SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
โรงพยาบาลเอกชนจะไปทางไหน?
โดย...คณะกรรมการสมาคมโรงพยาบาลเอกชนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2555

โรงพยาบาลเอกชนเกิดขึ้นมาเพราะความจำ�เป็นที่โรงพยาบาลของรัฐ
ไม่สามารถให้บริการรักษาพยาบาลได้อย่างเพียงพอ
จากเดิมที่โรงพยาบาลเอกชนจะมีขนาดเล็ก แพทย์เป็นเจ้าของคนเดียว
บริหารแบบครอบครัว แพทย์และบุคลากรด้านสุขภาพทำ�งานนอกเวลา
ให้บริการรักษาพยาบาลเพียงบางอย่างบางเวลา ไม่มีระบบควบคุมคุณภาพ
ปัจจุบันโรงพยาบาลเอกชนได้มีการพัฒนาจนกลายเป็นกิจการขนาดใหญ่
เจ้าของเป็นมหาชน บริหารแบบมืออาขีพ แพทย์และบุคลากรด้านสุขภาพ
ทำ�งานเต็มเวลา สามารถให้บริการรักษาพยาบาลโรคเฉพาะทางตลอด 24 ชั่วโมง
มีการฝึกอบรมและผลิตบุคลากร มีการวิจัยทางคลินิก
และได้รับมาตรฐานนานาชาติ
ปัจจุบันมีโรงพยาบาลเอกชน 321 แห่ง มีเตียงให้บริการรวม 32,828 เตียง โดยมีการจ้างงาน
ประมาณ 200,000 คน ก่อให้เกิดรายได้ในอุตสาหกรรมประมาณ 150,000 ล้านบาทต่อปี   ให้
บริการผู้ใช้บริการประมาณ 55 ล้านครั้ง/ปี   มีชาวต่างชาติที่ตั้งใจมารักษา 1.5 ล้านครั้งจาก
200 ประเทศทั่วโลก มีสัดส่วนของทรัพยากรหรือการให้บริการประมาณ 25-30%ของประเทศ
โรงพยาบาลเอกชนเป็นทางเลือกอันดับต้นๆ ของผู้จ่ายค่ารักษาพยาบาลด้วยตนเอง ผู้มีประกัน
สุขภาพเอกชน หรือ ผู้ประกันตนของกองทุนประกันสังคม  โรงพยาบาลเอกชนเป็นผู้มีส่วนสำ�คัญ
ในระบบบริการสาธารณสุข  ยิ่งในระยะ 10 ปีหลัง  ผลงานและชื่อเสียงกระจายไปทั่วโลกจนมีชาว
ต่างชาติมาใช้บริการ โรงพยาบาลเอกชนจึงกลายเป็นผู้มีบทบาทสำ�คัญต่อระบบบริการสุขภาพ
และการพัฒนาของประเทศที่ไม่ต้องใช้เงินรัฐจากภาษีอาการ

โรงพยาบาลเอกชนต่อเศรษฐกิจประเทศ
1.	 ให้การรักษาที่มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพ

โรงพยาบาลเอกชนจะเน้นบริการรักษาพยาบาลที่สะดวกรวดเร็วและมีคุณภาพ ปัจจุบันมี
โรงพยาบาลเอกชนได้ รับมาตรฐานประเทศไทย HA (Hospital Acoredited) จำ�นวนมาก
และ มาตรฐานนานาชาติ JCI Acoredited Organizations  กว่า 20 แห่ง  ในขณะที่ยังไม่มีโรง
พยาบาลของรัฐได้รับมาตรฐานนานาชาติ JCI เลย บริการที่สะดวกรวดเร็วและมีคุณภาพของ
โรงพยาบาลเอกชนสามารถดึงดูดผู้ป่วยใช้บริการปีละประมาณ 55 ล้านครั้ง ทั้งๆมีผู้ป่วยมีทาง
เลือกที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายถ้าเลือกไปใช้จากโรงพยาบาลของรัฐ รวมทั้งกรณีกองทุนประกัน
สังคมก็ปรากฏว่า ผู้ประกันตนก็เลือกโรงพยาบาลเอกชนเป็นโรงพยาบาลต้นสังกัดมากกว่าโรง
พยาบาลของรัฐ ทั้งๆที่โรงพยาบาลเอกชนมีจำ�นวนน้อยกว่าภาครัฐ

24 :

หนังสือครบรอบ 33 ปี สมาคมโรงพยาบาลเอกชน
2. รายได้และมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ
โรงพยาบาลเอกชนมีรายได้รวม 80,654.7 ล้านบาท (การ
สำ�รวจของสำ�นักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2549) สามารถ
สร้างมูลค่าเพิ่ม 28,296.7 ล้านบาท หรือคิดเป็น 35% ซึ่ง
นับว่าสูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์
ปั จ จุ บั น คาดว่ า โรงพยาบาลเอกชนมี ร ายได้ ป ระมาณ
150,000 ล้านบาทต่อปี  
3. เกิดการจ้างงานและรายได้สู่ครัวเรือน
โรงพยาบาลเอกชนมีการจ้างงาน 141,699 คน (การสำ�รวจ
ของสำ�นักสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2549) เป็นพนักงานเต็มเวลา
107,509 คน (75.9%) เป็นบุคลากรด้านสุขภาพ 74.4 %
เป็นบุคลากรอื่น 25.6% จ่ายค่าจ้างบุคลากร 22,690.5
ล้านบาท นอกจากนี้เป็นแหล่งรายได้เพิ่มแก่บุคลากรด้าน
สุ ข ภาพของรั ฐ ที่ ใช้ เวลานอกราชการมาทำ � งานประมาณ
40,000 คน ปัจจุบันคาดว่าโรงพยาบาลเอกชนมีการจ้างงาน
จำ�นวนประมาณกว่า 200,000 คนขึ้นไป
4.	 ส่งเสริมอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
โรงพยาบาลเอกชนมีรายจ่าย
(ไม่รวมค่าจ้างพนักงาน)
39,730 ล้านบาท (การสำ�รวจของสำ�นักงานสถิติแห่งชาติ
พ.ศ. 2549) เป็นค่ายา/ เวชภัณฑ์ 19,122 ล้านบาท ค่าอาหาร
1,141 ล้านบาท ซึ่งเป็นการสร้างรายได้ให้แก่อุตสาหกรรม
เกี่ยวข้องอื่นๆ
5.	 การลงทุนภาคเอกชนช่วยลดภาระการลงทุนของรัฐ
โรงพยาบาลเอกชนมีค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวร 6,648.5
ล้านบาท (การสำ�รวจของสำ�นักงานสถิตแห่งชาติ พ.ศ. 2549)
ิ
ค่าเสื่อมราคานี้ สะท้อนรายจ่ายเงินลงทุนของเอกชนที่จ่าย
ไปแต่ละปี ถ้าจะให้บริการประชาชนได้จำ�นวนเท่าเดิมโดย
ไม่มีเงินก้อนนี้จากการลงทุนเอกชน
จะต้องใช้เงินลงทุน
จากรัฐมาทดแทน จึงเท่ากับเป็นการช่วยลดภาระการลงทุน
ของรัฐปีละ 6,648.8 ล้าน   ถ้า 10 ปีก็จะเป็นเงินมากกว่า
66,488 ล้านบาท
6.	 ช่วยสนับสนุนโครงการ/ นโยบายสุขภาพของรัฐบาล
รัฐบาลมีโครงการนโยบายรักษาพยาบาลต่างๆ ซึ่งได้รับการ
สนับสนุนเข้าร่วมโครงการจากโรงพยาบาลเอกชนเป็นอย่าง
ดีเยี่ยม

