SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 
ข้อ 94 ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณที่ใช้ที่ใช้ถือ 
ปฏิบ ััติในขณะนี้เป็นฉบับ พ.ศ. ใด 
1. พ.ศ. 2506 2. พ.ศ. 2507 
3. พ.ศ. 2522 4. พ.ศ. 2526 
ตอบข้อ 4. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำน 
สำรบรรณ พ.ศ. 2526 
ข้อ 1. ระเบียบนี้เรียกว่ำ “ ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำน 
สำรบรรณ พ.ศ. 
ดังนั้น ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำนสำรบรรณ เป็นฉบับ 
พ.ศ. 2526 ตำมข้อ 4 
ข้อ 95. รหัสพยัญชนะประจำำกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คือ 
1. กส 2. กก 
3. กษ 4. กร 
ตอบข้อ 3. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำน 
สำรบรรณ พ.ศ. 2526 
ภำคผนวก 1 กำรกำำหนดเลขที่หนังสือออก 
ข้อ 1.1 รหัสตัวพยัญชนะประจำำกระทรวง ทบวง และส่วนรำชกำรที่ไม่ 
สังกัดสำำนักนำยกรัฐมนตรี 
กระทรวง หรือทบวง ให้กำำหนดไว้ดังนี้ 
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กษ 
ดังนั้น รหัสตัวพยัญชนะประจำำกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คือ กษ 
ตำมข้อ 3 
ข้อ 96. ส่วนรำชกำรใดที่ไม่สังกัดสำำนักนำยกรัฐมนตรีกระทรวงหรือ 
ทบวง 
1. สำำนักพระรำชวัง 2. สำำนักงำนเลขำธิกำรวุฒิสภำ 
3. สำำนักงำนตรวจเงินแผ่นดิน 4. ถูกทุกข้อ 
ตอบข้อ 4. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำน 
สำรบรรณ พ.ศ. 2526 
ข้อ 1.1 ส่วนรำชกำรไม่สังกัดสำำนักนำยกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง 
ได้แก่ 
สำำนักพระรำชวัง สำำนักงำนตรวจเงินแผ่นดิน สำำนักงำนเลขำธิกำร 
วุฒิสภำ 
ดังนั้น ทั้งสำำนักงำนพระรำชวังสำำนักงำนเลขำธิกำรวุฒิสภำ และ 
สำำนักงำนตรวจเงินดิน เป็นส่วน
รำชกำรที่ไม่สังกัดสำำนักนำยกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม ตำมข้อ 4 
ข้อ 97. รหัสตัวพยัญชนะประจำำจังหวัดนครศรีธรรมรำช คือ 
1. นร. 2. นธ 
3. นม 4. นส 
ตอบข้อ 4. เหตุผลเพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำน 
สำรบรรณ พ.ศ. 2526 
ภำคผนวก 1 กำรกำำหนดเลขที่หนังสือออก 
ข้อ 1.2 รหัสพยัญชนะประจำำจังหวัด และกรุงเทพมหำนคร ให้กำำหนด 
ไว้ ดังนี้ 
นครศรีธรรมรำช นศ. 
ดังนั้น รหัสตัวพยัญชนะประจำำจังหวัดนครศรีธรรมรำช คือ นศ ตำมข้อ 
4 
ข้อ 98. Aide – Memoire คืออะไร 
1. หนังสือกลำง 2. บันทึกช่วยจำำ 
2. บันทึก 4. งำนสำรบรรณของโรงพยำบำล 
ตอบข้อ 2. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำน 
สำรบรรณ พ.ศ. 2526 
ภำคผนวก 4 
ข้อ 2.2.2 บันทึกช่วยจำำ (Aide - Memoire ) 
ดังนั้น Aide - Memoire คือบันทึกช่วยจำำ ตำมข้อ 2. 
