชื่อโดเมน (DNS) กลุ่มข่าวจะมีการตั้งชื่อเพือใช้เป็ นแบบมาตรฐาน ซึ่ ง
่
ชื่อกลุ่มจะประกอบด้วยส่ วนประกอบหลัก ๆ คือ ชื่อหัวข้อกลุ่มข่าวหลัก (major topic) ชื่อกลุ่ม
ข่าวย่อย (subtopic) และประเภทของกลุ่มข่าวย่อย (division of subtopic) ตัวอย่างเช่น
1.4 การสนทนาออนไลน์( On-line chat)เป็ นบริ การหนึ่ งบนอินเทอร์เน็ตที่ช่วยให้ผูใช้
้
สามารถคุ ยโต้ตอบกับผูใช้คน อื่ น ๆ ได้ในเวลาเดี ยวกัน (real-time) การสนทนาหรื อ chat
้
(Internet Relay Chat หรื อ IRC)ได้มีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่ อง ปั จจุบนการสนทนาระหว่าง
ั
บุคคลหรื อ กลุ่มบุคคลสามารถใช้
ภาพกราฟิ ก ภาพการ์ ตูนหรื อภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ แทนตัวผูสนทนาได้ นอกจากการ
้
สนทนาแล้ว ผูใช้ยงสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและไฟล์ได้อีกด้วย
้ ั
การใช้งาน IRC ผูใช้จะต้องติดต่อไปยังเครื่ องที่เป็ นไออาร์ซีเซิ ร์ฟเวอร์ (IRC server) ที่มี
้
การแบ่งห้องสนทนาเป็ นกลุ่ม ๆ ที่เรี ยกว่า แชนแนล (channel) โดยผูใช้จะต้องมีโปรแกรมเพื่อใช้
้
สาหรับการสนทนา (ซึ่ งสามารถดาวน์โหลดฟรี จากอิ นเทอร์ เน็ ต) เมื่ อ ผูใช้ติดต่อ กับเครื่ อ ง
้
เซิร์ฟเวอร์ได้แล้ว ก็จะเลือกกลุ่มสนทนาหรื อหัวข้อสนทนาที่สนใจ และเริ่ มสนทนาได้ตามความ
ั
ต้องการ ตัวอย่าง โปรแกรมสนทนาออนไลน์ที่นิยมใช้กน ในปั จจุบน เช่น ICQ(I Seek You)
ั
และ mIRC

การสนทนาผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในปั จจุบนผูใช้สามารถ
ั ้
ใช้สื่อประสม (multimedia) ประกอบด้วย เสี ยงพูด และภาพเคลื่อนไหว โดยใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ
เช่น ไมโครโฟน ลาโพง กล้องวีดีโอ และอื่น ๆ เพื่ออานวยความสะดวกและเพื่อประสิ ทธิภาพ
ของการสนทนา ให้ดียงขึ้น ในส่ วนของโปรแกรม ได้มีการพัฒนาโปรแกรมเพื่อการสนทนา
ิ่
ออนไลน์ที่มีคุณภาพ เช่น โปรแกรม Microsoft NetMeeting ที่สามารถสนทนากันไปพร้อม ๆ
กับมองเห็นภาพของคู่สนทนาได้ดวย
้
1.5 เทลเน็ต (telnet)เป็ นบริ การที่ให้ผใช้สามารถใช้บริ การเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ต้ งอยู่
ู้
ั
ระยะไกล โดยจะใช้การจาลองเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่กาลังใช้งานอยู่ ให้เป็ นจอภาพ ของเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ระยะไกลเครื่ องนั้น การทางานในลักษณะนี้ จะช่วยประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย
ในกรณี ที่ตองเดินทางไปใช้งาน เครื่ องคอมพิวเตอร์ระยะไกล
้
การใช้งานเทลเน็ตจะเป็ นการแสดงข้อความตัวอักษร (text mode) โดยปกติการเข้าไปใช้
บริ การเครื่ องคอมพิวเตอร์ ระยะไกล จาเป็ นต้องมีรายชื่อผูใช้และรหัสผ่าน แต่ก็มีบางหน่วยงานที่
้
อนุญาติให้เข้าใช้บริ การโดยไม่ตองระบุรหัสผ่านเพือ เป็ นการให้บริ การข้อมูลแก่ลูกค้าทัว ๆ ไป
้
่
่
2.บริ การด้านข้อมูลต่าง ๆ
2.1 การขนถ่ายไฟล์(file transfer protocol)หรื อที่เรี ยกสั้น ๆว่า เอฟทีพี (FTP) เป็ นบริ การ
ที่ใช้สาหรับการแลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ทาง อินเตอร์เน็ต เครื่ องคอมพิวเตอร์
ที่ให้บริ การไฟล์จะเรี ยกว่า เอฟทีพเี ซิร์ฟเวอร์ (FTP sever หรื อ FTP site)
ข้อมู ลที่ให้บริ การขนถ่ ายไฟล์จะมีลกษณะหลายรู ปแบบ ได้แก่ ข้อมูลสถิ ติ งานวิจย
ั
ั
บทความ เพลง ข่าวสารทัวไป หรื อโปรแกรมฟรี แวร์ (freeware) ที่สามารถดาวน์โหลดและใช้
่
โปรแกรมฟรี
ในบางครั้งเครื่ อ งคอมพิวเตอร์ที่ให้บริ การขนถ่ายไฟล์จะให้บริ การ เฉพาะบุคคลที่มี
่
้
บัญชีรายชื่ออยูในเครื่ องคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่กฒีเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริ การขนถ่ายไฟล์
่
จานวนมากอนุญาตให้ผใช้ ทัวไปได้เข้าไปใช้บริ การ ถึงแม้วาในบางครั้งจะไม่อนุญาต ให้ขนถ่าย
ู้ ่
ไฟล์ท้งหมดก็ตาม
ั

2.2 โกเฟอร์ (gopher)เป็ นโปรแกรมประยุกต์ที่ให้บริ การข้อมูลในลักษณะของการค้นหา
จาก เมนู(menu-based search) จากเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริ การข้อมูล โปรแกรมโกเฟอร์พฒนา
ั
โดยมหาวิทยาลัย Minnesota ในปี ค.ศ. 1991 เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริ การฐานข้อมูลจะเป็ น
่
ลักษณะของเมนูลาดับชั้น (hierarchy) เพือเชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลอื่น ๆ ที่กระจายกันอยูหลาย
่
แหล่งได้
2.3 อาร์ ซี (archie) เป็ นการเข้าใช้บ ริ การค้นหาข้อ มู ล จากเครื่ อ งแม่ ข่ายที่เป็ นอาร์ ซี
เซิร์ฟเวอร์ (archie sever ) ซึ่งเป็ นแหล่งที่ช่วยให้ผูใช้คนหาสถานที่ของข้อมูล จากนั้นก็จะไปค้น
้ ้
ข้อมูลโดยตรงจากสถานที่น้ นต่อไป
ั
2.4 WAIS (Wide Area Information Severs)เป็ นบริ การค้นหาข้อมูลจากศูนย์ขอมูลที่อยู่
้
บนอินเทอร์เน็ตที่ได้รวบรวม ข้อมูลและดรรชนี สาหรับสื บค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ เพื่อ
อานวยความสะดวกให้แก่ผใช้เพือสามารถเข้าไปยังข้อมูลที่ตองการและ สามารถเชื่อมโยงไปยัง
ู้ ่
้
ศูนย์ขอมูล WAIS อื่นๆ ได้ดวย
้
้
2.5 veronica ย่อ มาจาก very easy rodent-oriented net-wide index to computerized
archives เป็ นบริ การที่รวบรวมข้อมูลเพื่อช่วยอานวย ความสะดวกในการค้นหาสิ่ งที่ตองการได้
้
อย่างรวดเร็ว
2.6 การค้นหาข้อ มูลโดยใช้เว็บเบราเซอร์ อินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่ายใยแมงมุมที่มี การ
่ ั่
เชื่อมโยงแหล่งข้อมูลที่ กระจัดกระจายอยูทวโลก การค้นหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ถ้าผูใช้ไ ม่
้
่
ทราบที่อยูของเว็บไซต์ ก็สามารถค้นหาแหล่งข้อมูลโดยใช้บริ การค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้กล่าว
มาแล้ว

