SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  40
Télécharger pour lire hors ligne
“นักวิจย สวทช.” คือ ... ความหวัง
       ั

         รศ.ดร.หริส สู ตะบุตร


                                27 พฤศจิกายน 2549
ตั้ง สวทช. ขึนมาทําไม
                      ้
O ต้องการมีองค์กรที่มีนกวิจยมืออาชีพ ที่ใช้เวลา
                       ั ั
 เต็มที่ในการทําวิจย อาจารย์มหาวิทยาลัยมีเวลา
                   ั
 วิจยน้อยไป
    ั
ตั้ง สวทช. ขึ้นมาทาไม
 o ต้องการมีองค์กรที่ช่วยทาให้ประเทศไทยเก่งทางวิทยาศาสตร์และ
   เทคโนโลยี โดยช่วยพัฒนามหาวิทยาลัย สถาบันวิจัย และหน่วยงาน
   อื่นๆ โดย
             มีทุนการศึกษาต่างประเทศ และในประเทศ เพื่อสร้างอาจารย์ที่เน้นการ
             วิจัย และนักวิจัยในสถาบันวิจัยและหน่วยงานต่างๆ ขณะนี้นักเรียนทุน
             เรียนจบกลับมาทางานแล้ว 1,991 คน
                  ทำงำนเป็นอำจำรย์มหำวิทยำลัย                      1,046 คน
                  ทางานที่ สวทช.                                     357 คน
                  ทำงำนที่หน่วยงำนในกระทรวงวิทยำศำสตร์ฯ              247 คน
                  ทำงำนที่หน่วยงำนอื่นๆ                              341 คน
© NSTDA 2012
www.nstda.or.th                                                                 1
ตั้ง สวทช. ขึ้นมาทาไม
             o ครม. ตั้งศูนย์ประสานงานนักเรียนทุนรัฐบาล (ศนวท.)
               เพื่อติดตามดูแลนักเรียนทุน (http://stscholar.nstda.or.th)
             o มีทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อให้บุคลากรของมหาวิทยาลัย
               สถาบันวิจัย และหน่วยงานอื่นร่วมทางานกับนักวิจัย สวทช.
             o มี TGIST เพื่อช่วยอาจารย์มหาวิทยาลัยในการคุมวิทยานิพนธ์
               และเพื่อให้นักศึกษาเข้ามาทาวิจัยที่ สวทช.
             o นักเรียนทุนที่กลับมาเป็นจานวนมากช่วยทาให้โครงการ
               ปริญญาเอกกาญจนภิเษก (คปก.) ประสบความสาเร็จ
               นักเรียนทุน จานวน 66 คน ดูแลนักเรียน คปก. 158 คน
© NSTDA 2012
www.nstda.or.th                                                            2
เราเดินทางมาได้ ไกลแล้ ว
  ... แต่ จะยังต้ องเดินทางไปอีกไกล
อทยานวิทยาศาสตร์
                 ุ
เมื่อตอนที่ อ.ยงยุทธ และผมกลับมาใหม่ๆ
ช่วยร่ างแผนพัฒนาวิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยีสาหรับแผนพัฒนาประเทศ
              ํ
ระยะที่ 5 และ 6
(15-20 ปี มาแล้ว)
ตอนนั้นอุทยานวิทยาศาสตร์ยง ั
เป็ นความฝันในกระดาษ
อทยานวิทยาศาสตร์
                        ุ
หลังจากทําแผน 5 และ 6 แล้ว ผมก็เลิกทําแผนเพราะอยากมุ่งทําให้แผนที่เขียนไว้เป็ นจริ ง

หลังจากมีการตั้ง สวทช. ในสมัย อานันท์ 1
สวทช. ก็เริ่ ม ขึ้นที่อาคารสํานักงานปลัดฯ
ซึ่งขณะนี้คืออาคารพระจอมเกล้า