ข้อ 99. ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 
ให้ใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด 
1. 1 มกรำคม 2526 2. 1 มิถุนำยน 2526 
3. 1 ตุลำคม 2526 4. 1 ธันวำคม 2526 
ตอบข้อ 2. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำน 
สำรบรรณ พ.ศ. 2526 
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนำยน 2526 เป็นต้น 
ดังนั้น ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 มี 
ผลบังคับใช้ตั้งแต่ 
1 มิถุนำยน 2526 ตำมข้อ 2. 
ข้อ 100. “ บันทึกช่วยจำำ “ คืออะไร 
1. หนังสือที่ใช้สำำหรับแถลงรำยละเอียด 
2. หนังสือรำชกำรที่ใช้สรรพนำมบุรุษที่ 3 
3. หนังสือที่ใช้สำำหรับเรื่องที่มีควำมสำำคัญ 
4. หนังสือที่ใช้สำำหรับยืนยันข้อควำมในเรื่องที่สนทนำ
ตอบข้อ 4. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำน 
สำรบรรณ พ.ศ. 2526 
ข้อ 2.2.2 บันทึกช่วยจำำ คือ หนังสือที่ใช้สำำหรับยืนยันข้อควำมในเรื่อง 
ที่สนทนำ 
ดังนั้น บันทึกช่วยจำำ คือ หนังสือที่ใช้สำำหรับยืนยันข้อควำมในเรื่องที่ 
สนทนำตำมข้อ 4 
ข้อ 101. เลขหนังสือ “ ที่ นม 0015 “ ตัวเลข 15 หมำยถึงแผนกอะไร 
1. ขนส่ง 2. ปกครอง 
3. สำำนักงำนจังหวัด 4. ประชำสงเครำะห์ 
ตอบข้อ 1. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำน 
สำรบรรณ พ.ศ. 2526 
ข้อ 2.2.2 ตัวเลขสองตัวหลัง หน่วยงำนส่วนภูมิภำคที่สังกัดจังหวัด หรือ 
อำำเภอ โดยให้กำำหนด 
ดังนี้ กระทรวงคมนำคม ขนส่ง 15 
ดังนั้น เลขที่หนังสือ “ ที่ นม 0015 “ ตัวเลข 15 หมำยถึง ขนส่งตำม 
ข้อ 1 
ข้อ 102. “ ทำำกำรแทน “ ใช้ในกรณี 
1. อธิบดีมอบหมำยให้รองอธิบดีหรือผู้ช่วยอธิบดีทำำกำรแทน 
2. ปลัดกระทรวงมอบหมำยให้รองปลัดกระทรวงหรือผู้ช่วยทำำกำรแทน 
3. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดมอบหมำยอำำนำจโดยทำำเป็นหนังสือให้รองผู้ว่ำฯ 
หัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำำ 
จังหวัดคนใดทำำกำรแทน 
4. ถูกทั้งข้อ 1 และ 3 
ตอบข้อ 1. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำน 
สำรบรรณ พ.ศ. 2526 
ภำคผนวก 3 กำรลงชื่อและตำำแหน่ง 
ข้อ 2.3 ทำำกำรแทน พระธรรมนูญศำลยุติธรรม กำำหนดให้ใช้คำำว่ำ 
ทำำกำรแทนในกรณีที่ตำำแหน่ง 
ข้ำรำชกำรฝ่ำยตุลำกำรว่ำลง หรือดำำรงตำำแหน่งไม่อำจปฏิบัติรำชกำร 
ได้ 
ดังนั้น “ ทำำกำรแทน ” ใช้ในกรณีที่ อธิบดีมอบหมำยให้รองอธิบดีหรือผู้ 
ช่วยอธิบดีทำำกำรแทน 
ตำมข้อ 1. 