ปั จจุบนการค้นหาข้อมูลที่ตองการเป็ นเรื่ อง ที่กระทาได้สะดวกและรวดเร็ ว การพัฒนา
ั
้
เว็บไซต์ที่ช่วยสืบค้นแหล่งข้อมูลที่เรี ยกว่า เครื่ องค้นหา (search engine) ช่วยให้การค้นหาทั้งใน
รู ปของ ข้อความและกราฟิ กกระทาได้โดยง่าย
หลักกำรใช้ อนเทอร์ เน็ตอย่ ำงปลอดภัย
ิ
ในปั จจุบนมีผใช้บริ การ บนระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ได้เพิ่มมากขึ้นเรื่ อยๆทัวโลก เพราะเป็ น
ั ู้
่
ช่องทางที่สามารถติดต่อสื่ อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างรวดเร็ ว รวมถึงธุรกิจและพาณิ ชย์ในด้าน
ต่างๆ ช่วยในเรื่ องการลดระยะเวลาและต้นทุนในการติดต่อสื่อสาร แต่อย่างไรก็ตามผูใช้โดยทัวไป ยังไม่
้
่
เห็นความสาคัญ ของการใช้งานอินเทอร์เน็ตที่ปลอดภัยเท่าที่ควร เนื่ องจากยังขาดความรู ้ในการใช้งาน
และวิธีป้องกัน หรื ออาจคิดว่าคงไม่มีปัญหาอะไรมาก ในการใช้งาน แต่เมื่อเกิดปั ญหาขึ้นกับตัวเองแล้ว ก็
ทาให้ตนเองเดือดร้อน เราสามารถป้ องกันปั ญหาเหล่านี้ได้ ดังนี้
1 ไม่ควรเปิ ดเผยข้อมูลส่วนตัว
2 ไม่ส่งหลักฐานส่ วนตัวของตนเองและคนในครอบครัวให้ผูอื่ น เช่น สาเนาบัตรประชาชน
้
เอกสารต่างๆ รวมถึงรหัสบัตรต่างๆ เช่น เอทีเอ็ม บัตรเครดิต ฯลฯ
3 ไม่ควรโอนเงินให้ใครอย่างเด็ดขาด นอกจากจะเป็ นญาติสนิทที่เชื่อใจได้จริ งๆ
4 ไม่ ออกไปพบเพื่อนที่รู้จกทางอินเทอร์เน็ต เว้นเสี ยแต่ว่าได้รับอนุ ญาตจากพ่อแม่ผูปกครอง
ั
้
และควรมีผใหญ่หรื อเพือนไปด้วยหลายๆ คน เพือป้ องกันการลักพาตัว หรื อการกระทามิดีมิร้ายต่างๆ
ู้
่
่
5 ระมัดระวังการซื้อสินค้าทางอินเทอร์เน็ต รวมถึงคาโฆษณาชวนเชื่ออื่นๆ เด็กต้องปรึ กษาพ่อแม่
ผูปกครอง โดยต้องใช้วจารณญาณ พิจารณาความน่าเชื่อถือของผูขาย
้
ิ
้
6 สอนให้เด็ กบอกพ่อ แม่ ผูป กครองหรื อ คุ ณครู ถ้า ถู ก กลั่นแกล้ง ทางอิ นเทอร์ เ น็ ต (Internet
้
Bullying)
7 ไม่ เ ผลอบั น ทึ ก ยู ส เซอร์ เ นมและพาสเวิ ร์ ด ขณะใช้ เ ครื่ องคอมพิ ว เตอร์ ส าธารณะ
อย่า บันทึก!ชื่อผูใช้และพาสเวิร์ดของคุณบนเครื่ องคอมพิวเตอร์น้ ี” อย่างเด็ดขาด เพราะผูที่มาใช้เครื่ องต่อ
้
้
จากคุณ สามารถล็อคอินเข้าไป จากชื่อของคุณที่ถูกบันทึกไว้ แล้วสวมรอยเป็ นคุณ หรื อแม้แต่โอนเงินใน
บัญชีของคุณจ่ายค่าสินค้าและบริ การต่างๆ ที่เขาต้องการ ผลก็คือคุณอาจหมดตัวและล้มละลายได้
8 ไม่ควรบันทึกภาพวิดีโอ หรื อเสี ยงที่ไมเหมาะสมบนคอมพิวเตอร์ หรื อบนมือถือเพราะ ภาพ
เสี ยง หรื อวีดีโอนั้นๆ รั่วไหลได้ เช่นจากการแคร็ ก ข้อมู ล หรื อถูกดาวน์โหลดผ่านโปรแกรม เพียร์ ทู
่
เพียร์ (P2P) และถึงแม้วาคุณจะลบไฟล์น้ นออกไปจากเครื่ องแล้ว ส่ วนใดส่ วนหนึ่ งของไฟล์ยงตกค้างอยู่
ั
ั
้
แล้วอาจถูกกูกลับขึ้นมาได้ โดยช่างคอม ช่างมือถือ
9 จัดการกับ Junk Mail จังค์ เมล์ หรื อ อีเมล์ขยะปกติ การใช้อีเมล์จะมีกล่องจดหมายส่วนตัว หรื อ
Inbox กับ กล่องจดหมายขยะ Junk mail box หรื อ Bulk Mail เพือแยกแยะประเภทของอีเมล์ เราจึงต้องทา