แนวคิดด้านเศรษฐกิจต่อโรงพยาบาลเอกชน

แนวคิดด้านเศรษฐกิจที่สำ�คัญมี 2 อย่าง ดังนี้
1. 	แนวคิดสังคมนิยม / รัฐสวัสดิการ
แนวคิดนี้มองรัฐเป็นผู้รวมศูนย์กลางการจัดการการผลิต
โดยทำ�ให้เศรษฐกิจภาครัฐมีขนาดใหญ่โต ต้องการให้ภาครัฐ
ทำ�กิจการต่างๆทั้งหมด ควบคุมหรือกดบทบาทภาคเอกชน
ให้มากที่สุด ไม่ไว้วางใจ มุ่งหวังจำ�กัดการดำ�เนินงานภาค
เอกชน
	 แนวคิดนี้มองว่าโรงพยาบาลเอกชนเป็นธุรกิจที่ไม่พึงจะมี
	 เพราะ เป็นการหารายได้จากสุขภาพ รัฐควรควบคุม
	 เสมือนเป็นธุรกิจทำ�ลายสุขภาพ เช่นเดียวกันกับ 		
	 อุตสาหกรรมบุหรี่ สุรา โดยไม่ควร ส่งเสริมการลงทุน 	
	 หรือให้เรียกเก็บภาษีเพิ่มในอัตราก้าวหน้าหรือลงโทษ
2.	 แนวคิดเสรีนิยม
	 	 แนวคิดนี้รัฐกระจายอำ�นาจทางเศรษฐกิจให้ภาคเอกชน
เป็นผู้จัดการผลิต การผลิตของภาครัฐให้มีน้อยที่สุด ถ้ามีก็
เพื่อแทรกแซงตลาดเท่าที่จำ�เป็น รัฐจะดูแลกฎเกณฑ์ให้เกิด
การแข่งขันที่เป็นธรรมระหว่างผู้ผลิตกันเอง และระหว่าง
ผู้ผลิตกับผู้บริโภค
รัฐจะส่งเสริมภาคเอกชนในการเพิ่ม
ผลผลิต เพื่อให้เกิดรายได้ การจ้างงานอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
	 	 แนวคิ ด นี้ เ ห็ น ว่ า โรงพยาบาลเอกชนเป็ น ธุ ร กิ จ ที่ ค วร
ให้การส่งเสริมอย่างยิ่ง เพราะเป็นธุรกิจที่ดี ที่รักษาและช่วย
ชีวิตคนไข้ เป็นทางเลือกอันดับแรกของประชากรกลุ่มที่มี
รายได้ปานกลางขึ้นไป จะได้ไม่ไปแย่งใช้บริการที่แออัดของ
รัฐ มีการจ้างงานจำ�นวนมาก เกิดรายได้จากอุตสาหกรรม
ต่อเนื่องคือยาและเวชภัณฑ์ การผลิตบุคลากรสุขภาพ การ
ลงทุนภาคเอกชนช่วยลดภาระการลงทุนของรัฐ ในระยะ
หลั ง นำ � รายได้ เข้ า ประเทศจากบริ ก ารชาวต่ า งประเทศ
เหมือนอุตสาหกรรมส่งออกอื่นๆ
	 	 โรงพยาบาลเอกชนก่อให้เกิดรายได้เป็นภาษีทางตรง
และทางอ้อมให้แก่รัฐเป็นจำ�นวนมาก จึงเป็นธุรกิจที่รัฐพึง
ให้การส่งเสริมอย่างยิ่งในทุกด้าน

โรงพยาบาลเอกชนที่เข้าร่วมโครงการ/ นโยบายของรัฐบาล

	

โครงการ/ นโยบาย	

เปอร์เซ็นต์โรงพยาบาลเอกชนที่เข้าร่วม

	
	
	
	

ประกันสังคม	
กองทุนขาดแคลนแรงงาน	
หลักประกันสุขภาพทั่วหน้า	
ข้าราชการ	

73.3
79.8
20.8
ปลดปล่อยศักยภาพของโรงพยาบาลเอกชน กับกระแสประชาคมอาเชี่ยน : 25
..

โลกที่เปลี่ยนไป
โรงพยาบาลเอกชน
จะช่วยพัฒนา
ระบบสุขภาพอย่างไร
โลกาภิวัฒน์
และการเปลี่ยนแปลง
ในสังคมมีผลต่อ
แนวคิดนโยบาย
วิธีดำ�เนินงานอย่างมาก
..

โลกที่เปลี่ยนไป - โรงพยาบาลเอกชนจะช่วยพัฒนา
ระบบสุขภาพอย่างไร

โลกาภิ วั ฒ น์ แ ละการเปลี่ ย นแปลงในสั ง คมมี ผ ลต่ อ แนวคิ ด
นโยบายวิธีดำ�เนินงานอย่างมากของผู้เล่นต่างๆในระบบบริการ
สุขภาพ ดังนี้
1. 	แนวคิดสังคมนิยมล่มสลาย / รัฐสวัสดิการแผ่วลง
แนวคิดสังคมนิยมเคยเฟื่องฟูในอดีตสมัยสงครามเย็นก่อน
สหภาพโซเวียตจะล่มสลาย แนวคิดที่รัฐเป็นผู้ลงทุนเป็น
เจ้าของ จัดการเองทุกอย่างรวมทั้งบริการสุขภาพ ก่อให้
เกิดภาวะไร้ประสิทธิภาพอย่างรุนแรง ถูกเจ้าหน้าที่บิดเบือน
และเบียดบังไปตามความคิด / ผลประโยชน์ของเจ้าหน้าที่
โดยไม่ตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของผู้บริโภคอย่าง
ทันท่วงที ทำ�ให้มีภาระรายจ่ายต่อภาครัฐมากมายมหาศาล
แต่ประชาชนไม่ได้รับบริการ กลุ่มรัฐสวัสดิการได้แก่ประเทศ
ในยุโรป ใช้แนวคิดให้รัฐจัดบริการพื้นฐานรวมทั้งบริการ
สุขภาพโดยภาครัฐเกือบ 100% เกิดสภาวะรอคิวรับบริการ
เป็นเดือนหรือเป็นปีทำ�ให้ผู้ป่วยต้องทนทุกข์ทรมาน ภาครัฐ
26 :

หนังสือครบรอบ 33 ปี สมาคมโรงพยาบาลเอกชน

มีภาระค่าใช้จ่ายมาก จนต้องใช้อัตราภาษีสูงมาก เมื่อภาษี
ไม่พอรัฐจึงไปกู้มา และกู้มากเกินรายได้รวมประชาชาติ
(GDP) ทำ�ให้เป็นต้นเหตุลุกลามจนกลายเป็นวิกฤตการณ์
เศรษฐกิจครั้งใหญ่ของยุโรปและของโลกในรอบ 80 ปี
	 	 ผู้ นำ � ประเทศผู้ มี วิ สั ย ทั ศ น์ เช่ น อดี ต นายกรั ฐ มนตรี
นางมาร์กาเร็ต แธตเชอร์ได้กล้าเปลี่ยนแปล รัฐสวัสดิการของ
ประเทศอังกฤษให้เป็นเอกชนมากขึ้น (Privatization) มีผล
ทำ�ให้เศษรฐกิจพ้นความตกต่ำ�และกลับมาเข้มแข็งได้ใหม่อีก

ปัจจัย 4 กับบทบาทภาครัฐ / เอกชน

ปัจจัย 4 เป็นสิ่งจำ�เป็นสำ�หรับการดำ�รงชีวิต จะเห็นได้ว่าอาหาร
เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ดำ�เนินการผลิตโดยภาคเอกชนเป็น
ส่วนใหญ่ รัฐเข้าแทรกแซงเป็นครั้งคราวเช่น รับประกันราคา
ข้าว จำ�นำ�ข้าว ผลิตบ้านโครงการเอื้ออาทร แต่จะเห็นว่าเป็น
ส่วนน้อย
	 •	ด้านยานั้น ผลิต / นำ�เข้าโดยภาคเอกชนเป็นส่วนใหญ่
	 	 องค์การ เภสัชกรรมมีบทบาทเพียงส่วนน้อย
•	ด้านการรักษาพยาบาล
ภาครัฐมีบทบาทด้านการให้
	 บริการ 70-80% ซึ่งนับว่ามากเกินไปเหมือนระบบ
	 สังคมนิยม / รัฐสวัสดิการ ซึ่งไม่มีประสิทธิภาพจาก
	 ผลผลิตต่ำ�เมื่อเทียบกับทรัพยากรที่ใช้ไป
•	ด้านผู้ซื้อบริการรักษาพยาบาล ภาครัฐก็มีบทบาทมาก
	 ได้แก่ สำ�นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จ่ายค่า
	 รักษาพยาบาลให้ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ
	 ประมาณ 45 ล้านคน และกรมบัญชีกลางซึ่งจ่ายค่า
	 รักษาพยาบาลให้ข้าราชการ / ครอบครัว ประมาณ 5
	 ล้านคน สำ�นักงานประกันสังคมก็ดูแลการจ่ายค่ารักษาผู้
	 ประกันตนกว่า 10 ล้านคน   ดังนั้นจึงเกิดคำ�ถามว่าภาค
	 รัฐมีบทบาทมากเกินไปในการให้บริการรักษาพยาบาล
	 หรือเปล่า?
	 	 เราน่าจะนำ�บทเรียนเหล่านี้มาใช้
เพื่อให้ระบบมี
ประสิทธิภาพ รัฐลงทุนแต่น้อยเท่าที่จำ�เป็น ในอนาคต
บริการสุขภาพภาครัฐควรจะมีขนาดเล็กลงกว่าภาคเอกชน
และเนื่อง จากบริการสุขภาพภาครัฐได้รับภาษีมาชดเชยจึง
จะต้องรับบทดูแลคนยากจนและผู้ด้อยโอกาสตามปรัชญา
ของรัฐที่ดี และปล่อยภาคเอกชนมีขนาดใหญ่ขึ้นสำ�หรับ
ดูแลประชากรส่วนใหญ่ที่เป็นชนชั้นกลางขึ้นไป       