ข้อ 103. ถ้ำต้องกำรให้รัฐวิสำหกิจ หรือหน่วยงำนใดที่ไม่เป็นส่วน 
รำชกำรใช้รหัสตัวพยัญชนะของส่วนรำ ชกำร
ที่สังกัดตัวเลข 2 ตัวแรกที่จะใช้เริ่มจำกเลขอะไร 
1. 00 2. 15 
3. 50 4. 51 
ตอบข้อ 4. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำดัวยงำน 
สำรบรรณ พ.ศ. 2526 
ข้อ 2.4 ในกรณีที่ประสงค์จะให้รัฐวิสำหกิจหรือหน่วยงำนอื่นใด ที่มิได้ 
เป็นส่วนรำชกำรซึ่งอยู่ใน 
สังกัด ใช้รหัสตัวพยัญชนะของกระทรวง ทบวง กรม ส่วนรำชกำรที่ไม่ 
ได้สังกัดสำำนักนำยก 
รัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัด แล้วแต่กรณีให้ใช้ตัวเลข 
สองตัวแรก เริ่มจำก 51 
เรียงไปตำมลำำดับ 
ดังนั้น ถ้ำต้องกำรให้รัฐวิสำหกิจ หรือหน่วยงำนใดที่ไม่เป็นส่วนรำชกำร 
ใช้รหัสตัวพยัญชนะของส่วน 
รำชกำรที่สังกัดตัวเลข 2 ตัวแรกจะใช้เริ่มจำก เลข 51 เรียงไปตำม 
ลำำดับ ตำมข้อ 4. 
ข้อ 104. ก่อนที่จะมีกำรใช้ระเบียบงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 นั้น มี 
กำรใช้ระเบียบงำนสำรบรรณ 
1. พ.ศ. 2505 2. พ.ศ. 2506 
3. พ.ศ. 2507 4. พ.ศ. 2508 
ตอบข้อ 2. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำน 
สำรบรรณ พ.ศ. 2526 
ข้อ 3 ให้ยกเลิก 
3.1 ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2506 
3.2 ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยกำรลงชื่อในหนังสือรำชกำร 
พ.ศ. 2507 
3.2 ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยกำรลงชื่อในหนังสือรำชกำร (ฉ 
บับที่ 2 ) พ.ศ. 2516 
ดังนั้น ก่อนที่กำรใช้ระเบียบงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 มีกำรใช้ 
ระเบียบงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2506 
มำก่อน ตำมข้อ 2. 
ข้อ 105. ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 
2526 ให้ใช้บังคับแก่หน่วยงำนใดบ้ำง 
1. ส่วนรำชกำร 2. สถำนศึกษำของเอกชน 
3. รัฐวิสำหกิจ 4. ถูกทุกข้อ
ตอบข้อ 1. เหตุผล เพราะระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน 
สารบรรณ พ.ศ. 2506 
ข้อ 4 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ ส่วนราชการใดมีความ 
จำาเป็นที่จะต้องปฏิบัติงาน 
สารบรรณนอกเหนือไปจากที่กำาหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้ขอทำาความ 
ตกลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้ 
ดังนั้น ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าดัวยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 
ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ 
ตามข้อ 1. 
ข้อ 106. ส่วนราชการแห่งหนึ่งมีลักษณะการทำางานเป็นพิเศษจาก 
หน่วยงานอื่นแ ละมีความจำาเป็นจะต้องปฏิบัติ 
งานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีที่กำาหนด 
ไว ้้ ส่วนราชการนั้น จะกระทำา 
ได้หรือไม่เพียงไร 
1. ย่อมกระทำาได้ 2. ผู้รักษาการตามระเบียบนี้ให้ความชอบ 
3. กระทำามิได้ 4. ถูกเฉพาะข้อ 1 และ 2 
ตอบข้อ 2. เหตุผล เพราะระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน 
สารบรรณ พ.ศ. 2526 
ข้อ 4 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ ส่วนราชการใดมีความ 
จำาเป็นที่จะต้องปฏิบัติงาน 
สารบรรณนอกเหนือไปจากที่กำาหนดไว้ในระเบียบนี้ให้ขอทำาความตก 
ลงกั บผู้รักษาการตามระเบียบนี้ 
ดังนั้น ส่วนราชการที่มีความจำาเป็นจะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอก 
เหนือไปจา กที่ระเบียบสำานัก 
นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ต้องขอทำาความ 
ตกลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้ 
ดังนี้ ผู้รักษาการตามระเบียบนี้ ต้องให้ความเห็นชอบ ตามข้อ 2. 