่
ความเข้าใจ และเรี ยนรู ้ที่จะคัดกรองจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ดวยตัวเอง เพือกันไม่ให้มาปะปนกับจดหมาย
้
่
ดีๆ ซึ่ งเราอาจเผลอไปเปิ ดอ่ าน แล้วถู กสปายแวร์ แอดแวร์ เกาะติดอยู่บนเครื่ อ ง หรื อ แม้แต่ถู กไวรัส
คอมพิวเตอร์เล่นงาน
10 จัดการกับแอดแวร์ สปายแวร์ที่ลกลอบเข้ามาสอดส่ องพฤติกรรมการใช้เน็ตของคุณ ด้วยการ
ั
ซื้อโปรแกรมหรื อไปดาวน์โหลดฟรี โปรแกรมมาดักจับและขจัดเจ้าแอดแวร์ สปายแวร์ออกไปจากเครื่ อง
ของคุณ ซึ่งสามารถดาวน์โหลดโปรแกรมฟรี ได้ที่
แต่ แค่มีโปรแกรมไว้ในเครื่ องยังไม่พอ คุณต้องหมันอัพเดทโปรแกรมออนไลน์และสแกนเครื่ อง
่
ของคุณบ่อยๆด้วย เพือให้เครื่ องของคุณปลอดสปาย ข้อมูลของคุณก็ปลอดภัย
่
* โปรแกรมล้าง แอดแวร์ และ สปายแวร์ จะใช้โปรแกรมตัวเดียวกัน ซึ่ งบางครั้งเขาอาจตั้งชื่อ
โดยใช้แค่เพียงว่า โปรแกรมล้าง แอดแวร์ แต่อนที่จริ ง มันลบทิ้งทั้ง แอดแวร์ และสปายแวร์พร้อมๆ กัน
ั
เพราะเจ้าสองตัวนี้ มันคล้ายๆ กัน
11 จัดการกับไวรัสคอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องจาเป็ นต้องมีโปรแกรมสแกนดักจับและฆ่าไวรัส ซึ่ งอัน
นี้ควรจะดาเนินการทันทีเมื่อซื้อเครื่ องคอม เนื่ องจากไวรัสพัฒนาเร็ วมาก มีไวรัสพันธุ์ใหม่เกิดขึ้นทุกวัน
แม้จะติดตั้งโปรแกรมฆ่าไวรัสไว้แล้ว ถ้าไม่ทาการอัพเดทโปรแกรมทางอินเทอร์เน็ต เวลาที่มีไวรัสตัว
ใหม่ๆ แอบเข้ามากับอินเทอร์เน็ต เครื่ องคุณก็อาจจะโดนทาลายได้
12 ใช้ Adult Content Filter ในโปรแกรม P2Pสาหรับ ผูชื่นชอบการดาวน์โหลดผ่านโปรแกรม
้
แชร์ ข ้อมู ล P2P ให้ระวังข้อ มู ลสาคัญ ไฟล์ภาพ วีดี โอส่ ว นตัว หรื อ อะไรที่ไ ม่ ตอ งการจะเปิ ดเผยสู่
้
สาธารณะชน ควรบันทึกลงซีดี ดีวดี หรื อเทปไว้ อย่าเก็บไว้บนเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพราะคุณอาจถูกเจาะ
ี
เอาข้อมูลเหล่านี้ไปได้
13 กรองเว็บไม่เหมาะสมด้วย Content Advisor ในอินเทอร์เน็ต เอ็กซ์พลอเรอใน โปรแกรมเว็บ
บราวเซอร์ อย่าง อินเทอร์เน็ต เอ็กซ์พลอเรอ ก็มีการตั้งค่า คอนเทนท์ แอดไวเซอร์ หรื อฟั งก์ชน การกรอง
ั่
เนื้อหาที่ไม่เหมาะสมสาหรับเด็ก ซึ่งจะทาให้เด็กไม่สามารถเปิ ดเข้าไปในเว็บไซท์ที่มีภาพและเนื้ อหา โป๊
เปลือย ภาษาหยาบคาย รุ นแรงได้ และยังมีการตั้งพาสเวิร์ด หรื อรหัส สาหรับผูปกครอง เพื่อกันเด็กเข้าไป
้
แก้ไขการตั้งค่าของคุณ ซึ่ งคุณสามารถเข้าไปปลดล็อกได้ทุกเมื่อ ถ้าคุณจาเป็ นต้องเข้าเว็บไซท์บางเว็บ
ไซท์
อ้ำงอิง
ศูนย์บริ การการศึกษานอกโรงเรี ยนอาเภอพระยืน. 2554. ความรู้เบืองต้ นเกี่ยวกับอิ นเตอร์ เน็ต.
้
[ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://202.143.137.109/araya/int.html. 23 ธันวาคม 2556.
จริ ยา กรณี ย ์ . 2552. การใช้ งานอิ นเตอร์ เน็ตอย่างปลอดภัย. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา :
http://www.learners.in.th/blogs/posts/330030. 23 ธันวาคม 2556.