ภาครัฐควรลดบทบาทลงด้านระบบบริการสุขภาพ
ภาครัฐควรลดบทบาทลงด้านระบบบริการสุขภาพ

1.	 ด้านการเป็นผู้ให้บริการสุขภาพ (Medical Providers)
รัฐควรกำ�หนดเป้าหมายลดสัดส่วนการให้บริการของภาครัฐ
ให้เหลือ 30-40%ใน 10 ปี โดยมาตรการต่างๆ เช่น
1.1	การแปรรูปเป็นเอกชน (Privatization) เหมือนเช่น
บริษัทการบินไทยมหาชนจำ�กัด บริษัทปตท มหาชน
จำ�กัด  บริษัทผลิตไฟฟ้า มหาชนจำ�กัด (EGCO) บริษัท
โรงไฟฟ้าราชบุรี มหาชนจำ�กัด บริษัทไปรษณีย์ไทย
มหาชนจำ�กัด
1.2	ควบคุมจำ�กัดจำ�นวนบุคลากรที่จะบรรจุเข้ารับราชการ
โดยที่นักเรียนทุกด้านสุขภาพเช่นแพทย์ พยาบาล มี
มากกว่าอัตราจ้าง ทำ�ให้รัฐไม่สามารถรองรับบรรจุได้
และปล่อยบุคลากรเหล่านี้ให้กบภาคเอกชนโดยปริมาณ
ั
เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยปริยาย
1.3	ให้ท้องถิ่นเริ่มจัดบริการสุขภาพมากขึ้น   (Decentrali	 	 zation) เป็นการกระจายอำ�นาจจากรัฐอย่างหนึ่ง อาจ
	 	 โอนกิจการบริการสุขภาพของราขการส่วนภมิภาคไป
	 	 ให้การปกครองส่วนท้องถิ่น
1.4	ส่งเสริมการจัดตั้งและขยายโรงพยาบาลเอกชน เพราะ
	 	 จะได้ ดึ ง ดู ด เงิ น ลงทุ น จากภาคเอกชนมาจั ด บริ ก าร
		 สุขภาพเพิ่มขึ้นทดแทนภาครัฐที่ลดขนาดลง

	 	 การปกครองท้องถิ่นเองก็เริ่มมีแนวคิดที่จะขยายการ
ให้บริการ ตัวอย่างเช่นองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ตเปิด
บริการโรงพยาบาลเต็มรูปแบบขึ้นขนาด 100 เตียงในเขต
เทศบาล และอนาคตจะมีองค์การปกครองท้องถิ่นจัดทำ�โรง
พยาบาลมากขึ้น
2.	 ผู้จ่ายค่าบริการรักษาพยาบาล (Payers)
	 ผู้จ่ายค่าบริการรักษาพยาบาล (Payers) ที่สำ�คัญทั้งภาครัฐ
	 และเอกชน มีดังนี้
	 2.1	ผู้จ่ายค่าบริการรักษาพยาบาลภาครัฐ  
			 (1)		 กองทุนประกันสังคม
กองทุนนี้ดูแลผู้ประกันตนกว่า 10 ล้านคน เป็น
กองทุนที่ไม่เลือกปฏิบัติระหว่างผู้ให้บริการภาค
รัฐและเอกชน ทำ�ให้ได้รับความสนใจเข้าร่วมให้
บริการจากโรงพยาบาลเอกชนมาก เพราะเปิดเสรี
ให้ผู้ประกันตน
	 	 	 เลือกโรงพยาบาลเอง ทำ�ให้โรงพยาบาลเอกชนได้รับ
	 	 	 ผู้ประกันตนสมัครเข้าเป็นสมาชิกมากกว่าโรงพยาบาล
	 	 	 ของรัฐ
			 (2)		 กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
เป็นกองทุนที่ใหญ่ที่สุด ดูแลประชากร 45 ล้านคน
แต่นาเสียดายทีกองทุนฯ มอบหน้าทีดแลรักษาคนไข้
่
่
ู่
ให้แก่โรงพยาบาลมากกว่าค่าใช้จ่ายที่มอบให้ เลือก
ปฏิบัติกับโรงพยาบาลเอกชน โรงพยาบาลเอกชน
จึงเข้าร่วมน้อยและมีแต่จะขอถอนตัวเพิ่มขึ้น  
	 ที่ จ ริ ง แล้ ว รั ฐ ธรรมนู ญ กำ � หนดให้ รั ฐ ดู แ ลผู้
ยากไร้โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย แต่กองทุนหลักประกัน
สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ ไ ปขยายดู แ ลประชากรทุ ก คน
ทำ � ให้ ต้ อ งดู แ ลคนจำ � นวนมากจนกิ น กำ � ลั ง งบ
ประมาณจากภาษี กองทุนฯจึงแก้ปัญหาเฉพาะ
หน้าคือลดรายจ่ายรายหัวลง ทำ�ให้โรงพยาบาล
ต่างๆเริ่มทนอยู่ในระบบของกองทุนฯไม่ได้  
	(3)		 กองทุนสวัสดิการรักษาข้าราชการ   เดิมกองทุนนี้
บังคับข้าราชการ ให้ใช้โรงพยาบาลของรัฐเท่านั้น
(ยกเว้นกรณีฉกเฉิน) ต่อมาเริมผ่อนผันให้โรงพยาบาล
ุ
่
เอกชนเป็นผู้ให้บริการได้ แต่โรงพยาบาลเอกชน ก็
ถูกเลือกปฏิบัติเป็นอย่างยิ่ง
	 2.2	ผู้จ่ายค่าบริการรักษาพยาบาลภาคเอกชน
เอกชน/บุคคลจ่ายเงินตนเองเป็นค่ารักษา    ได้แก่คารักษา
่
พยาบาลที่จ่ายโดยเงินของบุคคลหรือของครอบครัว
หรือจากบริษัทที่จ่ายให้ผู้บริหารเพิ่มเติมกว่าพนักงาน
ธรรมดา รัฐควรส่งเสริมโดยอาจพิจารณาให้ค่ารักษาใช้
ลดหย่อนภาษีรายได้ เป็นต้น

ปลดปล่อยศักยภาพของโรงพยาบาลเอกชน กับกระแสประชาคมอาเชี่ยน : 27
ประกันสุขภาพเอกชน เริ่มมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น
ปัจจุบันมีการใช้บริการประมาณ 2 ล้านครั้ง/ปี   และมี
การขยายตัวเพิ่มขึ้นเนื่องจากประชาชนเห็นคุณค่าของ
การประกันสุขภาพมากขึ้น และมีสถานะทางรายได้ดี
ขึ้นที่จะจ่ายได้ รัฐควรส่งเสริมประกันสุขภาพภาคเอง
ชน เพราะจะลดภาระกองทุนภาครัฐลง
2. ภาระกิจโรงพยาบาลเอกชนในอนาคต
	 2.1	บริการสุขภาพ:
	 	 	 ภาคเอกชนได้รับการส่งเสริมและขยายตัว
	 	    จนมีขนาดใหญ่กว่าภาครัฐตามที่ได้กล่าวมาแล้ว
	 2.2	ฝึกอบรมและผลิตบุคลากร
ด้านการผลิตบุคลากรด้านสุขภาพ มหาวิทยาลัยของ
รัฐไม่สามารถขยายกำ�ลังการผลิตบุคลากรให้เพียงพอ
กับความต้องการรวมของประเทศและจากต่างประเทศ
ภาคเอกชนจึงควรมีบทบาทด้านนี้เพิ่มขึ้น
	 2.2.1	 ส่งเสริมการผลิตบุคลากรด้านสุขภาพมากขึ้นจาก
ภาคเอกชนโดยได้รับการปฎิบัติอย่างเท่าเทียมกัน
เพื่อให้อัตราบุคลากรด้านสุขภาพต่อประชากรดีกว่า
ในประเทศอาเซี่ยน (ASEAN) (ปัจจุบันประเทศไทย
อยู่ในตำ�แหน่งท้ายๆ)
	 	 	 	 	    กรณีเอกชนเป็นผู้ผลิต   รัฐบาลต้องอุดหนุนงบ
ประมาณการผลิตต่อหัวโดยไม่เลือกปฏิบัติ
เช่น
ปัจจุบันรัฐส่งเสริมผลิตแพทย์ 300,000 บาท/หัว/
ปี และให้โรงเรียนแพทย์ของรัฐเท่านั้น ถ้าอุดหนุน
การผลิตของภาคเอกชนรัฐจะได้กำ�ลังผลิตจากภาค
เอกชน เข้ามาลงทุนผลิตแพทย์   เรื่องมาตรฐาน
ไม่ต้องกังวลเพราะนักศึกษาแพทย์ทุกคน (รัฐและ
เอกชน) จะต้องผ่านการสอบกลางของแพทยสภา
	 2.2.3	 แพทยสภาและสถาบันฝึกอบรมแพทย์ควรอนุญาต
	 	 	 	 ให้ ภ าคเอกชนเป็ น ต้ น สั ง กั ด ในการส่ ง แพทย์ เรี ย น
	 	 	 	 สาขาเฉพาะทางได้ อ ย่ า งทั ด เที ย มโรงพยาบาลรั ฐ
	 	 	 	 ภาคเอกชนจะได้ไม่ตกเป็นผู้ถูกกล่าวหาแย่งแพทย์
	 	 	 	 เฉพาะทางจากภาครัฐ
	 2.2.4	 ควรอนุญาตการรับนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนแพทย์
	 	 	 	 หรือฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางหลักสูตรนานาชาติ
	 	 	 	 ในโรงพยาบาลรัฐและเอกชน เพื่อจะให้ลูกศิษย์ต่าง
				 ชาติเหล่านี้ไปเผยแพร่ชอเสียงสถาบันของประเทศไทย
่ื
	 	 	 	 และส่งต่อคนไข้มาจากประเทศภูมิลำ�เนา รัฐบาล
	 	 	 	 ควรจัดให้มีทุนการศึกษาสำ�หรับกลุ่มเหล่านี้ด้วย
	 2.2.5	 แพทยสภาควรอนุญาตให้แพทย์ต่างชาติผู้เชี่ยวชาญ
	 	 	 	 เฉพาะด้าน มาให้บริการและ ทำ�การสอนในโรง