ข้อ 107. ข้อใดมิใช่เป็นความหมายของ “ งานสารบรรณ ” 
1. งานบริหารงานเอกสาร 2. การรับ การส่ง การรักษาเอกสาร 
2. การจัดทำาร่างระเบียบงานสารบรรณ 4. การยืม การทำาลายเอกสาร 
ตอบข้อ 3 เหตุผล เพราะระเบียบสำานักงานนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน 
สารบรรณ พ.ศ. 2526 
ข้อ 6 ในระเบียบนี้ 
“ งานสารบรรณ ” หมายความว่า งานที่เกี่ยวกับการบริหารเอกสาร เริ่ม 
ตั้งแต่การจัดทำาการรับการ
การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำาลาย 
ดังนั้น การจัดทำาร่างระเบียบงานสารบรรณ จึงมิใช้ความหมายของ “ 
งานสารบรรณ ” ตามระเบียบ 
สำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ตามข้อ 3. 
ข้อ 108. งานสารบรรณตามระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงาน 
สารบรรณ พ.ศ. 2526 หมายความว่าอย่างไร 
1. งานหนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงส่วนราชการด้วยกัน 
2. งานหนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งที่เป็นส่วน 
ราชการ และมิใช่ส่วนราชการ 
3. งานเกี่ยวกับการบริหารเอกสารเริ่มตั้งการจัดทำาการรับ การส่ง การ 
เก็บรักษา การยืม 
จนถึงการทำาลาย 
4. ที่กล่าวแล้วไม่มีข้อใดถูก 
ตอบข้อ 3. เหตุผล เพราะระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน 
สารบรรณ พ.ศ. 2526 
ข้อ 6 ในระเบียบนี้ “ งานสารบรรณ ” หมายความว่า งานที่เกี่ยวกับการ 
บริหารงานเอกสาร 
เริ่มตั้งแต่การจัดทำา การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการ 
ทำาลาย 
ดังนั้น งานสารบรรณ มีความหมายตามข้อ 3. 
ข้อ 109. “ บรรณสาร ” หมายถึงอะไร 
1. หนังสือราชการ 2. สิ่งของ 
3. บรรณารักษ์ 4. ระเบียบงานสารบรรณ 
ตอบข้อ 1. เหตุผล เพราะระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน 
สารบรรณ พ.ศ. 2526 
ข้อ 6 ในระเบียบนี้ “ งานสารบรรณ ” หมายความว่า งานที่เกี่ยวกับการ 
บริหารเอกสาร เริ่มตั้งแต่ 
การจัดการรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำาลาย 
ดังนั้น “ บรรณสาร ” จึงหมายถึง หนังสือราชการ ตามข้อ 1. 
ข้อ 110. ข้อใดที่ไม่เป็นส่วนราชการตามระเบียบงานสารบรรณ 
1. รัฐวิสาหกิจ 2. สุขาภิบาล 
3. คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ 4. มหาวิทยาลัยรามคำาแหง 
ตอบข้อ 1. เหคุผล เพราะระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน 
สารบรรณ พ.ศ. 2526 
ข้อ 6 ในระเบียบนี้ “ ส่วนราชการ ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง
กรม สำานักงานหรือ 
หน่วยงานอื่นใดของรัฐ ทั้งในราชการบริหารส่วนกลาง ราชการส่วน 
ภูมิภาค ราชการบริหารส่วน 
ท้องถิ่น และให้หมายความรวมถึงคณะกรรมการด้วย 
ดังนั้น รัฐวิสาหกิจไม่เป็นส่วนราชการ ตามระเบียบงานสารบรรณ ตาม 
ข้อ 1. 