อาคารของ สวทช. หลังแรก คือ อาคารโยธี
ที่เกิดจากการขอใช้ที่ของกรมวิทยาศาสตร์บริ การ
อทยานวิทยาศาสตร์
                  ุ
ก่อนออกแบบได้จางบริ ษท Earl Walls Associates,
                 ้     ั
Laboratory Design Consultants ซึ่ งส่ ง Mr. Ulrich M. Lindner
มาวางเค้าโครง
อทยานวิทยาศาสตร์
                ุ
ต่อมาได้ขอสิ ทธิ การใช้ที่ของหลวง ที่กรมธนารักษ์ดูแล
AIT และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้กรุ ณาแบ่งให้
มหาวิทยาลัยละ 100 ไร่ รวมเป็ น 200 ไร่ จึงได้ขอ
งบประมาณเพื่อออกแบบและสร้างอุทยานวิทยาศาสตร์
ผมได้คิดถึงหลักการของอุทยาน ซึ่ งในตอนนั้นเรี ยกว่า
“อุทยานวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี”
หรื อ STRDP
อทยานวิทยาศาสตร์
              ุ
ก่อนออกแบบได้ใช้เงิน USAID จ้าง Park Experts 3 คน
คือ Mr. L.C. Goldman, Mr. M.C. Houseworth และ
Mr. M.J. Krauss มาวางแผนแม่บทและเค้าโครงของ
อาคาร
G1. Concept of STRDP
    “Research Labs, Incubators, Facilitating Unit”
           Dr. Yongyuth Yuthawong
           Dr. Harit Sutabutr
           Dr. Pairash Thajchayapong
           Dr. Sakarindr Bhumiratana
           Mr. Leonard C. Goldman
           Dr. Saran PoshyachindaSecretary
G2. Conceptual Master Plan of STRDP
           “What to do and when”
           Yongyuth
           Dr. Nit Chantramangklasri
           Harit
           Golman
           Pairash
           Sakarindr
           Dr. Krissanapong Kirtikara
           Dr. Sutat Sriwatanapongse
           Dr. Panya Srichandra
           Mr. Michael J. Kraus
           Mr. Marvin C. Houseworth
           Dr. Paul A. Sutor
           Saran                               Secretary
           Miss Patcharin Pusanaas             Secretary
อทยานวิทยาศาสตร์
                  ุ
เมื่อออกแบบเสร็ จ ประมูลด้วยความยากลําบากเพราะไม่ได้
เลือกรายที่ราคาตํ่าสุ ด ก็เริ่ มมีการก่อสร้าง แต่ก่อสร้างมาได้
ไม่นานก็เกิดปั ญหาฟองสบู่แตก วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ
บริ ษทที่รับเหมาต้องเลิกกิจการพร้อมๆ กับการสังยุบบริ ษท
      ั                                             ่       ั
การเงินหลายสิ บบริ ษท ตึกหลายตึกที่เจอปั ญหานี้ ป่ านนี้ยง
                       ั                                      ั
ค้างไม่ได้สร้างต่อก็มี แต่ดวยความยากลําบากเราก็สามารถ
                               ้
หาบริ ษทกําจรกิจก่อสร้าง มาสร้างต่อจนเสร็ จ
        ั
อทยานวิทยาศาสตร์
 ุ
        เมื่อมาตรวจการก่อสร้าง ปี นตึกขึ้นไปที่หลังคา
        ชั้น 5 แล้วมองไปรอบๆ ก็เกิดความรู ้สึกว่า ที่ฝัน
        ไว้ 20 ปี มาแล้ว ที่ทาแผนแม่บทไว้ ที่ออกแบบไว้
                             ํ
        ที่ได้ก่อสร้างไว้ กําลังจะเป็ นความจริ งขึ้นมาแล้ว
อทยานวิทยาศาสตร์
 ุ
                   ฝันที่เป็ นจริ ง
ความก้ าวหน้ าของ สวทช.
ความก้ าวหน้ าของ สวทช.
            ่
• เรี ยกได้วา สวทช. เริ่ มจากสู ญ คือคนในตอนแรก
  ไม่กี่คน ประกอบด้วย อาจารย์มหาวิทยาลัย ที่ สวทช.
  ยืมตัวมาทํางานบางเวลาไม่กี่คน เมื่อตอนเกิดและ
  ก่อนมี พรบ.สวทช. สถาบันวิจยวิทยาศาสตร์และ
                                  ั
  เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) มีบุญคุณต่อเรา
  เพราะ สวทช. เกิดขึ้นโดยใช้ พรบ. ของ วว.
ความก้ าวหน้ าของ สวทช.