More Related Content

What's hot

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มSutin Yotyavilai
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตปิยะดนัย วิเคียน
 
อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1SupachaiPenjan
 
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ตความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ตsombut
 
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ตคุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ตohhomm
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อุไรพร ศรีชนะ
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อุไรพร ศรีชนะ
 
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตpatchu0625
 
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ตHaprem HAprem
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 

What's hot (16)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1
 
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ตความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ตคุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
 
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
 
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 

Similar to อินเตอร์เน็ต

อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1mod2may
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1Siriporn Roddam
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตdlled
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 

Similar to อินเตอร์เน็ต (20)

อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Ch02
Ch02Ch02
Ch02
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
ศุภชัย
ศุภชัยศุภชัย
ศุภชัย
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม1
งานคอม1งานคอม1
งานคอม1
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 

อินเตอร์เน็ต

  • 1. รายงาน เรื่อง อินเตอร์เน็ต เสนอ อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ จัดทาโดย นางสาวธัญรดา พุ่มแก้ว เลขที่ 23 นางสาวกัลยา อ่อนจุติ เลขที่ 24 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
  • 2. คำนำ รายงานฉบับนี้จดทาขึ้นเพือประกอบการเรี ยนการสอน ในรายวิชา คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษา ั ่ ปี ที่ 4 โดยมีจุดประสงค์ เพือศึกษาความรู ้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต เป็ นการเรี ยนรู ้เพิ่มเติมจากการเรี ยนในชั้น ่ เรี ยน และเป็ นการฝึ กความสามัคคี ผูจดทาหวังเป็ นอย่างยิงว่ารายงานฉบับนี้ จะเป็ นประโยชน์ต่อผูอ่านไม่มากก็น้อย หากผิดพลาด ้ั ้ ่ ประการใด ก็ ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ดวย ้ จัดทาโดย ่ นางสาวธัญรดา พุมแก้ว นางสาวกัลยา อ่อนจุติ
  • 3. สำรบัญ เรื่อง หน้ ำ อินเทอร์เน็ต 1 พัฒนาการของ Internet 2 บริ การต่าง ๆ บนอินเตอร์เน็ต หลักกำรใช้ อินเทอร์ เน็ตอย่ ำงปลอดภัย อ้างอิง 5 10 12
  • 4. อินเทอร์ เน็ต อินเทอร์เน็ต (Internet) มาจากคาว่า Inter Connection Network หมายถึง เครื อข่ายของเครื อข่าย คอมพิว เตอร์ ระบบต่ า ง ๆ ที่เ ชื่ อ มโยงกัน ลัก ษณะของระบบอิ นเทอร์ เ น็ ต เป็ นเสมื อ นใยแมงมุ ม ที่ ครอบคลุมทัวโลก ในแต่ละจุดที่เชื่อ มต่ออิ นเทอร์ เน็ตนั้น สามารถสื่ อสารกันได้หลายเส้นทาง โดยไม่ ่ กาหนดตายตัว และไม่จาเป็ นต้องไปตามเส้นทางโดยตรง อาจจะผ่านจุดอื่น ๆ หรื อ เลือกไปเส้นทางอื่น ได้หลาย ๆ เส้นทาง ดังรู ป อินเทอร์เน็ตในปั จจุบน ถูกพัฒนามาจากโครงการวิจยทางการทหารของกระทรวงกลาโหมของ ั ั ประเทศ สหรัฐอเมริ กา คือ Advanced Research Projects Agency (ARPA) ในปี 1969 โครงการนี้ เป็ นการ วิจยเครื อข่ายเพื่อการสื่ อสารของการทหารในกองทัพอเมริ กา หรื ออาจเรี ยกสั้นๆ ได้ว่า ARPA Net ในปี ั ค.ศ. 1970 ARPA Net ได้มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้นโดยการเชื่อมโยงเครื อข่ายร่ วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนา ของอเมริ กา คือ มหาวิทยาลัยยูทาห์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ซานตาบาบารา มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์ เนี ย ที่ล อสแองเจลิ ส และสถาบันวิจยของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ ด และหลังจากนั้นเป็ นต้นมาก็มี การใช้ ั อินเทอร์เน็ตกันอย่างแพร่ หลายมากขึ้น สาหรับในประเทศไทย อินเทอร์ เน็ตเริ่ มมีการใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2530 ที่มหาวิยาลัยสงขลา นคริ นทร์ โดยได้รับความช่วยเหลือ จากโครงการ IDP (The International Development Plan) เพื่อให้ ั มหาวิทยาลัยสามารถติต่อ สื่ อ สารทางอีเมล์กบมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นในออสเตรเลี ยได้ ได้มีการติดตั้ง ระบบอี เมล์ข้ ึนครั้งแรก โดยผ่านระบบโทรศัพท์ ความเร็ วของโมเด็มที่ใช้ในขณะนั้นมีความเร็ ว 2,400 บิต/วินาที จนกระทังวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2531 ได้มีการส่ งอีเมล์ฉบับแรกที่ติดต่อระหว่างประเทศไทย ่ กับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์จึงเปรี ยบเสมือนประตูทางผ่าน (Gateway) ของ ไทยที่เชื่อมต่อไปยังออสเตรเลียในขณะนั้น ในปี พ.ศ. 2533 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ได้เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ ของสถาบัน การศึ ก ษาของรั ฐ โดยมี ชื่อ ว่า เครื อ ข่า ยไทยสาร (Thai Social/Scientific Academic and Research Network : ThaiSARN) ประกอบด้วย มหาวิยาลัยสงขลานคริ นทร์ จุฬาลงกรณ์