28 :

หนังสือครบรอบ 33 ปี สมาคมโรงพยาบาลเอกชน

	 	 	 	 พยาบาลเอกชนได้เหมือนโรงพยาบาลรัฐ  จะช่วยลด
	 	 	 	 ปัญหาขาดแพทย์และอาจารย์แพทย์ได้
	 2.3	การวิจัยคลีนิก
			 การวิจัยจะส่งเสริมการหาความรู้ใหม่ สร้างความเป็น
	 	 	 ผู้นำ�ค้าน สุขภาพอย่างยั่งยืน
	 ส่งเสริมการวิจัยคลินิก (Clinical Trial) การจะเป็นผู้นำ�
ด้านการรักษาพยาบาล  จำ�เป็นต้อง  อนุญาต / ส่งเสริมให้ภาค
เอกชนทำ�การวิจัยคลินิก โดยจะมีบริษัทยาข้ามชาติต้องการเปิด  
ตลาดการวิจัยคลินิก รัฐควรพิจารณาดังการวิจัยต่อไปนี้
	 2.3.1	 ส่งเสรมและให้ทุนวิจัยคลีนิก
	 2.3.2	 อนุญาตให้ภาคเอกชนมีคณะกรรมการการวิจัยใน
	 	 	 	 มนุษย์และสามารถวิจัยได้   อย่างอิสระโดยไม่ต้องไป
	 	 	 	 ร่วมกับภาครัฐเสมอเหมือนปัจจุบัน
	 2.3.3	 อนุ ญ าตให้ นำ � เข้ า วั ส ดุ เ พื่ อ การศึ ก ษาเป็ น ยาวิ จั ย
	 	 	 	 สำ�หรับกรณีภาคเอกชนเป็นผู้ขอและทำ�วิจัยอย่าง
	 	 	 	 ทัดเทียมกับภาครัฐ  
3. ความเท่าเทียมกันและไม่เลือกปฏิบัติ
	 แนวคิดได้ระบุบไว้ในรัฐธรรมนูญและมีบทบาทสำ�คัญมาก
ขึ้นเรื่อยๆ โดยโรงพยาบาลเอกชนย่อมได้รับการปฏิบัติที่เท่า
เทียมกับโรงพยาบาลของรัฐในการปฏิบัติตามกฎหมาย ตั้งแต่
ก่อตั้ง / ดำ�เนินสถานบริการ การเผยแพร่โฆษณา การผลิต /
ฝึกอบรมบุคลากร การได้รับทุนชดเชยค่าผลิตบุคลากรสุขภาพ
ฯลฯ  ศาลปกครองอาจจะถูกใช้มากขึ้นในอนาคต
4. ชาวต่างชาติมากขึ้น
	 รับจะต้องคิดนโยบายรองรับการเปลี่ยนแปลงนี้
	 4.1	นักท่องเที่ยวนานาชาติเพิ่มขึ้น จากผลของการพัฒนา
เศรษฐกิจและสายการบินราคาต่ำ�เป็นสิ่งกระตุ้นและ
ส่งเสริมนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น บางคนเจ็บป่วยขณะ
ท่องเที่ยวหรือ ชาวต่างชาติเลือกซื้อบริการสุขภาพใน
ประเทศที่คุ้มค่า
4.2	ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ส่งผลให้เกิดการ
เคลื่อนย้ายการลงทุนแรงงานเพิ่มมากขึ้น คาดว่าในอีก
2-3 ปี ข้างหน้าจะมีแรงงานข้ามชาติถึง 5 ล้านคนจาก
ปัจจุบันประมาณ 2 ล้านคน
4.3	การย้ายถิ่นฐาน	 ค่าครองชีพที่ต่ำ�กว่าประเทศเพื่อน
	 	 บ้าน ทำ�ให้ประชากรที่เกษียณในประเทศพัฒนาแล้ว
	 	 มองเห็นโอกาสใช้ชีวิตที่ดีกว่าประเทศไทย

5. ส่งเสริมภาคเอกชน
	 5.1	ให้การส่งเสริมการลงทุนจาก สำ�นักส่งเสริมการลงทุน
(BOI) สำ�หรับโรงพยาบาลใหม่และการขยายบริการ
สำ�หรับโรงพยาบาลเก่า โดยให้สิทธิประโยชน์สูงสุด
(เพราะเป็นอุตสาหกรรมส่งออก) และไม่จำ�กัดเขตเนื่อง
จากโรงพยาบาลไม่สามารถตั้งอยู่ในที่ไม่มีประชากร
อาศัยเบาบาง
	 5.2	ผ่อนผันข้อกำ�หนดการห้ามโฆษณาของโรงพยาบาล
และผูประกอบวิชาชีพสำ�หรับการโฆษณาในต่างประเทศ
้
	 5.3	เร่งรัดการอนุมัติให้มีการใช้ยาใหม่ๆ  
การจะเป็นผู้นำ�จะต้องสามารถใช้ยาใหม่ๆ ได้รวดเร็ว
ปัจจุบันยาใหม่ๆ จะเป็นยามะเร็ง แต่เดิมจะต้องใช้เวลา
เป็นปีในการขอขึ้นทะเบียนเป็นยา ควรให้มี ช่องาง
พิเศษ (Fast Track) ให้ใช้ได้เป็นอัตโนมัติสำ�หรับยาที่
ผ่านการรับรองจาก US คณะกรรมการอาหารและยา
(FDA) หริอ FDA บางประเทศที่มีมาตรฐานสูง ทั้งนี้
ลำ�นักงานอาหารและยาอาจจำ �กัดขอบเขตการใช้ยา

ในระยะแรกในโรงพยาบาลที่เข้าหลักเกณฑ์มาตรฐาน
(โดยไม่แยกสิทธิโรงพยาบาลรัฐและเอกชน)
5.4	ส่งเสริมการยกระดับมาตรฐานโรงพยาบาลเอกชน
	 	 จัดงบประมาณกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนามาตรฐาน
	 	 สู่สากล เช่น มาตรฐาน JCI
5.5	ส่งเสริมการร่วมมือโรงพยาบาลของรัฐกับโรงพยาบาล	
	 	 เอกชน (Public Private Partnership)
5.5.1	 การผลิตและฝึกอบรมแพทย์และบุคคลากรสุขภาพ
	 	 	 ร่วมกัน
5.5.2  การใช้เครื่องมือราคาสูงร่วมกัน
5.5.3  การวิจัยคลินิกร่วมกัน

6. สิ่งที่รัฐไม่ควรทำ�อย่างยิ่งได้แก่
	 6.1	รัฐไม่เก็บภาษีการรักษาพยาบาลจากผู้ป่วยต่างชาติ
	 	 	 ที่เดินทางเพื่อเข้ามารับการรักษาพยาบาลหรือจาก
	 	 	 ผู้ให้บริการในประเทศไทย และถือว่าการเก็บภาษีนี้
	 	 	 เป็นการซ้ำ�ช้อนและขัดนโยบายรัฐบาล
	 6.2	รัฐไม่ควบคุมอัตราค่าบริการ   อัตราค่าบริการควร
	 	 	 ปล่อยให้เป็นไปตามกลไกเสรีเพราะทุกสถานบริการ
	 	 	 จะถูกควบคุมโดยอัตราของคู่แข่งในประเทศ
	 	 	 โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากโรงพยาบาลของรัฐที่มี่อยู่
			 มากกว่าและทัวถึงกว่า และผูใช้บริการมีทางเลือกอยูแล้ว
่
้
่
	 6.3 	รัฐไม่ดำ�เนินการแข่งกับเอกชน เช่น จัดตั้งโรงพยาบาล
	 	 	 แบบเอกชนในโรงพยาบาลของรัฐ

บทสรุป

	 ภายใต้ระบบเศรษฐกิจเสรีนิยมโรงพยาบาลเอกชนเป็น
ธุรกิจที่ดีต่อประชาชนผู้เจ็บป่วย
เป็นทางเลือกแรกของ
ประชาชนผู้จ่ายเงินค่ารักษาด้วยตนเอง มีการจ้างงานจำ�นวน
มาก เกิดรายได้จากอุตสาหกรรมต่อเนื่อง เกิดการผลิต
บุคลากรสุขภาพ การลงทุนภาคเอกชนช่วยลดภาระการลงทุน
ของรัฐ ในระยะหลังนำ�รายได้เข้าประเทศจากบริการชาว
ต่างประเทศเหมือนอุตสาหกรรมส่งออกอื่นๆ โรงพยาบาล
เอกชนก่อให้เกิดรายได้เป็นภาษีทางตรงและทางอ้อมให้แก่
รัฐเป็นจำ�นวนมาก
กลายเป็นผู้มีบทบาทสำ�คัญต่อระบบ
บริการสุขภาพและการพัฒนาของประเทศที่ไม่ต้องใช้เงิน
รัฐจากภาษีอาการ จึงเป็นธุรกิจที่รัฐพึงให้การส่งเสริมอย่าง
ยิ่งในทุกด้านให้มีสัดส่วนมากกว่าภาครัฐในอนาคต จะทำ�
ให้รัฐลดภาระค่าใช้จ่ายลง ประชาชนได้รับบริการที่ดีและมี
ประสิทธิภาพ รัฐบาลจะได้รับการสรรเสริญตลอดไป