• สวทช. ตั้งมาได้ 15 ปี คือตั้งในปี 2534 ขณะนี้มีคน
  ประมาณ 1,960 คน ปัจจุบนนักวิจยได้สร้างผลงาน
                              ั      ั
  และได้รับรางวัลมากมาย เป็ นที่น่าภาคภูมิใจ
• ด้านบริ การวิชาการ และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึ่ ง
  เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญของ สวทช. ก็ทาได้ดี ผม
                       ํ                   ํ
  ยอมรับว่า อุทยานฯ นักวิจยและบุคลากรอื่น
                            ั
  ของสวทช.ไม่ได้ทาให้ผมผิดหวังเลย
                    ํ
ความก้ าวหน้ าของ สวทช.
• ความฝันที่อยากให้นกวิจยพันธุ์แท้มาเป็ น
                           ั ั
  รมว.กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
  ก็เป็ นจริ ง เมื่อ อ.ยงยุทธ ได้รับ
  การทาบทาม และรับเป็ น รมว.
  กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
เรายังต้ องเดินทางร่ วมกันอีกไกล
เรายังต้ องเดินทางร่ วมกันอีกไกล
• เมื่อพูดถึงคู่แข่ง ผมยํ้าเสมอว่า เราต้องไม่ถือว่า
  มหาวิทยาลัย และ วว. เป็ นคู่แข่ง เพราะพันธกิจของ
  สวทช. คือช่วยสร้างประเทศไทยให้เก่งทาง ว&ท เมื่อ
  มหาวิทยาลัย และ วว. มีผลงานดีเราต้องดีใจและภูมิใจ
• ดังนั้นคู่แข่งของเราต้องเป็ นสถาบันประเภทเดียวกันใน
  ต่างประเทศ ผมเคยเสนอว่า slogan ของเราควรจะเป็ น
                   “beat ITRI”
ITRI หรือ Industrial Technology Research
              Institute ของไต้ หวัน
       สวทช. ตั้งมาแล้ว       15      ปี
       ITRI ตั้งมาแล้ว        33      ปี
       สวทช. มีคน             1,960   คน
       ITRI มีคน              6,000   คน                          ITRI
ในด้ านผลงาน ทั้งในด้ านบทความวิจัยตีพิมพ์ ในวารสารนานาชาติ และ
  สิ ทธิ บัตร เขาทิ งเราห่ างมาก
                    ้
เรื่ องที่ ITRI มี Impact ต่ ออตสาหกรรม
                                 ุ
• Establishing New High – Tech Industries
  Work at ITRI have extended the boundaries of IC design, flat – panel
  displays, and CD drives
  Examples :
   – Taiwan became the world’s 4th largest IC supplier
       • In 2001, IC packaging and IC foundry industries rank # 1, while
         IC design sector ranks second in worldwide output
       • Taiwanese notebook PC, many peripheral devices and wireless
         LAN products have had a dominating presence since late 1990’s
เรื่ องที่ ITRI มี Impact ต่ ออตสาหกรรม
                                 ุ
• Upgrading Traditional Industries
  Research at ITRI has led to improvements in a diverse range of fields, including
   – Automotive Industry – ITRI developed a common (1,200 CC) engine for
     domestic cars with cooperation from Great Britain’s Lotus Engineering Co.
   – Precision Machinery
       ITRI has developed PC – based controllers, plant automation services.
      Taiwan is no. 6 in export of advanced tools and machinery.
   – Textile Industry
       ITRI developed high – speed spinning process, greatly improved the
         throughput
เรื่ องที่ ITRI มี Impact ต่ ออตสาหกรรม
                                 ุ
• Leading the Drive for Sustainable Growth
   – Resource usage
      ITRI has developed an efficient water recovery system. The system
     can reclaim 70% of waste water incurred in IC manufacturing.