  • 5. มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแห่ งเอเชีย (AIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพือให้บริ การอินเทอร์เน็ตภายในประเทศ เพือการศึกษาและวิจย ่ ่ ั ในปี พ.ศ. 2538 ได้มีการบริ การอินเทอร์เน็ ตเชิงพาณิ ชย์ข้ ึน เพื่อให้บริ การแก่ ประชาชน และ ภาคเอกชนต่างๆ ที่ตองการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โดยมีบริ ษทอินเทอร์เน็ตไทยแลนด์ (Internet Thailand) ้ ั เป็ นผูให้บ ริ การอิ นเทอร์ เน็ ต (Internet Service Provider: ISP) เป็ นบริ ษ ัท แรก เมื่ อ มี ค นนิ ย มใช้ ้ อินเทอร์เน็ตเพิมมากขึ้น บริ ษทที่ให้บริ การอินเทอร์เน็ตจึงได้ก่อตั้งเพิมขึ้นอีกมากมาย ั ่ ่ พัฒนำกำรของ Internet ปี พ.ศ. 2500 (1957) โซเวียดได้ปล่ อยดาวเทียม Sputnik ทาให้สหรัฐอเมริ กาได้ตระหนักถึ ง ปั ญหาที่อาจจะเกิดขึ้น ดังนั้น ค..ศ. 2512 (1969) กองทัพสหรัฐต้องเผชิญหน้ากับความเสี่ ยงทางการทหาร และความเป็ นไปได้ในการถูกโจมตี ด้วยอาวุธปรมาณู หรื อนิวเคลียร์ การถูกทาลายล้าง ศูนย์คอมพิวเตอร์ และระบบการสื่ อสารข้อมู ล อาจทาให้เกิ ดปั ญหาทางการรบ และในยุคนี้ ระบบคอมพิว เตอร์ ที่ มี หลากหลายมากมายหลายแบบ ทาให้ไม่ สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร และโปรแกรมกันได้ จึงมี แนวความคิด ในการวิจยระบบที่สามารถ เชื่อมโยงเครื่ องคอมพิวเตอร์ และแลกเปลี่ ยนข้อมูล ระหว่าง ั ระบบที่แตกต่างกันได้ ตลอดจนสามารถรับส่งข้อมูลระหว่างกัน ได้อย่างไม่ผิดพลาด แม้ว่าคอมพิวเตอร์ บางเครื่ อ ง หรื อ สายรั บส่ ง สัญ ญาณ เสี ย ดายหรื อ ถู กท าลาย กระทรวงกลาโหมอเมริ กัน (DoD = Department of Defense) ได้ให้ทุนที่มีชื่อว่า DARPA (Defense Advanced Research Project Agency) ภายใต้การควบคุมของ Dr. J.C.R. Licklider ได้ทาการทดลอง ระบบเครื อข่ายที่มีชื่อว่า DARPA Network และต่อมาได้กลายสภาพเป็ น ARPANet (Advanced Research Projects Agency Network) และต่อได้มา พัฒนาเป็ น INTERNET ในที่สุด การเริ่ มต้นของเครื อข่ายนี้ เริ่ มในเดือน ธันวาคม 2512 (1969) จานวน 4 มหาวิทยาลัย ได้แก่  มหาวิทยาลัยยูทาห์  มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนี ยที่ซานตาบาบารา  มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนี ยที่ลอสแองเจลิส  สถาบันวิจยของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ั และขยายต่อไปเรื่ อยๆ เป็ น 50 จุดในปี พ.ศ. 2515 จนเป็ นหลายล้านแห่ งทัวโลกทีเดียว งานหลัก ่ ของเครื อข่ายนี้ คือ การค้นคว้าและวิจยทางทหาร ซึ่ งอาศัยมาตรฐานการรับส่ งข้อมูลเดียวกัน ที่เรี ยกว่า ั
  • 6. Network Control Protocol (NCP) ทาหน้าที่ควบคุมการรับส่ งข้อมูล การตรวจสอบความผิดพลาดในการ ส่งข้อมูล และตัวกลางที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องเข้าด้วยกัน และมาตรฐานนี้ก็มีจุดอ่อนในการขยาย ระบบ จนต้องมีการพัฒนามาตรฐานใหม่ พ.ศ. 2525 ได้มีมาตรฐานใหม่อ อกมา คือ Transmission Control Protocol/Internet Protocol (TCP/IP) อันเป็ นก้าวสาคัญของอินเทอร์เน็ต เนื่องจากมาตรฐานนี้ทาให้คอมพิวเตอร์ต่างชนิดกัน สามารถ ่ รับส่งข้อมูลไปมาระหว่างกันได้ เปรี ยบเสมือนเป็ นหัวใจของอินเทอร์เน็ตเลยก็วาได้ จากระบบปฏิ บ ัติ ก ารคอมพิว เตอร์ ที่ มี อ ยู่ใ นยุค นั้น ไม่ ส ามารถตอบสนองการสื่ อ สารได้ บริ ษทเบลล์ (Bell) ได้ให้ทุนการศึกษาแก่ ห้องทดลองที่มีชื่อเสี ยงที่สุดแห่ งหนึ่ ง ในสมัยต่อมา คือ Bell's ั Lab ให้ทดลองสร้าง ระบบปฏิบติการแห่ งอนาคต (ของคนในยุคนั้น) เดนนิ ส ริ สซี และ เคเน็ต ทอมสัน ั ได้ออกแบบ และพัฒนาระบบที่มีชื่อว่า UNIX ขึ้น และแพร่ หลายอย่างรวดเร็ ว พร้อมๆ กับการแพร่ หลาย ของระบบ Internet เนื่ องจากความสามารถ ในการสื่ อสารของ UNIX และมีการนา TCP/IP มาเป็ นส่ วน หนึ่งของระบบปฏิบติการนี้ดวย ั ้ พ.ศ. 2529 มูลนิ ธิวิทยาลัยศาสตร์แห่ งชาติ สหรัฐอเมริ กา (National Science Foundation - NSF) ได้วางระบบเครื อ ข่ายขึ้นมาอี กระบบหนึ่ ง เรี ยกว่า NSFNet ซึ่ งประกอบด้วยซุ ปเปอร์ คอมพิวเตอร์ 5 เครื่ องใน 5 รัฐ เชื่อมต่อเพือประโยชน์ทางการศึกษา และค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ และมีการใช้มาตรฐาน ่ TCP/IP เป็ นมาตรฐานหลักในการรับส่งข้อมูล ส่งผลให้การใช้งานเครื อข่ายเป็ นไปอย่างรวดเร็ว หลังจากนั้นก็มีเครื อข่ายอื่นๆ เกิดขึ้นมาเช่น UUNET, UUCP, BitNet, CSNet เป็ นต้น และต่อมา ได้เ ชื่ อ มต่อ กัน โดยมี NSFNet เป็ นเครื อ ข่ายหลัก ซึ่ ง เปรี ยบเสมื อ นกระดู กสันหลังของเครื อ ข่า ย (Backbone) ในปี พ.ศ. 2530 เครื อ ข่าย ARPANET ได้รวมกับ NSFNET และลดบทบาทตัวเองลงมา เปลี่ยนไปใช้บทบาทของ NSFNet แทน และเลิกระบบ ARPANET ในปี พ.ศ. 2534