ปลดปล่อยศักยภาพของโรงพยาบาลเอกชน กับกระแสประชาคมอาเชี่ยน : 29

Contenu connexe

Plus de Utai Sukviwatsirikul

Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesUtai Sukviwatsirikul
 
การบริหารคน ของคุณ รวิศ หาญอุตสาหะ
การบริหารคน ของคุณ รวิศ  หาญอุตสาหะ การบริหารคน ของคุณ รวิศ  หาญอุตสาหะ
การบริหารคน ของคุณ รวิศ หาญอุตสาหะ Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561Utai Sukviwatsirikul
 
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...Utai Sukviwatsirikul
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul (20)

Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 
การบริหารคน ของคุณ รวิศ หาญอุตสาหะ
การบริหารคน ของคุณ รวิศ  หาญอุตสาหะ การบริหารคน ของคุณ รวิศ  หาญอุตสาหะ
การบริหารคน ของคุณ รวิศ หาญอุตสาหะ
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
 
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
 
A brief-guide-for-tobacco-control
A brief-guide-for-tobacco-controlA brief-guide-for-tobacco-control
A brief-guide-for-tobacco-control
 
Gambling helping
Gambling helpingGambling helping
Gambling helping
 

“โรงพยาบาลเอกชนจะไปทางไหน”