   – Waste Treatment
      ITRI has developed a new up-stream anaerobic sludge bed (modified
     UASB) waste water treatment technology. Compared with conventional
     activated sludge method, the new technology saves 30 – 60 % in land
     and capital cost.
เรื่ องที่ ITRI มี Impact ต่ ออตสาหกรรม
                                  ุ
• Developing Highly Skilled Human Resources.
       ITRI’s broad scope of research, excellent facilities, close industrial
   ties and interdisciplinary approach combine to make a uniquely effective
   hotbed for talents critical to the future of industries. Although ITRI is not
   an educational institution, it is one of the biggest suppliers of industrial
   leaders in Taiwan
      The Science - based Industrial Park, with US$ 27 billion in annual
   output, has some 4,900 ITRI alumni. They are the key factor of the
   success of that establishment.
“นักวิจย สวทช.” คือ ... ความหวัง
       ั
“นักวิจัย สวทช.” คือ ...ความหวัง
• เห็นแล้วว่า เพื่อให้ประเทศไทยเก่งทาง ว&ท เพื่อให้
  ประเทศไทยสามารถสร้างความมังคัง และความผาสุ กของ
                                  ่ ่
  ประชากร สวทช. ต้อง ตั้งเป้ าที่จะ beat ITRI ซึ่ งเห็นแล้ว
  ว่ายาก และเราต้องร่ วมกันเดินทางอีกไกล
“นักวิจัย สวทช.” คือ ...ความหวัง
• ในปั จจุบน มีอนตรายที่บริ ษท High Tech ข้ามชาติที่มีฐานการ
           ั ั                  ั
                              ่
  ผลิตในไทย คิดจะย้ายไปอยูประเทศข้างเคียง เช่น Malaysia เขา
  กําลังมองว่า
         * ระบบงานวิจยของไทยยังไม่ดีพอ
                         ั
         * มหาวิทยาลัยยังผลิตวิศวกร และ
           นักวิทยาศาสตร์ไม่ดีพอ
         * วิศวกร และนักวิทยาศาสตร์ไทยที่ทางานกับเขา
                                          ํ
           ยังสู ้งานไม่มากพอ
“นักวิจัย สวทช.” คือ ...ความหวัง
• เราต้องการดึงบริ ษทข้ามชาติ ให้เอางาน R & D มาไว้ในไทย
                      ั
   เราอยากให้ไทยมีส่วนร่ วมมากขึ้นในการผลิตองค์ประกอบของ
   mega project เช่น รถไฟฟ้ าใต้ดิน
   เราอยากให้ไทยมีอุตสาหกรรมที่มี brand name ไทย
   เพราะเมื่อมี brand name ก็ตองสู เ้ พื่อ brand name
                              ้
   ก็ตองทํา R & D เพราะความจําเป็ น
      ้
   ไม่ใช่เพราะรัฐบาลขอร้องให้ทา ํ
“นักวิจัย สวทช.” คือ ...ความหวัง
• ถ้ามีกิจกรรมเหล่านี้ กิจกรรมเหล่านี้จะเป็ น
  ตัวฉุดลากหรื อหัวรถไฟที่จะนําขบวนการพัฒนาความสามารถ
  ทาง ว & ท โดยเฉพาะ R & D
  นักวิจยไทยก็จะมีที่เล่นหรื อ playing field
          ั
  ดังนั้นจึงจะดึงดูดให้คนมาสนใจ
  ในการเรี ยน ว & ท มากขึ้น
“นักวิจัย สวทช.” คือ ...ความหวัง
• เนื่องจากพันธกิจของ สวทช. คือ
        * การช่วยทําให้ประเทศไทยเก่งทาง ว & ท
        * ช่วยพัฒนามหาวิทยาลัยและสถาบันวิจย    ั
                                   ่
  ความหวังของประเทศจึงต้องอยูบนบ่าของ สวทช.
  นักวิจย สวทช. คือ ผูเ้ ล่นหลักของ สวทช.
         ั
  บุคลากรส่ วนอื่น ก็สาคัญมากเป็ นกลุ่มบริ การวิชาการ ถ่ายทอด
                         ํ
  เทคโนโลยี และสนับสนุน
                   ดังนั้น นักวิจย สวทช. คือ
                                 ั
           ความหวังของ สวทช. และของประเทศไทย
“นักวิจย สวทช.” คือ ... ความหวัง
       ั
                        ขอบคุณครับ