  • 7. ในปั จจุบน Internet เป็ นการต่อโยงทางตรรกะ (Logic) ของระบบคอมพิวเตอร์นับล้าน ๆ เครื่ อง ั และโยงกับระบบ Wide Area Network (WAN) ต่างๆ เช่น MILNET, NSFNET, CSNET, BITNET หรื อ แม้แต่ เครื อข่ายทางธุรกิจ เช่น IBMNET, Compuserve Net และอื่ น ๆ ภายใต้โปรโตคอล ที่มีชื่อว่า TCP/IP โดยที่ขนาดของเครื อข่าย ครอบคลุม ไปทัวโลก รวมทั้งประเทศไทย และมีการขยายขอบเขต ่ ออกไป อย่างไม่หยุดยั้ง ระบบ Internet เป็ นการนาเครื อข่ายขนาดใหญ่ที่สุดของโลก ที่มีการต่อ เสมือ นกับ ใยแมงมุ ม หรื อ World Wide Web หรื อเรี ยกย่อๆ ว่า WWW (มีการบัญญัติศพท์ว่า เครื อข่ ำยใยพิภพ) ในระบบนี้ เรา ั สามารถเปรี ยบเทียบ Internet ได้ สองลักษณะคือ ลักษณะทางกายภาพ และทางตรรกะ ในทางกายภาพ (Physical) นั้น Internet เป็ นเครื อข่ายที่รับอิทธิพลจาก เครื อข่ายโทรศัพท์โดยตรง ในสหรัฐอเมริ กา บริ ษท ั ที่เป็ นผูให้บริ การ Internet ก็เป็ นบริ ษทที่ทาธุรกิจ ทางโทรศัพท์ เช่น MCI, AT&T, BELL เป็ นต้น และอีก ้ ั ลักษณะหนึ่ ง ที่เป็ นความเด่นของระบบ คือลักษณะทางตรรกะ หรื อ LOGICAL CONNECTION ที่เป็ น เสมือนใยแมงมุม ครอบคลุมโลกไว้
  • 8. บริกำรต่ ำง ๆ บนอินเตอร์ เน็ต บริ ก ารบนอิ น เทอร์ เ น็ ตมี ห ลายประเภท เพื่อ อ านวยความสะดวกให้กับผูใ ช้ไ ด้เลื อ กใช้ใ ห้ ้ เหมาะสมกับลักษณะงาน ซึ่งในที่น้ ีจะยกตัวอย่างบริ การบนอินเทอร์เน็ตที่สาคัญดังนี้ 1.บริ การด้านการสื่อสาร 1.1 ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิ กส์( electronic mail)หรื อเรี ยกกันโดยทัวไปว่าอีเมล์ (E-mail) ์ ่ ่ ถือได้วาเป็ นกิจกรรมประจาวันของผูใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่ งการส่ งและรับจดหมาย หรื อข้อความถึง ้ ่ กันได้ทวโลกนี้จาเป็ นจะต้องมีที่อยูอีเมล์ (e-mail address หรื อ e-mail account) เพื่อใช้เป็ นกล่อง ั่ ่ รับจดหมาย ที่อยูของอีเมล์จะประกอบ ด้วยส่วนประกอบสาคัญ 2 ส่ วน คือ ชื่อผูใช้ (User name) ้ และชื่อโดเมน(Domain name) ซึ่งเป็ นชื่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่มีรายชื่อของผูใช้อีเมล์ โดยชื่อผูใช้ ้ ้ และชื่อโดเมนจะคันด้วยเครื่ องหมาย @(อ่านว่า แอ็ท) เช่น Sriprai@sukhothai.siamu.ac.th จะมี ่ ผูใช้อีเมล์ชื่อ Sriprai ที่มีอยู่อีเมล์ ที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ ชื่อ sukhothai ของมหาวิทยาลัยสยาม ้ (siamu) ซึ่งเป็ นสถาบันการศึกษา (ac) ในประเทศไทย (th) ในการรับ-ส่งจดหมาย โดยผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น ได้มีการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้ ่ สาหรับอีเมล์อยูหลายโปรแกรม เช่น โปรแกรม Microsoft Outlook Express โปรแกรม Netscape ่ Mail เป็ นต้น นอกจากนี้ ผูใช้ยงสามารถลงทะเบียนเพื่อขอรับที่อยูอีเมล์ไ ด้ฟรี จาก เว็บไซต์ที่ ้ ั ่ ให้บริ การที่อยูอีเมล์ฟรี เว็บไซต์ที่เป็ นที่รู้จกและนิยม ั โดยทัวไปแล้ว ส่ วนประกอบหลัก ๆ ของอีเมล์จะประกอบด้วยส่ วนหัว (header) และ ่ ส่วนข้อความ (message) 1.2 รายชื่อกลุ่มสนทนา (mailing lists) เป็ นกลุ่มสนทนาประเภทหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่มี ั ่ การติดต่อสื่ อสารและการส่ ง ข่าวสารให้กบสมาชิกตามรายชื่อและที่อยูของสมาชิกที่มีอยู่ ใน รายการซึ่งในปั จจุบนมีกลุ่ม mailing lists ที่แตกต่างกันตามความสนใจจานวนมาก การเข้าไปมี ั ส่วนร่ วมในกลุ่มสนทนาประเภทนี้
  • 9. ผูใช้จะต้อง สมัครสมาชิกก่อนด้วยการแจ้งความประสงค์และส่ งชื่อและที่อยูเ่ พื่อการลง ้ ทะ เบียบไปยัง subscription address ของ mailing lists ตัวอย่าง mailing list เช่น ทัวร์ออนไลน์ (tourbus@listserv.aol.com) 1.3 กระดานข่าว (usenet) เป็ นการรวบรวมของกลุ่มข่าวหรื อ newsgroup ซึ่ งเป็ นกลุ่ม ผูสนใจที่ตองการจะติดต่อและแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกับผูใช้อินเทอร์เน็ตคนอื่น ๆ กลุ่มของ ้ ้ ้ newsgroup ในปั จจุบนมีมากกว่า 10,000 กลุ่มที่มีความสนใจในหัวข้อที่แตกต่างกัน เช่น กลุ่ม ั ผูสนใจศิลปะ กลุ่มคอมพิวเตอร์ กลุ่มผูชื่นชอบภาพยนต์ เป็ นต้น ้ ้ การส่ งและรับแหล่งข่าวจาก usenet จะใช้โปรแกรมสาหรับอ่านข่าวเพื่อไปดึงชื่อของ กลุ่มข่าวหรื อหัวข้อจากเครื่ อง คอมพิวเตอร์ ที่ผใช้เข้าไปขอใช้บริ การ ู้ เช่นเดียวกับระบบชื่อโดเมน (DNS) กลุ่มข่าวจะมีการตั้งชื่อเพือใช้เป็ นแบบมาตรฐาน ซึ่ ง ่ ชื่อกลุ่มจะประกอบด้วยส่ วนประกอบหลัก ๆ คือ ชื่อหัวข้อกลุ่มข่าวหลัก (major topic) ชื่อกลุ่ม ข่าวย่อย (subtopic) และประเภทของกลุ่มข่าวย่อย (division of subtopic) ตัวอย่างเช่น 1.4 การสนทนาออนไลน์( On-line chat)เป็ นบริ การหนึ่ งบนอินเทอร์เน็ตที่ช่วยให้ผูใช้ ้ สามารถคุ ยโต้ตอบกับผูใช้คน อื่ น ๆ ได้ในเวลาเดี ยวกัน (real-time) การสนทนาหรื อ chat ้ (Internet Relay Chat หรื อ IRC)ได้มีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่ อง ปั จจุบนการสนทนาระหว่าง ั บุคคลหรื อ กลุ่มบุคคลสามารถใช้ ภาพกราฟิ ก ภาพการ์ ตูนหรื อภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ แทนตัวผูสนทนาได้ นอกจากการ ้ สนทนาแล้ว ผูใช้ยงสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและไฟล์ได้อีกด้วย ้ ั