ข้อ 111. ข้อใดที่เป็นส่วนราชการ ตามความหมายของระเบียบงาน 
สารบรรณ 
1. สถานทูตไทยในสหรัฐอเมริกา 2. สภาตำาบท 
3. สุขาภิบาล 4. ถูกทุกข้อ 
ตอบข้อ 4. เหตุผล เพราะระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน 
สารบรรณ พ.ศ. 2526 
ข้อ 6 ในระเบียบนี้ “ ส่วนราชการ ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง 
กรม สำานักงานหรือ 
หน่วยงานอื่นใดของรัฐ ทั้งในราชการบริหารส่วนกลาง ราชการภูมิภาค 
ราชการบริหารส่วนภูมิภาค 
หรือในต่างประเทศ และให้หมายความรวมถึงคณะกรรมการด้วย 
ดังนั้น สถานทูตไทยในสหรัฐอเมริกา สภาตำาบล สุขาภิบาล เป็นส่วน 
ราชการตามความหมายของ 
ระเบียบงานสารบรรณ ตามข้อ 4. 
ข้อ 112. “ หนังสือ” ในความหมายของระเบียบงานสารบรรณ 
หมายความว่าอย่างไร 
1. หนังสือราชการ 2. หนังสือทุกประเภท 
3. ปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี 4. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี 
ตอบข้อ 1. เหตุผล เพราะระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน 
สารบรรณ พ.ศ. 2526 
ข้อ 6 ในระเบียบนี้ “ หนังสือ ” หมายความว่า หนังสือราชการ 
ดังนั้น “ หนังสือ ” ตามระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน 
สารบรรณ พ.ศ. 2526 หมายถึง 
หนังสือราชการ ตามข้อ 1. 
ข้อ 113. ใครเป็นผู้รักษาการตามระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย 
งานสรบรรณ พ.ศ. 2526 
1. นายกรัฐมนตรี 2. รองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมาย 
3. ปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี 4. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี 
ตอบข้อ 3. เหตุผล เพราะระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน
สารบรรณ พ.ศ. 2526 
ข้อ 8 ให้ปลัดสำานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้ รวมทั้งการ 
แก้ไขเพิ่มเติมภาคผนวก 
และจัดทำาคำาอธิบาย กับให้มีหน้าที่ดำาเนินการฝึกอบรมเกี่ยวกับงาน 
สารบรรณ 
ดังนั้น ผู้รักษาการตามระเบียบนี้ มีอำานาจหน้าที่ ตีความเกี่ยวกับการ 
ปฏิบัติตามระเบียบงาน 
สารบรรณ วินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบงานสารบรรณ 
แก้ไขเพิ้่มเติมเกี่ยวกับงาน 
สารบรรณ ตามข้อ 4. 
ข้อ 115. ใครเป็นผู้รักษาการตามระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย 
งานสารบร รณ พ.ศ. 2526 
1. รัฐมนตรีประจำาสำานักนายกรัฐมนตรี 2. ปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี 
3. นายกรัฐมนตรี 4. ถูกทั้ง 1 , 2 และ 3 
ตอบข้อ 2. เหตุผล เพราะระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน 
สารบรรณ พ.ศ. 2526 
ข้อ 8 ให้ปลัดสำานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามาระเบียบนี้ และให้มี 
อำานาจตีความและ 
วินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ รวมทั้งการแก้ไขเพิ่ม 
เติมภาคผนวกและจัดทำาคำาอธิบาย 
กับให้มีหน้าที่ดำาเนินการฝึกอบรมเกี่ยวกับงานสารบรรณ 
ดังนั้น ผู้รักษาการตามระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี คือ ปลัดสำานักนายก 
รัฐมนตรีตามข้อ 2. 