Contenu connexe

Similaire à 20120417 nstda-history-harit

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์pair paplern
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54Lao-puphan Pipatsak
 
58 pdf e news
58 pdf e news58 pdf e news
58 pdf e newsshm-nstda
 
ปฏิรูปอุดมศึกษาด้วยธรรม สร้างนักวิชาการไทยด้วย “อุดมธรรม” ศาสตราจารย์ (พิเศษ)...
ปฏิรูปอุดมศึกษาด้วยธรรม สร้างนักวิชาการไทยด้วย “อุดมธรรม” ศาสตราจารย์ (พิเศษ)...ปฏิรูปอุดมศึกษาด้วยธรรม สร้างนักวิชาการไทยด้วย “อุดมธรรม” ศาสตราจารย์ (พิเศษ)...
ปฏิรูปอุดมศึกษาด้วยธรรม สร้างนักวิชาการไทยด้วย “อุดมธรรม” ศาสตราจารย์ (พิเศษ)...Klangpanya
 
59 ssh e news
59 ssh e news59 ssh e news
59 ssh e newsshm-nstda
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
Nrct northern initiatives
Nrct northern initiativesNrct northern initiatives
Nrct northern initiativesrattapol
 
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-2019083101 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831thanaruk theeramunkong
 

Similaire à 20120417 nstda-history-harit (20)

STKS Handbook
STKS HandbookSTKS Handbook
STKS Handbook
 
Foresight for thorkorsor
Foresight for thorkorsorForesight for thorkorsor
Foresight for thorkorsor
 
TISTR-KLC presentation 2011-th
TISTR-KLC presentation 2011-thTISTR-KLC presentation 2011-th
TISTR-KLC presentation 2011-th
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
 
58 pdf e news
58 pdf e news58 pdf e news
58 pdf e news
 
ปฏิรูปอุดมศึกษาด้วยธรรม สร้างนักวิชาการไทยด้วย “อุดมธรรม” ศาสตราจารย์ (พิเศษ)...
ปฏิรูปอุดมศึกษาด้วยธรรม สร้างนักวิชาการไทยด้วย “อุดมธรรม” ศาสตราจารย์ (พิเศษ)...ปฏิรูปอุดมศึกษาด้วยธรรม สร้างนักวิชาการไทยด้วย “อุดมธรรม” ศาสตราจารย์ (พิเศษ)...
ปฏิรูปอุดมศึกษาด้วยธรรม สร้างนักวิชาการไทยด้วย “อุดมธรรม” ศาสตราจารย์ (พิเศษ)...
 
59 ssh e news
59 ssh e news59 ssh e news
59 ssh e news
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
 
Nrct northern initiatives
Nrct northern initiativesNrct northern initiatives
Nrct northern initiatives
 
190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk
 
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-2019083101 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
 
TSP I Newsletter Dec 09
TSP I Newsletter Dec 09TSP I Newsletter Dec 09
TSP I Newsletter Dec 09
 