  • 10. การใช้งาน IRC ผูใช้จะต้องติดต่อไปยังเครื่ องที่เป็ นไออาร์ซีเซิ ร์ฟเวอร์ (IRC server) ที่มี ้ การแบ่งห้องสนทนาเป็ นกลุ่ม ๆ ที่เรี ยกว่า แชนแนล (channel) โดยผูใช้จะต้องมีโปรแกรมเพื่อใช้ ้ สาหรับการสนทนา (ซึ่ งสามารถดาวน์โหลดฟรี จากอิ นเทอร์ เน็ ต) เมื่ อ ผูใช้ติดต่อ กับเครื่ อ ง ้ เซิร์ฟเวอร์ได้แล้ว ก็จะเลือกกลุ่มสนทนาหรื อหัวข้อสนทนาที่สนใจ และเริ่ มสนทนาได้ตามความ ั ต้องการ ตัวอย่าง โปรแกรมสนทนาออนไลน์ที่นิยมใช้กน ในปั จจุบน เช่น ICQ(I Seek You) ั และ mIRC การสนทนาผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในปั จจุบนผูใช้สามารถ ั ้ ใช้สื่อประสม (multimedia) ประกอบด้วย เสี ยงพูด และภาพเคลื่อนไหว โดยใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ไมโครโฟน ลาโพง กล้องวีดีโอ และอื่น ๆ เพื่ออานวยความสะดวกและเพื่อประสิ ทธิภาพ ของการสนทนา ให้ดียงขึ้น ในส่ วนของโปรแกรม ได้มีการพัฒนาโปรแกรมเพื่อการสนทนา ิ่ ออนไลน์ที่มีคุณภาพ เช่น โปรแกรม Microsoft NetMeeting ที่สามารถสนทนากันไปพร้อม ๆ กับมองเห็นภาพของคู่สนทนาได้ดวย ้ 1.5 เทลเน็ต (telnet)เป็ นบริ การที่ให้ผใช้สามารถใช้บริ การเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ต้ งอยู่ ู้ ั ระยะไกล โดยจะใช้การจาลองเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่กาลังใช้งานอยู่ ให้เป็ นจอภาพ ของเครื่ อง คอมพิวเตอร์ระยะไกลเครื่ องนั้น การทางานในลักษณะนี้ จะช่วยประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย ในกรณี ที่ตองเดินทางไปใช้งาน เครื่ องคอมพิวเตอร์ระยะไกล ้
  • 11. การใช้งานเทลเน็ตจะเป็ นการแสดงข้อความตัวอักษร (text mode) โดยปกติการเข้าไปใช้ บริ การเครื่ องคอมพิวเตอร์ ระยะไกล จาเป็ นต้องมีรายชื่อผูใช้และรหัสผ่าน แต่ก็มีบางหน่วยงานที่ ้ อนุญาติให้เข้าใช้บริ การโดยไม่ตองระบุรหัสผ่านเพือ เป็ นการให้บริ การข้อมูลแก่ลูกค้าทัว ๆ ไป ้ ่ ่ 2.บริ การด้านข้อมูลต่าง ๆ 2.1 การขนถ่ายไฟล์(file transfer protocol)หรื อที่เรี ยกสั้น ๆว่า เอฟทีพี (FTP) เป็ นบริ การ ที่ใช้สาหรับการแลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ทาง อินเตอร์เน็ต เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ให้บริ การไฟล์จะเรี ยกว่า เอฟทีพเี ซิร์ฟเวอร์ (FTP sever หรื อ FTP site) ข้อมู ลที่ให้บริ การขนถ่ ายไฟล์จะมีลกษณะหลายรู ปแบบ ได้แก่ ข้อมูลสถิ ติ งานวิจย ั ั บทความ เพลง ข่าวสารทัวไป หรื อโปรแกรมฟรี แวร์ (freeware) ที่สามารถดาวน์โหลดและใช้ ่ โปรแกรมฟรี ในบางครั้งเครื่ อ งคอมพิวเตอร์ที่ให้บริ การขนถ่ายไฟล์จะให้บริ การ เฉพาะบุคคลที่มี ่ ้ บัญชีรายชื่ออยูในเครื่ องคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่กฒีเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริ การขนถ่ายไฟล์ ่ จานวนมากอนุญาตให้ผใช้ ทัวไปได้เข้าไปใช้บริ การ ถึงแม้วาในบางครั้งจะไม่อนุญาต ให้ขนถ่าย ู้ ่ ไฟล์ท้งหมดก็ตาม ั 2.2 โกเฟอร์ (gopher)เป็ นโปรแกรมประยุกต์ที่ให้บริ การข้อมูลในลักษณะของการค้นหา จาก เมนู(menu-based search) จากเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริ การข้อมูล โปรแกรมโกเฟอร์พฒนา ั โดยมหาวิทยาลัย Minnesota ในปี ค.ศ. 1991 เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริ การฐานข้อมูลจะเป็ น ่ ลักษณะของเมนูลาดับชั้น (hierarchy) เพือเชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลอื่น ๆ ที่กระจายกันอยูหลาย ่ แหล่งได้ 2.3 อาร์ ซี (archie) เป็ นการเข้าใช้บ ริ การค้นหาข้อ มู ล จากเครื่ อ งแม่ ข่ายที่เป็ นอาร์ ซี เซิร์ฟเวอร์ (archie sever ) ซึ่งเป็ นแหล่งที่ช่วยให้ผูใช้คนหาสถานที่ของข้อมูล จากนั้นก็จะไปค้น ้ ้ ข้อมูลโดยตรงจากสถานที่น้ นต่อไป ั
  • 12. 2.4 WAIS (Wide Area Information Severs)เป็ นบริ การค้นหาข้อมูลจากศูนย์ขอมูลที่อยู่ ้ บนอินเทอร์เน็ตที่ได้รวบรวม ข้อมูลและดรรชนี สาหรับสื บค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ เพื่อ อานวยความสะดวกให้แก่ผใช้เพือสามารถเข้าไปยังข้อมูลที่ตองการและ สามารถเชื่อมโยงไปยัง ู้ ่ ้ ศูนย์ขอมูล WAIS อื่นๆ ได้ดวย ้ ้ 2.5 veronica ย่อ มาจาก very easy rodent-oriented net-wide index to computerized archives เป็ นบริ การที่รวบรวมข้อมูลเพื่อช่วยอานวย ความสะดวกในการค้นหาสิ่ งที่ตองการได้ ้ อย่างรวดเร็ว 2.6 การค้นหาข้อ มูลโดยใช้เว็บเบราเซอร์ อินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่ายใยแมงมุมที่มี การ ่ ั่ เชื่อมโยงแหล่งข้อมูลที่ กระจัดกระจายอยูทวโลก การค้นหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ถ้าผูใช้ไ ม่ ้ ่ ทราบที่อยูของเว็บไซต์ ก็สามารถค้นหาแหล่งข้อมูลโดยใช้บริ การค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้กล่าว มาแล้ว ปั จจุบนการค้นหาข้อมูลที่ตองการเป็ นเรื่ อง ที่กระทาได้สะดวกและรวดเร็ ว การพัฒนา ั ้ เว็บไซต์ที่ช่วยสืบค้นแหล่งข้อมูลที่เรี ยกว่า เครื่ องค้นหา (search engine) ช่วยให้การค้นหาทั้งใน รู ปของ ข้อความและกราฟิ กกระทาได้โดยง่าย