  • 1. โรงพยาบาลเอกชนจะไปทางไหน? โดย...คณะกรรมการสมาคมโรงพยาบาลเอกชนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2555 โรงพยาบาลเอกชนเกิดขึ้นมาเพราะความจำ�เป็นที่โรงพยาบาลของรัฐ ไม่สามารถให้บริการรักษาพยาบาลได้อย่างเพียงพอ จากเดิมที่โรงพยาบาลเอกชนจะมีขนาดเล็ก แพทย์เป็นเจ้าของคนเดียว บริหารแบบครอบครัว แพทย์และบุคลากรด้านสุขภาพทำ�งานนอกเวลา ให้บริการรักษาพยาบาลเพียงบางอย่างบางเวลา ไม่มีระบบควบคุมคุณภาพ ปัจจุบันโรงพยาบาลเอกชนได้มีการพัฒนาจนกลายเป็นกิจการขนาดใหญ่ เจ้าของเป็นมหาชน บริหารแบบมืออาขีพ แพทย์และบุคลากรด้านสุขภาพ ทำ�งานเต็มเวลา สามารถให้บริการรักษาพยาบาลโรคเฉพาะทางตลอด 24 ชั่วโมง มีการฝึกอบรมและผลิตบุคลากร มีการวิจัยทางคลินิก และได้รับมาตรฐานนานาชาติ ปัจจุบันมีโรงพยาบาลเอกชน 321 แห่ง มีเตียงให้บริการรวม 32,828 เตียง โดยมีการจ้างงาน ประมาณ 200,000 คน ก่อให้เกิดรายได้ในอุตสาหกรรมประมาณ 150,000 ล้านบาทต่อปี ให้ บริการผู้ใช้บริการประมาณ 55 ล้านครั้ง/ปี มีชาวต่างชาติที่ตั้งใจมารักษา 1.5 ล้านครั้งจาก 200 ประเทศทั่วโลก มีสัดส่วนของทรัพยากรหรือการให้บริการประมาณ 25-30%ของประเทศ โรงพยาบาลเอกชนเป็นทางเลือกอันดับต้นๆ ของผู้จ่ายค่ารักษาพยาบาลด้วยตนเอง ผู้มีประกัน สุขภาพเอกชน หรือ ผู้ประกันตนของกองทุนประกันสังคม โรงพยาบาลเอกชนเป็นผู้มีส่วนสำ�คัญ ในระบบบริการสาธารณสุข ยิ่งในระยะ 10 ปีหลัง ผลงานและชื่อเสียงกระจายไปทั่วโลกจนมีชาว ต่างชาติมาใช้บริการ โรงพยาบาลเอกชนจึงกลายเป็นผู้มีบทบาทสำ�คัญต่อระบบบริการสุขภาพ และการพัฒนาของประเทศที่ไม่ต้องใช้เงินรัฐจากภาษีอาการ โรงพยาบาลเอกชนต่อเศรษฐกิจประเทศ 1. ให้การรักษาที่มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพ โรงพยาบาลเอกชนจะเน้นบริการรักษาพยาบาลที่สะดวกรวดเร็วและมีคุณภาพ ปัจจุบันมี โรงพยาบาลเอกชนได้ รับมาตรฐานประเทศไทย HA (Hospital Acoredited) จำ�นวนมาก และ มาตรฐานนานาชาติ JCI Acoredited Organizations กว่า 20 แห่ง ในขณะที่ยังไม่มีโรง พยาบาลของรัฐได้รับมาตรฐานนานาชาติ JCI เลย บริการที่สะดวกรวดเร็วและมีคุณภาพของ โรงพยาบาลเอกชนสามารถดึงดูดผู้ป่วยใช้บริการปีละประมาณ 55 ล้านครั้ง ทั้งๆมีผู้ป่วยมีทาง เลือกที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายถ้าเลือกไปใช้จากโรงพยาบาลของรัฐ รวมทั้งกรณีกองทุนประกัน สังคมก็ปรากฏว่า ผู้ประกันตนก็เลือกโรงพยาบาลเอกชนเป็นโรงพยาบาลต้นสังกัดมากกว่าโรง พยาบาลของรัฐ ทั้งๆที่โรงพยาบาลเอกชนมีจำ�นวนน้อยกว่าภาครัฐ 24 : หนังสือครบรอบ 33 ปี สมาคมโรงพยาบาลเอกชน
  • 2. 2. รายได้และมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ โรงพยาบาลเอกชนมีรายได้รวม 80,654.7 ล้านบาท (การ สำ�รวจของสำ�นักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2549) สามารถ สร้างมูลค่าเพิ่ม 28,296.7 ล้านบาท หรือคิดเป็น 35% ซึ่ง นับว่าสูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์ ปั จ จุ บั น คาดว่ า โรงพยาบาลเอกชนมี ร ายได้ ป ระมาณ 150,000 ล้านบาทต่อปี 3. เกิดการจ้างงานและรายได้สู่ครัวเรือน โรงพยาบาลเอกชนมีการจ้างงาน 141,699 คน (การสำ�รวจ ของสำ�นักสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2549) เป็นพนักงานเต็มเวลา 107,509 คน (75.9%) เป็นบุคลากรด้านสุขภาพ 74.4 % เป็นบุคลากรอื่น 25.6% จ่ายค่าจ้างบุคลากร 22,690.5 ล้านบาท นอกจากนี้เป็นแหล่งรายได้เพิ่มแก่บุคลากรด้าน สุ ข ภาพของรั ฐ ที่ ใช้ เวลานอกราชการมาทำ � งานประมาณ 40,000 คน ปัจจุบันคาดว่าโรงพยาบาลเอกชนมีการจ้างงาน จำ�นวนประมาณกว่า 200,000 คนขึ้นไป 4. ส่งเสริมอุตสาหกรรมต่อเนื่อง โรงพยาบาลเอกชนมีรายจ่าย (ไม่รวมค่าจ้างพนักงาน) 39,730 ล้านบาท (การสำ�รวจของสำ�นักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2549) เป็นค่ายา/ เวชภัณฑ์ 19,122 ล้านบาท ค่าอาหาร 1,141 ล้านบาท ซึ่งเป็นการสร้างรายได้ให้แก่อุตสาหกรรม เกี่ยวข้องอื่นๆ 5. การลงทุนภาคเอกชนช่วยลดภาระการลงทุนของรัฐ โรงพยาบาลเอกชนมีค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวร 6,648.5 ล้านบาท (การสำ�รวจของสำ�นักงานสถิตแห่งชาติ พ.ศ. 2549) ิ ค่าเสื่อมราคานี้ สะท้อนรายจ่ายเงินลงทุนของเอกชนที่จ่าย ไปแต่ละปี ถ้าจะให้บริการประชาชนได้จำ�นวนเท่าเดิมโดย ไม่มีเงินก้อนนี้จากการลงทุนเอกชน จะต้องใช้เงินลงทุน จากรัฐมาทดแทน จึงเท่ากับเป็นการช่วยลดภาระการลงทุน ของรัฐปีละ 6,648.8 ล้าน ถ้า 10 ปีก็จะเป็นเงินมากกว่า 66,488 ล้านบาท 6. ช่วยสนับสนุนโครงการ/ นโยบายสุขภาพของรัฐบาล รัฐบาลมีโครงการนโยบายรักษาพยาบาลต่างๆ ซึ่งได้รับการ สนับสนุนเข้าร่วมโครงการจากโรงพยาบาลเอกชนเป็นอย่าง ดีเยี่ยม แนวคิดด้านเศรษฐกิจต่อโรงพยาบาลเอกชน แนวคิดด้านเศรษฐกิจที่สำ�คัญมี 2 อย่าง ดังนี้ 1. แนวคิดสังคมนิยม / รัฐสวัสดิการ แนวคิดนี้มองรัฐเป็นผู้รวมศูนย์กลางการจัดการการผลิต โดยทำ�ให้เศรษฐกิจภาครัฐมีขนาดใหญ่โต ต้องการให้ภาครัฐ ทำ�กิจการต่างๆทั้งหมด ควบคุมหรือกดบทบาทภาคเอกชน ให้มากที่สุด ไม่ไว้วางใจ มุ่งหวังจำ�กัดการดำ�เนินงานภาค เอกชน แนวคิดนี้มองว่าโรงพยาบาลเอกชนเป็นธุรกิจที่ไม่พึงจะมี เพราะ เป็นการหารายได้จากสุขภาพ รัฐควรควบคุม เสมือนเป็นธุรกิจทำ�ลายสุขภาพ เช่นเดียวกันกับ อุตสาหกรรมบุหรี่ สุรา โดยไม่ควร ส่งเสริมการลงทุน หรือให้เรียกเก็บภาษีเพิ่มในอัตราก้าวหน้าหรือลงโทษ 2. แนวคิดเสรีนิยม แนวคิดนี้รัฐกระจายอำ�นาจทางเศรษฐกิจให้ภาคเอกชน เป็นผู้จัดการผลิต การผลิตของภาครัฐให้มีน้อยที่สุด ถ้ามีก็ เพื่อแทรกแซงตลาดเท่าที่จำ�เป็น รัฐจะดูแลกฎเกณฑ์ให้เกิด การแข่งขันที่เป็นธรรมระหว่างผู้ผลิตกันเอง และระหว่าง ผู้ผลิตกับผู้บริโภค รัฐจะส่งเสริมภาคเอกชนในการเพิ่ม ผลผลิต เพื่อให้เกิดรายได้ การจ้างงานอุตสาหกรรมต่อเนื่อง แนวคิ ด นี้ เ ห็ น ว่ า โรงพยาบาลเอกชนเป็ น ธุ ร กิ จ ที่ ค วร ให้การส่งเสริมอย่างยิ่ง เพราะเป็นธุรกิจที่ดี ที่รักษาและช่วย ชีวิตคนไข้ เป็นทางเลือกอันดับแรกของประชากรกลุ่มที่มี รายได้ปานกลางขึ้นไป จะได้ไม่ไปแย่งใช้บริการที่แออัดของ รัฐ มีการจ้างงานจำ�นวนมาก เกิดรายได้จากอุตสาหกรรม ต่อเนื่องคือยาและเวชภัณฑ์ การผลิตบุคลากรสุขภาพ การ ลงทุนภาคเอกชนช่วยลดภาระการลงทุนของรัฐ ในระยะ หลั ง นำ � รายได้ เข้ า ประเทศจากบริ ก ารชาวต่ า งประเทศ เหมือนอุตสาหกรรมส่งออกอื่นๆ โรงพยาบาลเอกชนก่อให้เกิดรายได้เป็นภาษีทางตรง และทางอ้อมให้แก่รัฐเป็นจำ�นวนมาก จึงเป็นธุรกิจที่รัฐพึง ให้การส่งเสริมอย่างยิ่งในทุกด้าน โรงพยาบาลเอกชนที่เข้าร่วมโครงการ/ นโยบายของรัฐบาล โครงการ/ นโยบาย เปอร์เซ็นต์โรงพยาบาลเอกชนที่เข้าร่วม ประกันสังคม กองทุนขาดแคลนแรงงาน หลักประกันสุขภาพทั่วหน้า ข้าราชการ 73.3 79.8 20.8 ปลดปล่อยศักยภาพของโรงพยาบาลเอกชน กับกระแสประชาคมอาเชี่ยน : 25