2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
 

20120417 nstda-history-harit

  • 1. “นักวิจย สวทช.” คือ ... ความหวัง ั รศ.ดร.หริส สู ตะบุตร 27 พฤศจิกายน 2549
  • 2. ตั้ง สวทช. ขึนมาทําไม ้ O ต้องการมีองค์กรที่มีนกวิจยมืออาชีพ ที่ใช้เวลา ั ั เต็มที่ในการทําวิจย อาจารย์มหาวิทยาลัยมีเวลา ั วิจยน้อยไป ั
  • 3. ตั้ง สวทช. ขึ้นมาทาไม o ต้องการมีองค์กรที่ช่วยทาให้ประเทศไทยเก่งทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี โดยช่วยพัฒนามหาวิทยาลัย สถาบันวิจัย และหน่วยงาน อื่นๆ โดย มีทุนการศึกษาต่างประเทศ และในประเทศ เพื่อสร้างอาจารย์ที่เน้นการ วิจัย และนักวิจัยในสถาบันวิจัยและหน่วยงานต่างๆ ขณะนี้นักเรียนทุน เรียนจบกลับมาทางานแล้ว 1,991 คน  ทำงำนเป็นอำจำรย์มหำวิทยำลัย 1,046 คน  ทางานที่ สวทช. 357 คน  ทำงำนที่หน่วยงำนในกระทรวงวิทยำศำสตร์ฯ 247 คน  ทำงำนที่หน่วยงำนอื่นๆ 341 คน © NSTDA 2012 www.nstda.or.th 1
  • 4. ตั้ง สวทช. ขึ้นมาทาไม o ครม. ตั้งศูนย์ประสานงานนักเรียนทุนรัฐบาล (ศนวท.) เพื่อติดตามดูแลนักเรียนทุน (http://stscholar.nstda.or.th) o มีทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อให้บุคลากรของมหาวิทยาลัย สถาบันวิจัย และหน่วยงานอื่นร่วมทางานกับนักวิจัย สวทช. o มี TGIST เพื่อช่วยอาจารย์มหาวิทยาลัยในการคุมวิทยานิพนธ์ และเพื่อให้นักศึกษาเข้ามาทาวิจัยที่ สวทช. o นักเรียนทุนที่กลับมาเป็นจานวนมากช่วยทาให้โครงการ ปริญญาเอกกาญจนภิเษก (คปก.) ประสบความสาเร็จ นักเรียนทุน จานวน 66 คน ดูแลนักเรียน คปก. 158 คน © NSTDA 2012 www.nstda.or.th 2
  • 5. เราเดินทางมาได้ ไกลแล้ ว ... แต่ จะยังต้ องเดินทางไปอีกไกล
  • 6. อทยานวิทยาศาสตร์ ุ เมื่อตอนที่ อ.ยงยุทธ และผมกลับมาใหม่ๆ ช่วยร่ างแผนพัฒนาวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีสาหรับแผนพัฒนาประเทศ ํ ระยะที่ 5 และ 6 (15-20 ปี มาแล้ว) ตอนนั้นอุทยานวิทยาศาสตร์ยง ั เป็ นความฝันในกระดาษ
  • 7. อทยานวิทยาศาสตร์ ุ หลังจากทําแผน 5 และ 6 แล้ว ผมก็เลิกทําแผนเพราะอยากมุ่งทําให้แผนที่เขียนไว้เป็ นจริ ง หลังจากมีการตั้ง สวทช. ในสมัย อานันท์ 1 สวทช. ก็เริ่ ม ขึ้นที่อาคารสํานักงานปลัดฯ ซึ่งขณะนี้คืออาคารพระจอมเกล้า อาคารของ สวทช. หลังแรก คือ อาคารโยธี ที่เกิดจากการขอใช้ที่ของกรมวิทยาศาสตร์บริ การ
  • 8. อทยานวิทยาศาสตร์ ุ ก่อนออกแบบได้จางบริ ษท Earl Walls Associates, ้ ั Laboratory Design Consultants ซึ่ งส่ ง Mr. Ulrich M. Lindner มาวางเค้าโครง
  • 9.
  • 10.
  • 11. อทยานวิทยาศาสตร์ ุ ต่อมาได้ขอสิ ทธิ การใช้ที่ของหลวง ที่กรมธนารักษ์ดูแล AIT และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้กรุ ณาแบ่งให้ มหาวิทยาลัยละ 100 ไร่ รวมเป็ น 200 ไร่ จึงได้ขอ งบประมาณเพื่อออกแบบและสร้างอุทยานวิทยาศาสตร์ ผมได้คิดถึงหลักการของอุทยาน ซึ่ งในตอนนั้นเรี ยกว่า “อุทยานวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี” หรื อ STRDP
  • 12.
  • 13.
  • 14. อทยานวิทยาศาสตร์ ุ ก่อนออกแบบได้ใช้เงิน USAID จ้าง Park Experts 3 คน คือ Mr. L.C. Goldman, Mr. M.C. Houseworth และ Mr. M.J. Krauss มาวางแผนแม่บทและเค้าโครงของ อาคาร
  • 15. G1. Concept of STRDP “Research Labs, Incubators, Facilitating Unit” Dr. Yongyuth Yuthawong Dr. Harit Sutabutr Dr. Pairash Thajchayapong Dr. Sakarindr Bhumiratana Mr. Leonard C. Goldman Dr. Saran PoshyachindaSecretary G2. Conceptual Master Plan of STRDP “What to do and when” Yongyuth Dr. Nit Chantramangklasri Harit Golman Pairash Sakarindr Dr. Krissanapong Kirtikara Dr. Sutat Sriwatanapongse Dr. Panya Srichandra Mr. Michael J. Kraus Mr. Marvin C. Houseworth Dr. Paul A. Sutor Saran Secretary Miss Patcharin Pusanaas Secretary