  • 13. หลักกำรใช้ อนเทอร์ เน็ตอย่ ำงปลอดภัย ิ ในปั จจุบนมีผใช้บริ การ บนระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ได้เพิ่มมากขึ้นเรื่ อยๆทัวโลก เพราะเป็ น ั ู้ ่ ช่องทางที่สามารถติดต่อสื่ อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างรวดเร็ ว รวมถึงธุรกิจและพาณิ ชย์ในด้าน ต่างๆ ช่วยในเรื่ องการลดระยะเวลาและต้นทุนในการติดต่อสื่อสาร แต่อย่างไรก็ตามผูใช้โดยทัวไป ยังไม่ ้ ่ เห็นความสาคัญ ของการใช้งานอินเทอร์เน็ตที่ปลอดภัยเท่าที่ควร เนื่ องจากยังขาดความรู ้ในการใช้งาน และวิธีป้องกัน หรื ออาจคิดว่าคงไม่มีปัญหาอะไรมาก ในการใช้งาน แต่เมื่อเกิดปั ญหาขึ้นกับตัวเองแล้ว ก็ ทาให้ตนเองเดือดร้อน เราสามารถป้ องกันปั ญหาเหล่านี้ได้ ดังนี้ 1 ไม่ควรเปิ ดเผยข้อมูลส่วนตัว 2 ไม่ส่งหลักฐานส่ วนตัวของตนเองและคนในครอบครัวให้ผูอื่ น เช่น สาเนาบัตรประชาชน ้ เอกสารต่างๆ รวมถึงรหัสบัตรต่างๆ เช่น เอทีเอ็ม บัตรเครดิต ฯลฯ 3 ไม่ควรโอนเงินให้ใครอย่างเด็ดขาด นอกจากจะเป็ นญาติสนิทที่เชื่อใจได้จริ งๆ 4 ไม่ ออกไปพบเพื่อนที่รู้จกทางอินเทอร์เน็ต เว้นเสี ยแต่ว่าได้รับอนุ ญาตจากพ่อแม่ผูปกครอง ั ้ และควรมีผใหญ่หรื อเพือนไปด้วยหลายๆ คน เพือป้ องกันการลักพาตัว หรื อการกระทามิดีมิร้ายต่างๆ ู้ ่ ่ 5 ระมัดระวังการซื้อสินค้าทางอินเทอร์เน็ต รวมถึงคาโฆษณาชวนเชื่ออื่นๆ เด็กต้องปรึ กษาพ่อแม่ ผูปกครอง โดยต้องใช้วจารณญาณ พิจารณาความน่าเชื่อถือของผูขาย ้ ิ ้ 6 สอนให้เด็ กบอกพ่อ แม่ ผูป กครองหรื อ คุ ณครู ถ้า ถู ก กลั่นแกล้ง ทางอิ นเทอร์ เ น็ ต (Internet ้ Bullying) 7 ไม่ เ ผลอบั น ทึ ก ยู ส เซอร์ เ นมและพาสเวิ ร์ ด ขณะใช้ เ ครื่ องคอมพิ ว เตอร์ ส าธารณะ อย่า บันทึก!ชื่อผูใช้และพาสเวิร์ดของคุณบนเครื่ องคอมพิวเตอร์น้ ี” อย่างเด็ดขาด เพราะผูที่มาใช้เครื่ องต่อ ้ ้ จากคุณ สามารถล็อคอินเข้าไป จากชื่อของคุณที่ถูกบันทึกไว้ แล้วสวมรอยเป็ นคุณ หรื อแม้แต่โอนเงินใน บัญชีของคุณจ่ายค่าสินค้าและบริ การต่างๆ ที่เขาต้องการ ผลก็คือคุณอาจหมดตัวและล้มละลายได้ 8 ไม่ควรบันทึกภาพวิดีโอ หรื อเสี ยงที่ไมเหมาะสมบนคอมพิวเตอร์ หรื อบนมือถือเพราะ ภาพ เสี ยง หรื อวีดีโอนั้นๆ รั่วไหลได้ เช่นจากการแคร็ ก ข้อมู ล หรื อถูกดาวน์โหลดผ่านโปรแกรม เพียร์ ทู ่ เพียร์ (P2P) และถึงแม้วาคุณจะลบไฟล์น้ นออกไปจากเครื่ องแล้ว ส่ วนใดส่ วนหนึ่ งของไฟล์ยงตกค้างอยู่ ั ั ้ แล้วอาจถูกกูกลับขึ้นมาได้ โดยช่างคอม ช่างมือถือ 9 จัดการกับ Junk Mail จังค์ เมล์ หรื อ อีเมล์ขยะปกติ การใช้อีเมล์จะมีกล่องจดหมายส่วนตัว หรื อ Inbox กับ กล่องจดหมายขยะ Junk mail box หรื อ Bulk Mail เพือแยกแยะประเภทของอีเมล์ เราจึงต้องทา ่ ความเข้าใจ และเรี ยนรู ้ที่จะคัดกรองจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ดวยตัวเอง เพือกันไม่ให้มาปะปนกับจดหมาย ้ ่ ดีๆ ซึ่ งเราอาจเผลอไปเปิ ดอ่ าน แล้วถู กสปายแวร์ แอดแวร์ เกาะติดอยู่บนเครื่ อ ง หรื อ แม้แต่ถู กไวรัส คอมพิวเตอร์เล่นงาน
  • 14. 10 จัดการกับแอดแวร์ สปายแวร์ที่ลกลอบเข้ามาสอดส่ องพฤติกรรมการใช้เน็ตของคุณ ด้วยการ ั ซื้อโปรแกรมหรื อไปดาวน์โหลดฟรี โปรแกรมมาดักจับและขจัดเจ้าแอดแวร์ สปายแวร์ออกไปจากเครื่ อง ของคุณ ซึ่งสามารถดาวน์โหลดโปรแกรมฟรี ได้ที่ แต่ แค่มีโปรแกรมไว้ในเครื่ องยังไม่พอ คุณต้องหมันอัพเดทโปรแกรมออนไลน์และสแกนเครื่ อง ่ ของคุณบ่อยๆด้วย เพือให้เครื่ องของคุณปลอดสปาย ข้อมูลของคุณก็ปลอดภัย ่ * โปรแกรมล้าง แอดแวร์ และ สปายแวร์ จะใช้โปรแกรมตัวเดียวกัน ซึ่ งบางครั้งเขาอาจตั้งชื่อ โดยใช้แค่เพียงว่า โปรแกรมล้าง แอดแวร์ แต่อนที่จริ ง มันลบทิ้งทั้ง แอดแวร์ และสปายแวร์พร้อมๆ กัน ั เพราะเจ้าสองตัวนี้ มันคล้ายๆ กัน 11 จัดการกับไวรัสคอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องจาเป็ นต้องมีโปรแกรมสแกนดักจับและฆ่าไวรัส ซึ่ งอัน นี้ควรจะดาเนินการทันทีเมื่อซื้อเครื่ องคอม เนื่ องจากไวรัสพัฒนาเร็ วมาก มีไวรัสพันธุ์ใหม่เกิดขึ้นทุกวัน แม้จะติดตั้งโปรแกรมฆ่าไวรัสไว้แล้ว ถ้าไม่ทาการอัพเดทโปรแกรมทางอินเทอร์เน็ต เวลาที่มีไวรัสตัว ใหม่ๆ แอบเข้ามากับอินเทอร์เน็ต เครื่ องคุณก็อาจจะโดนทาลายได้ 12 ใช้ Adult Content Filter ในโปรแกรม P2Pสาหรับ ผูชื่นชอบการดาวน์โหลดผ่านโปรแกรม ้ แชร์ ข ้อมู ล P2P ให้ระวังข้อ มู ลสาคัญ ไฟล์ภาพ วีดี โอส่ ว นตัว หรื อ อะไรที่ไ ม่ ตอ งการจะเปิ ดเผยสู่ ้ สาธารณะชน ควรบันทึกลงซีดี ดีวดี หรื อเทปไว้ อย่าเก็บไว้บนเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพราะคุณอาจถูกเจาะ ี เอาข้อมูลเหล่านี้ไปได้ 13 กรองเว็บไม่เหมาะสมด้วย Content Advisor ในอินเทอร์เน็ต เอ็กซ์พลอเรอใน โปรแกรมเว็บ บราวเซอร์ อย่าง อินเทอร์เน็ต เอ็กซ์พลอเรอ ก็มีการตั้งค่า คอนเทนท์ แอดไวเซอร์ หรื อฟั งก์ชน การกรอง ั่ เนื้อหาที่ไม่เหมาะสมสาหรับเด็ก ซึ่งจะทาให้เด็กไม่สามารถเปิ ดเข้าไปในเว็บไซท์ที่มีภาพและเนื้ อหา โป๊ เปลือย ภาษาหยาบคาย รุ นแรงได้ และยังมีการตั้งพาสเวิร์ด หรื อรหัส สาหรับผูปกครอง เพื่อกันเด็กเข้าไป ้ แก้ไขการตั้งค่าของคุณ ซึ่ งคุณสามารถเข้าไปปลดล็อกได้ทุกเมื่อ ถ้าคุณจาเป็ นต้องเข้าเว็บไซท์บางเว็บ ไซท์
  • 15. อ้ำงอิง ศูนย์บริ การการศึกษานอกโรงเรี ยนอาเภอพระยืน. 2554. ความรู้เบืองต้ นเกี่ยวกับอิ นเตอร์ เน็ต. ้ [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://202.143.137.109/araya/int.html. 23 ธันวาคม 2556. จริ ยา กรณี ย ์ . 2552. การใช้ งานอิ นเตอร์ เน็ตอย่างปลอดภัย. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.learners.in.th/blogs/posts/330030. 23 ธันวาคม 2556.