  • 3. .. โลกที่เปลี่ยนไป โรงพยาบาลเอกชน จะช่วยพัฒนา ระบบสุขภาพอย่างไร โลกาภิวัฒน์ และการเปลี่ยนแปลง ในสังคมมีผลต่อ แนวคิดนโยบาย วิธีดำ�เนินงานอย่างมาก .. โลกที่เปลี่ยนไป - โรงพยาบาลเอกชนจะช่วยพัฒนา ระบบสุขภาพอย่างไร โลกาภิ วั ฒ น์ แ ละการเปลี่ ย นแปลงในสั ง คมมี ผ ลต่ อ แนวคิ ด นโยบายวิธีดำ�เนินงานอย่างมากของผู้เล่นต่างๆในระบบบริการ สุขภาพ ดังนี้ 1. แนวคิดสังคมนิยมล่มสลาย / รัฐสวัสดิการแผ่วลง แนวคิดสังคมนิยมเคยเฟื่องฟูในอดีตสมัยสงครามเย็นก่อน สหภาพโซเวียตจะล่มสลาย แนวคิดที่รัฐเป็นผู้ลงทุนเป็น เจ้าของ จัดการเองทุกอย่างรวมทั้งบริการสุขภาพ ก่อให้ เกิดภาวะไร้ประสิทธิภาพอย่างรุนแรง ถูกเจ้าหน้าที่บิดเบือน และเบียดบังไปตามความคิด / ผลประโยชน์ของเจ้าหน้าที่ โดยไม่ตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของผู้บริโภคอย่าง ทันท่วงที ทำ�ให้มีภาระรายจ่ายต่อภาครัฐมากมายมหาศาล แต่ประชาชนไม่ได้รับบริการ กลุ่มรัฐสวัสดิการได้แก่ประเทศ ในยุโรป ใช้แนวคิดให้รัฐจัดบริการพื้นฐานรวมทั้งบริการ สุขภาพโดยภาครัฐเกือบ 100% เกิดสภาวะรอคิวรับบริการ เป็นเดือนหรือเป็นปีทำ�ให้ผู้ป่วยต้องทนทุกข์ทรมาน ภาครัฐ 26 : หนังสือครบรอบ 33 ปี สมาคมโรงพยาบาลเอกชน มีภาระค่าใช้จ่ายมาก จนต้องใช้อัตราภาษีสูงมาก เมื่อภาษี ไม่พอรัฐจึงไปกู้มา และกู้มากเกินรายได้รวมประชาชาติ (GDP) ทำ�ให้เป็นต้นเหตุลุกลามจนกลายเป็นวิกฤตการณ์ เศรษฐกิจครั้งใหญ่ของยุโรปและของโลกในรอบ 80 ปี ผู้ นำ � ประเทศผู้ มี วิ สั ย ทั ศ น์ เช่ น อดี ต นายกรั ฐ มนตรี นางมาร์กาเร็ต แธตเชอร์ได้กล้าเปลี่ยนแปล รัฐสวัสดิการของ ประเทศอังกฤษให้เป็นเอกชนมากขึ้น (Privatization) มีผล ทำ�ให้เศษรฐกิจพ้นความตกต่ำ�และกลับมาเข้มแข็งได้ใหม่อีก ปัจจัย 4 กับบทบาทภาครัฐ / เอกชน ปัจจัย 4 เป็นสิ่งจำ�เป็นสำ�หรับการดำ�รงชีวิต จะเห็นได้ว่าอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ดำ�เนินการผลิตโดยภาคเอกชนเป็น ส่วนใหญ่ รัฐเข้าแทรกแซงเป็นครั้งคราวเช่น รับประกันราคา ข้าว จำ�นำ�ข้าว ผลิตบ้านโครงการเอื้ออาทร แต่จะเห็นว่าเป็น ส่วนน้อย • ด้านยานั้น ผลิต / นำ�เข้าโดยภาคเอกชนเป็นส่วนใหญ่ องค์การ เภสัชกรรมมีบทบาทเพียงส่วนน้อย
  • 4. • ด้านการรักษาพยาบาล ภาครัฐมีบทบาทด้านการให้ บริการ 70-80% ซึ่งนับว่ามากเกินไปเหมือนระบบ สังคมนิยม / รัฐสวัสดิการ ซึ่งไม่มีประสิทธิภาพจาก ผลผลิตต่ำ�เมื่อเทียบกับทรัพยากรที่ใช้ไป • ด้านผู้ซื้อบริการรักษาพยาบาล ภาครัฐก็มีบทบาทมาก ได้แก่ สำ�นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จ่ายค่า รักษาพยาบาลให้ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ประมาณ 45 ล้านคน และกรมบัญชีกลางซึ่งจ่ายค่า รักษาพยาบาลให้ข้าราชการ / ครอบครัว ประมาณ 5 ล้านคน สำ�นักงานประกันสังคมก็ดูแลการจ่ายค่ารักษาผู้ ประกันตนกว่า 10 ล้านคน ดังนั้นจึงเกิดคำ�ถามว่าภาค รัฐมีบทบาทมากเกินไปในการให้บริการรักษาพยาบาล หรือเปล่า? เราน่าจะนำ�บทเรียนเหล่านี้มาใช้ เพื่อให้ระบบมี ประสิทธิภาพ รัฐลงทุนแต่น้อยเท่าที่จำ�เป็น ในอนาคต บริการสุขภาพภาครัฐควรจะมีขนาดเล็กลงกว่าภาคเอกชน และเนื่อง จากบริการสุขภาพภาครัฐได้รับภาษีมาชดเชยจึง จะต้องรับบทดูแลคนยากจนและผู้ด้อยโอกาสตามปรัชญา ของรัฐที่ดี และปล่อยภาคเอกชนมีขนาดใหญ่ขึ้นสำ�หรับ ดูแลประชากรส่วนใหญ่ที่เป็นชนชั้นกลางขึ้นไป ภาครัฐควรลดบทบาทลงด้านระบบบริการสุขภาพ ภาครัฐควรลดบทบาทลงด้านระบบบริการสุขภาพ 1. ด้านการเป็นผู้ให้บริการสุขภาพ (Medical Providers) รัฐควรกำ�หนดเป้าหมายลดสัดส่วนการให้บริการของภาครัฐ ให้เหลือ 30-40%ใน 10 ปี โดยมาตรการต่างๆ เช่น 1.1 การแปรรูปเป็นเอกชน (Privatization) เหมือนเช่น บริษัทการบินไทยมหาชนจำ�กัด บริษัทปตท มหาชน จำ�กัด บริษัทผลิตไฟฟ้า มหาชนจำ�กัด (EGCO) บริษัท โรงไฟฟ้าราชบุรี มหาชนจำ�กัด บริษัทไปรษณีย์ไทย มหาชนจำ�กัด 1.2 ควบคุมจำ�กัดจำ�นวนบุคลากรที่จะบรรจุเข้ารับราชการ โดยที่นักเรียนทุกด้านสุขภาพเช่นแพทย์ พยาบาล มี มากกว่าอัตราจ้าง ทำ�ให้รัฐไม่สามารถรองรับบรรจุได้ และปล่อยบุคลากรเหล่านี้ให้กบภาคเอกชนโดยปริมาณ ั เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยปริยาย 1.3 ให้ท้องถิ่นเริ่มจัดบริการสุขภาพมากขึ้น (Decentrali zation) เป็นการกระจายอำ�นาจจากรัฐอย่างหนึ่ง อาจ โอนกิจการบริการสุขภาพของราขการส่วนภมิภาคไป ให้การปกครองส่วนท้องถิ่น 1.4 ส่งเสริมการจัดตั้งและขยายโรงพยาบาลเอกชน เพราะ จะได้ ดึ ง ดู ด เงิ น ลงทุ น จากภาคเอกชนมาจั ด บริ ก าร สุขภาพเพิ่มขึ้นทดแทนภาครัฐที่ลดขนาดลง การปกครองท้องถิ่นเองก็เริ่มมีแนวคิดที่จะขยายการ ให้บริการ ตัวอย่างเช่นองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ตเปิด บริการโรงพยาบาลเต็มรูปแบบขึ้นขนาด 100 เตียงในเขต เทศบาล และอนาคตจะมีองค์การปกครองท้องถิ่นจัดทำ�โรง พยาบาลมากขึ้น 2. ผู้จ่ายค่าบริการรักษาพยาบาล (Payers) ผู้จ่ายค่าบริการรักษาพยาบาล (Payers) ที่สำ�คัญทั้งภาครัฐ และเอกชน มีดังนี้ 2.1 ผู้จ่ายค่าบริการรักษาพยาบาลภาครัฐ (1) กองทุนประกันสังคม กองทุนนี้ดูแลผู้ประกันตนกว่า 10 ล้านคน เป็น กองทุนที่ไม่เลือกปฏิบัติระหว่างผู้ให้บริการภาค รัฐและเอกชน ทำ�ให้ได้รับความสนใจเข้าร่วมให้ บริการจากโรงพยาบาลเอกชนมาก เพราะเปิดเสรี ให้ผู้ประกันตน เลือกโรงพยาบาลเอง ทำ�ให้โรงพยาบาลเอกชนได้รับ ผู้ประกันตนสมัครเข้าเป็นสมาชิกมากกว่าโรงพยาบาล ของรัฐ (2) กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เป็นกองทุนที่ใหญ่ที่สุด ดูแลประชากร 45 ล้านคน แต่นาเสียดายทีกองทุนฯ มอบหน้าทีดแลรักษาคนไข้ ่ ่ ู่ ให้แก่โรงพยาบาลมากกว่าค่าใช้จ่ายที่มอบให้ เลือก ปฏิบัติกับโรงพยาบาลเอกชน โรงพยาบาลเอกชน จึงเข้าร่วมน้อยและมีแต่จะขอถอนตัวเพิ่มขึ้น ที่ จ ริ ง แล้ ว รั ฐ ธรรมนู ญ กำ � หนดให้ รั ฐ ดู แ ลผู้ ยากไร้โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย แต่กองทุนหลักประกัน สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ ไ ปขยายดู แ ลประชากรทุ ก คน ทำ � ให้ ต้ อ งดู แ ลคนจำ � นวนมากจนกิ น กำ � ลั ง งบ ประมาณจากภาษี กองทุนฯจึงแก้ปัญหาเฉพาะ หน้าคือลดรายจ่ายรายหัวลง ทำ�ให้โรงพยาบาล ต่างๆเริ่มทนอยู่ในระบบของกองทุนฯไม่ได้ (3) กองทุนสวัสดิการรักษาข้าราชการ เดิมกองทุนนี้ บังคับข้าราชการ ให้ใช้โรงพยาบาลของรัฐเท่านั้น (ยกเว้นกรณีฉกเฉิน) ต่อมาเริมผ่อนผันให้โรงพยาบาล ุ ่ เอกชนเป็นผู้ให้บริการได้ แต่โรงพยาบาลเอกชน ก็ ถูกเลือกปฏิบัติเป็นอย่างยิ่ง 2.2 ผู้จ่ายค่าบริการรักษาพยาบาลภาคเอกชน เอกชน/บุคคลจ่ายเงินตนเองเป็นค่ารักษา ได้แก่คารักษา ่ พยาบาลที่จ่ายโดยเงินของบุคคลหรือของครอบครัว หรือจากบริษัทที่จ่ายให้ผู้บริหารเพิ่มเติมกว่าพนักงาน ธรรมดา รัฐควรส่งเสริมโดยอาจพิจารณาให้ค่ารักษาใช้ ลดหย่อนภาษีรายได้ เป็นต้น ปลดปล่อยศักยภาพของโรงพยาบาลเอกชน กับกระแสประชาคมอาเชี่ยน : 27