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20. อทยานวิทยาศาสตร์ ุ เมื่อออกแบบเสร็ จ ประมูลด้วยความยากลําบากเพราะไม่ได้ เลือกรายที่ราคาตํ่าสุ ด ก็เริ่ มมีการก่อสร้าง แต่ก่อสร้างมาได้ ไม่นานก็เกิดปั ญหาฟองสบู่แตก วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ บริ ษทที่รับเหมาต้องเลิกกิจการพร้อมๆ กับการสังยุบบริ ษท ั ่ ั การเงินหลายสิ บบริ ษท ตึกหลายตึกที่เจอปั ญหานี้ ป่ านนี้ยง ั ั ค้างไม่ได้สร้างต่อก็มี แต่ดวยความยากลําบากเราก็สามารถ ้ หาบริ ษทกําจรกิจก่อสร้าง มาสร้างต่อจนเสร็ จ ั
  • 21. อทยานวิทยาศาสตร์ ุ เมื่อมาตรวจการก่อสร้าง ปี นตึกขึ้นไปที่หลังคา ชั้น 5 แล้วมองไปรอบๆ ก็เกิดความรู ้สึกว่า ที่ฝัน ไว้ 20 ปี มาแล้ว ที่ทาแผนแม่บทไว้ ที่ออกแบบไว้ ํ ที่ได้ก่อสร้างไว้ กําลังจะเป็ นความจริ งขึ้นมาแล้ว
  • 22. อทยานวิทยาศาสตร์ ุ ฝันที่เป็ นจริ ง
  • 24. ความก้ าวหน้ าของ สวทช. ่ • เรี ยกได้วา สวทช. เริ่ มจากสู ญ คือคนในตอนแรก ไม่กี่คน ประกอบด้วย อาจารย์มหาวิทยาลัย ที่ สวทช. ยืมตัวมาทํางานบางเวลาไม่กี่คน เมื่อตอนเกิดและ ก่อนมี พรบ.สวทช. สถาบันวิจยวิทยาศาสตร์และ ั เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) มีบุญคุณต่อเรา เพราะ สวทช. เกิดขึ้นโดยใช้ พรบ. ของ วว.
  • 25. ความก้ าวหน้ าของ สวทช. • สวทช. ตั้งมาได้ 15 ปี คือตั้งในปี 2534 ขณะนี้มีคน ประมาณ 1,960 คน ปัจจุบนนักวิจยได้สร้างผลงาน ั ั และได้รับรางวัลมากมาย เป็ นที่น่าภาคภูมิใจ • ด้านบริ การวิชาการ และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึ่ ง เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญของ สวทช. ก็ทาได้ดี ผม ํ ํ ยอมรับว่า อุทยานฯ นักวิจยและบุคลากรอื่น ั ของสวทช.ไม่ได้ทาให้ผมผิดหวังเลย ํ
  • 26. ความก้ าวหน้ าของ สวทช. • ความฝันที่อยากให้นกวิจยพันธุ์แท้มาเป็ น ั ั รมว.กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ก็เป็ นจริ ง เมื่อ อ.ยงยุทธ ได้รับ การทาบทาม และรับเป็ น รมว. กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
  • 28. เรายังต้ องเดินทางร่ วมกันอีกไกล • เมื่อพูดถึงคู่แข่ง ผมยํ้าเสมอว่า เราต้องไม่ถือว่า มหาวิทยาลัย และ วว. เป็ นคู่แข่ง เพราะพันธกิจของ สวทช. คือช่วยสร้างประเทศไทยให้เก่งทาง ว&ท เมื่อ มหาวิทยาลัย และ วว. มีผลงานดีเราต้องดีใจและภูมิใจ • ดังนั้นคู่แข่งของเราต้องเป็ นสถาบันประเภทเดียวกันใน ต่างประเทศ ผมเคยเสนอว่า slogan ของเราควรจะเป็ น “beat ITRI”
  • 29. ITRI หรือ Industrial Technology Research Institute ของไต้ หวัน สวทช. ตั้งมาแล้ว 15 ปี ITRI ตั้งมาแล้ว 33 ปี สวทช. มีคน 1,960 คน ITRI มีคน 6,000 คน ITRI ในด้ านผลงาน ทั้งในด้ านบทความวิจัยตีพิมพ์ ในวารสารนานาชาติ และ สิ ทธิ บัตร เขาทิ งเราห่ างมาก ้
  • 30. เรื่ องที่ ITRI มี Impact ต่ ออตสาหกรรม ุ • Establishing New High – Tech Industries Work at ITRI have extended the boundaries of IC design, flat – panel displays, and CD drives Examples : – Taiwan became the world’s 4th largest IC supplier • In 2001, IC packaging and IC foundry industries rank # 1, while IC design sector ranks second in worldwide output • Taiwanese notebook PC, many peripheral devices and wireless LAN products have had a dominating presence since late 1990’s
  • 31. เรื่ องที่ ITRI มี Impact ต่ ออตสาหกรรม ุ • Upgrading Traditional Industries Research at ITRI has led to improvements in a diverse range of fields, including – Automotive Industry – ITRI developed a common (1,200 CC) engine for domestic cars with cooperation from Great Britain’s Lotus Engineering Co. – Precision Machinery ITRI has developed PC – based controllers, plant automation services. Taiwan is no. 6 in export of advanced tools and machinery. – Textile Industry ITRI developed high – speed spinning process, greatly improved the throughput
  • 32. เรื่ องที่ ITRI มี Impact ต่ ออตสาหกรรม ุ • Leading the Drive for Sustainable Growth – Resource usage ITRI has developed an efficient water recovery system. The system can reclaim 70% of waste water incurred in IC manufacturing. – Waste Treatment ITRI has developed a new up-stream anaerobic sludge bed (modified UASB) waste water treatment technology. Compared with conventional activated sludge method, the new technology saves 30 – 60 % in land and capital cost.
  • 33. เรื่ องที่ ITRI มี Impact ต่ ออตสาหกรรม ุ • Developing Highly Skilled Human Resources. ITRI’s broad scope of research, excellent facilities, close industrial ties and interdisciplinary approach combine to make a uniquely effective hotbed for talents critical to the future of industries. Although ITRI is not an educational institution, it is one of the biggest suppliers of industrial leaders in Taiwan The Science - based Industrial Park, with US$ 27 billion in annual output, has some 4,900 ITRI alumni. They are the key factor of the success of that establishment.
  • 34. “นักวิจย สวทช.” คือ ... ความหวัง ั
  • 35. “นักวิจัย สวทช.” คือ ...ความหวัง • เห็นแล้วว่า เพื่อให้ประเทศไทยเก่งทาง ว&ท เพื่อให้ ประเทศไทยสามารถสร้างความมังคัง และความผาสุ กของ ่ ่ ประชากร สวทช. ต้อง ตั้งเป้ าที่จะ beat ITRI ซึ่ งเห็นแล้ว ว่ายาก และเราต้องร่ วมกันเดินทางอีกไกล
  • 36. “นักวิจัย สวทช.” คือ ...ความหวัง • ในปั จจุบน มีอนตรายที่บริ ษท High Tech ข้ามชาติที่มีฐานการ ั ั ั ่ ผลิตในไทย คิดจะย้ายไปอยูประเทศข้างเคียง เช่น Malaysia เขา กําลังมองว่า * ระบบงานวิจยของไทยยังไม่ดีพอ ั * มหาวิทยาลัยยังผลิตวิศวกร และ นักวิทยาศาสตร์ไม่ดีพอ * วิศวกร และนักวิทยาศาสตร์ไทยที่ทางานกับเขา ํ ยังสู ้งานไม่มากพอ
  • 37. “นักวิจัย สวทช.” คือ ...ความหวัง • เราต้องการดึงบริ ษทข้ามชาติ ให้เอางาน R & D มาไว้ในไทย ั เราอยากให้ไทยมีส่วนร่ วมมากขึ้นในการผลิตองค์ประกอบของ mega project เช่น รถไฟฟ้ าใต้ดิน เราอยากให้ไทยมีอุตสาหกรรมที่มี brand name ไทย เพราะเมื่อมี brand name ก็ตองสู เ้ พื่อ brand name ้ ก็ตองทํา R & D เพราะความจําเป็ น ้ ไม่ใช่เพราะรัฐบาลขอร้องให้ทา ํ
  • 38. “นักวิจัย สวทช.” คือ ...ความหวัง • ถ้ามีกิจกรรมเหล่านี้ กิจกรรมเหล่านี้จะเป็ น ตัวฉุดลากหรื อหัวรถไฟที่จะนําขบวนการพัฒนาความสามารถ ทาง ว & ท โดยเฉพาะ R & D นักวิจยไทยก็จะมีที่เล่นหรื อ playing field ั ดังนั้นจึงจะดึงดูดให้คนมาสนใจ ในการเรี ยน ว & ท มากขึ้น
  • 39. “นักวิจัย สวทช.” คือ ...ความหวัง • เนื่องจากพันธกิจของ สวทช. คือ * การช่วยทําให้ประเทศไทยเก่งทาง ว & ท * ช่วยพัฒนามหาวิทยาลัยและสถาบันวิจย ั ่ ความหวังของประเทศจึงต้องอยูบนบ่าของ สวทช. นักวิจย สวทช. คือ ผูเ้ ล่นหลักของ สวทช. ั บุคลากรส่ วนอื่น ก็สาคัญมากเป็ นกลุ่มบริ การวิชาการ ถ่ายทอด ํ เทคโนโลยี และสนับสนุน ดังนั้น นักวิจย สวทช. คือ ั ความหวังของ สวทช. และของประเทศไทย
  • 40. “นักวิจย สวทช.” คือ ... ความหวัง ั ขอบคุณครับ