  • 5. ประกันสุขภาพเอกชน เริ่มมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น ปัจจุบันมีการใช้บริการประมาณ 2 ล้านครั้ง/ปี และมี การขยายตัวเพิ่มขึ้นเนื่องจากประชาชนเห็นคุณค่าของ การประกันสุขภาพมากขึ้น และมีสถานะทางรายได้ดี ขึ้นที่จะจ่ายได้ รัฐควรส่งเสริมประกันสุขภาพภาคเอง ชน เพราะจะลดภาระกองทุนภาครัฐลง 2. ภาระกิจโรงพยาบาลเอกชนในอนาคต 2.1 บริการสุขภาพ: ภาคเอกชนได้รับการส่งเสริมและขยายตัว จนมีขนาดใหญ่กว่าภาครัฐตามที่ได้กล่าวมาแล้ว 2.2 ฝึกอบรมและผลิตบุคลากร ด้านการผลิตบุคลากรด้านสุขภาพ มหาวิทยาลัยของ รัฐไม่สามารถขยายกำ�ลังการผลิตบุคลากรให้เพียงพอ กับความต้องการรวมของประเทศและจากต่างประเทศ ภาคเอกชนจึงควรมีบทบาทด้านนี้เพิ่มขึ้น 2.2.1 ส่งเสริมการผลิตบุคลากรด้านสุขภาพมากขึ้นจาก ภาคเอกชนโดยได้รับการปฎิบัติอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อให้อัตราบุคลากรด้านสุขภาพต่อประชากรดีกว่า ในประเทศอาเซี่ยน (ASEAN) (ปัจจุบันประเทศไทย อยู่ในตำ�แหน่งท้ายๆ) กรณีเอกชนเป็นผู้ผลิต รัฐบาลต้องอุดหนุนงบ ประมาณการผลิตต่อหัวโดยไม่เลือกปฏิบัติ เช่น ปัจจุบันรัฐส่งเสริมผลิตแพทย์ 300,000 บาท/หัว/ ปี และให้โรงเรียนแพทย์ของรัฐเท่านั้น ถ้าอุดหนุน การผลิตของภาคเอกชนรัฐจะได้กำ�ลังผลิตจากภาค เอกชน เข้ามาลงทุนผลิตแพทย์ เรื่องมาตรฐาน ไม่ต้องกังวลเพราะนักศึกษาแพทย์ทุกคน (รัฐและ เอกชน) จะต้องผ่านการสอบกลางของแพทยสภา 2.2.3 แพทยสภาและสถาบันฝึกอบรมแพทย์ควรอนุญาต ให้ ภ าคเอกชนเป็ น ต้ น สั ง กั ด ในการส่ ง แพทย์ เรี ย น สาขาเฉพาะทางได้ อ ย่ า งทั ด เที ย มโรงพยาบาลรั ฐ ภาคเอกชนจะได้ไม่ตกเป็นผู้ถูกกล่าวหาแย่งแพทย์ เฉพาะทางจากภาครัฐ 2.2.4 ควรอนุญาตการรับนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนแพทย์ หรือฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางหลักสูตรนานาชาติ ในโรงพยาบาลรัฐและเอกชน เพื่อจะให้ลูกศิษย์ต่าง ชาติเหล่านี้ไปเผยแพร่ชอเสียงสถาบันของประเทศไทย ่ื และส่งต่อคนไข้มาจากประเทศภูมิลำ�เนา รัฐบาล ควรจัดให้มีทุนการศึกษาสำ�หรับกลุ่มเหล่านี้ด้วย 2.2.5 แพทยสภาควรอนุญาตให้แพทย์ต่างชาติผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะด้าน มาให้บริการและ ทำ�การสอนในโรง 28 : หนังสือครบรอบ 33 ปี สมาคมโรงพยาบาลเอกชน พยาบาลเอกชนได้เหมือนโรงพยาบาลรัฐ จะช่วยลด ปัญหาขาดแพทย์และอาจารย์แพทย์ได้ 2.3 การวิจัยคลีนิก การวิจัยจะส่งเสริมการหาความรู้ใหม่ สร้างความเป็น ผู้นำ�ค้าน สุขภาพอย่างยั่งยืน ส่งเสริมการวิจัยคลินิก (Clinical Trial) การจะเป็นผู้นำ� ด้านการรักษาพยาบาล จำ�เป็นต้อง อนุญาต / ส่งเสริมให้ภาค เอกชนทำ�การวิจัยคลินิก โดยจะมีบริษัทยาข้ามชาติต้องการเปิด ตลาดการวิจัยคลินิก รัฐควรพิจารณาดังการวิจัยต่อไปนี้ 2.3.1 ส่งเสรมและให้ทุนวิจัยคลีนิก 2.3.2 อนุญาตให้ภาคเอกชนมีคณะกรรมการการวิจัยใน มนุษย์และสามารถวิจัยได้ อย่างอิสระโดยไม่ต้องไป ร่วมกับภาครัฐเสมอเหมือนปัจจุบัน 2.3.3 อนุ ญ าตให้ นำ � เข้ า วั ส ดุ เ พื่ อ การศึ ก ษาเป็ น ยาวิ จั ย สำ�หรับกรณีภาคเอกชนเป็นผู้ขอและทำ�วิจัยอย่าง ทัดเทียมกับภาครัฐ 3. ความเท่าเทียมกันและไม่เลือกปฏิบัติ แนวคิดได้ระบุบไว้ในรัฐธรรมนูญและมีบทบาทสำ�คัญมาก ขึ้นเรื่อยๆ โดยโรงพยาบาลเอกชนย่อมได้รับการปฏิบัติที่เท่า เทียมกับโรงพยาบาลของรัฐในการปฏิบัติตามกฎหมาย ตั้งแต่ ก่อตั้ง / ดำ�เนินสถานบริการ การเผยแพร่โฆษณา การผลิต / ฝึกอบรมบุคลากร การได้รับทุนชดเชยค่าผลิตบุคลากรสุขภาพ ฯลฯ ศาลปกครองอาจจะถูกใช้มากขึ้นในอนาคต 4. ชาวต่างชาติมากขึ้น รับจะต้องคิดนโยบายรองรับการเปลี่ยนแปลงนี้ 4.1 นักท่องเที่ยวนานาชาติเพิ่มขึ้น จากผลของการพัฒนา เศรษฐกิจและสายการบินราคาต่ำ�เป็นสิ่งกระตุ้นและ
  • 6. ส่งเสริมนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น บางคนเจ็บป่วยขณะ ท่องเที่ยวหรือ ชาวต่างชาติเลือกซื้อบริการสุขภาพใน ประเทศที่คุ้มค่า 4.2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ส่งผลให้เกิดการ เคลื่อนย้ายการลงทุนแรงงานเพิ่มมากขึ้น คาดว่าในอีก 2-3 ปี ข้างหน้าจะมีแรงงานข้ามชาติถึง 5 ล้านคนจาก ปัจจุบันประมาณ 2 ล้านคน 4.3 การย้ายถิ่นฐาน ค่าครองชีพที่ต่ำ�กว่าประเทศเพื่อน บ้าน ทำ�ให้ประชากรที่เกษียณในประเทศพัฒนาแล้ว มองเห็นโอกาสใช้ชีวิตที่ดีกว่าประเทศไทย 5. ส่งเสริมภาคเอกชน 5.1 ให้การส่งเสริมการลงทุนจาก สำ�นักส่งเสริมการลงทุน (BOI) สำ�หรับโรงพยาบาลใหม่และการขยายบริการ สำ�หรับโรงพยาบาลเก่า โดยให้สิทธิประโยชน์สูงสุด (เพราะเป็นอุตสาหกรรมส่งออก) และไม่จำ�กัดเขตเนื่อง จากโรงพยาบาลไม่สามารถตั้งอยู่ในที่ไม่มีประชากร อาศัยเบาบาง 5.2 ผ่อนผันข้อกำ�หนดการห้ามโฆษณาของโรงพยาบาล และผูประกอบวิชาชีพสำ�หรับการโฆษณาในต่างประเทศ ้ 5.3 เร่งรัดการอนุมัติให้มีการใช้ยาใหม่ๆ การจะเป็นผู้นำ�จะต้องสามารถใช้ยาใหม่ๆ ได้รวดเร็ว ปัจจุบันยาใหม่ๆ จะเป็นยามะเร็ง แต่เดิมจะต้องใช้เวลา เป็นปีในการขอขึ้นทะเบียนเป็นยา ควรให้มี ช่องาง พิเศษ (Fast Track) ให้ใช้ได้เป็นอัตโนมัติสำ�หรับยาที่ ผ่านการรับรองจาก US คณะกรรมการอาหารและยา (FDA) หริอ FDA บางประเทศที่มีมาตรฐานสูง ทั้งนี้ ลำ�นักงานอาหารและยาอาจจำ �กัดขอบเขตการใช้ยา ในระยะแรกในโรงพยาบาลที่เข้าหลักเกณฑ์มาตรฐาน (โดยไม่แยกสิทธิโรงพยาบาลรัฐและเอกชน) 5.4 ส่งเสริมการยกระดับมาตรฐานโรงพยาบาลเอกชน จัดงบประมาณกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนามาตรฐาน สู่สากล เช่น มาตรฐาน JCI 5.5 ส่งเสริมการร่วมมือโรงพยาบาลของรัฐกับโรงพยาบาล เอกชน (Public Private Partnership) 5.5.1 การผลิตและฝึกอบรมแพทย์และบุคคลากรสุขภาพ ร่วมกัน 5.5.2 การใช้เครื่องมือราคาสูงร่วมกัน 5.5.3 การวิจัยคลินิกร่วมกัน 6. สิ่งที่รัฐไม่ควรทำ�อย่างยิ่งได้แก่ 6.1 รัฐไม่เก็บภาษีการรักษาพยาบาลจากผู้ป่วยต่างชาติ ที่เดินทางเพื่อเข้ามารับการรักษาพยาบาลหรือจาก ผู้ให้บริการในประเทศไทย และถือว่าการเก็บภาษีนี้ เป็นการซ้ำ�ช้อนและขัดนโยบายรัฐบาล 6.2 รัฐไม่ควบคุมอัตราค่าบริการ อัตราค่าบริการควร ปล่อยให้เป็นไปตามกลไกเสรีเพราะทุกสถานบริการ จะถูกควบคุมโดยอัตราของคู่แข่งในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากโรงพยาบาลของรัฐที่มี่อยู่ มากกว่าและทัวถึงกว่า และผูใช้บริการมีทางเลือกอยูแล้ว ่ ้ ่ 6.3 รัฐไม่ดำ�เนินการแข่งกับเอกชน เช่น จัดตั้งโรงพยาบาล แบบเอกชนในโรงพยาบาลของรัฐ บทสรุป ภายใต้ระบบเศรษฐกิจเสรีนิยมโรงพยาบาลเอกชนเป็น ธุรกิจที่ดีต่อประชาชนผู้เจ็บป่วย เป็นทางเลือกแรกของ ประชาชนผู้จ่ายเงินค่ารักษาด้วยตนเอง มีการจ้างงานจำ�นวน มาก เกิดรายได้จากอุตสาหกรรมต่อเนื่อง เกิดการผลิต บุคลากรสุขภาพ การลงทุนภาคเอกชนช่วยลดภาระการลงทุน ของรัฐ ในระยะหลังนำ�รายได้เข้าประเทศจากบริการชาว ต่างประเทศเหมือนอุตสาหกรรมส่งออกอื่นๆ โรงพยาบาล เอกชนก่อให้เกิดรายได้เป็นภาษีทางตรงและทางอ้อมให้แก่ รัฐเป็นจำ�นวนมาก กลายเป็นผู้มีบทบาทสำ�คัญต่อระบบ บริการสุขภาพและการพัฒนาของประเทศที่ไม่ต้องใช้เงิน รัฐจากภาษีอาการ จึงเป็นธุรกิจที่รัฐพึงให้การส่งเสริมอย่าง ยิ่งในทุกด้านให้มีสัดส่วนมากกว่าภาครัฐในอนาคต จะทำ� ให้รัฐลดภาระค่าใช้จ่ายลง ประชาชนได้รับบริการที่ดีและมี ประสิทธิภาพ รัฐบาลจะได้รับการสรรเสริญตลอดไป ปลดปล่อยศักยภาพของโรงพยาบาลเอกชน กับกระแสประชาคมอาเชี่ยน : 29