เก็ง – แนวข้อสอบ ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ 
พ.ศ. 2526 
ทดลองสอบดูสิค่ะ 
1. การทำาสำาเนาในระเบียบงานสารบรรณ ประกอบด้วยอะไร
1. การทำาสำาเนา กระทำาได้หลายวิธี เช่น คัด ถ่าย อัด เป็นต้น 
2. เอกสารทางราชการจำาเป็นต้องมีสำาเนาซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องส่งให้ผ ููู้ 
เกี่ยวข้องทราบหลายคน 
3. สำานักคู่ฉบับ หนังสือราชการเป็นหลักฐานที่สำาคัญในราชการ 
ระเบียบงานสารบรรณจึงบังคับให้มีสำาเนาคู่ฉบับ ไว้ 
อย่างน้อย 1 ฉบับ 
4. ถูกทุกข้อ 
2. หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการมี 6 ชนิด คือ 
ข้อใด 
1. หนังสือภายใน, หนังสือภายนอก, หนังสือที่มีไปมาระหว่าง 
กระทรวง, ส่วนราชการมีถึงบุคคลภายนอก และหนังสือที่ส่งออก และ 
หนังสือราชการสำาคัญเกี่ยวกับการเงิน 
2. หนังสือภายใน, หนังสือประทับตราแทนการลงชื่อ, หนังสือสั่งการ 
และโฆษณาหนังสือราชการที่ส่งออก และหนังสือราชการสำาคัญเกี่ยวกับ 
การเงิน 
3. หนังสือภายนอก, หนังสือภายใน, หนังสือประทับตราแทนการลงชื่อ, 
หนังสือสั่งการและโฆษณา และหนังสือที่ เจ้าหน้าที่ทำาขึ้นหรือรับไว้เป็น 
หลักฐาน 
4. ผิดทุกข้อ 
3. หนังสือส่งประกอบด้วยอะไรบ้าง 
1. หนังสือส่งก่อนดำาเนินการ ควรผ่านหัวหน้าฝ่ายทะเบียนส่ง หรือผู้ได้ 
รับมอบหมายก่อน 
2. หนังสือส่งเป็นหนังสือภายนอกที่ทำาเสร็จเรียบร้อยและมีการเซ็นตาม 
ระเบียบแล้วจะส่งไปให้ผู้รับ 
3. หนังสือส่งด่วน ด่วนมาก และมีกำาหนดเวลานั้นเป็นหน้าที่ของเจ้า 
หน้าที่ชั้นหัวหน้าผู้เป็นเจ้าของเรื่องจะเป็นผู้กำาหนด 
4. ถูกทุกข้อ 
4. ข้อใดเป็นหลักการประชุมจะต้องประกอบด้วย 
1. จะต้องมีสถานที่ประชุม ระเบียบวาระ และผู้จดบันทึกการประชุม 
2. จะต้องมีวาระการประชุม มีประธาน เลขานุการ ผู้เข้าประชุมครึ่งหนึ่ง 
ของจำานวน 
3. จะต้องมีประธาน รองประธาน เหรัญญิก เลขานุการ และผู้เข้า 
ประชุม 1 ใน 3 จึงจะครบองค์ประชุม 
4. จะต้องมีประธานที่ประชุม เลขานุการ ผู้เข้าประชุมจะต้องมีจำานวน 
เกินกว่าครึ่งของจำานวนจึงจะครบองค์ประชุม
5. การบันทึกคือข้อใด 
1. บันทึกย่อเรื่อง, บันทึกรายงาน, บันทึกความเห็น, บันทึกติดต่อ และ 
สั่งการ 
2. บันทึกข้อความ, บันทึกจดหมายเหตุ, บันทึกรายวันทำาการและบันทึก 
รายงานประจำาวัน 
3. บันทึกย่อความ, บันทึกเหตุการณ์ประจำาวัน, บันทึกรายงานเฉพาะ 
เรื่อง และบันทึกความเห็น 
4. บันทึกรายงานประจำาวัน, บันทึกย่อเรื่อง, บันทึกความเห็น และ 
บันทึกรายงานประจำาวัน 
6. งานสารบรรณคือข้อใด 
1. งานที่เกี่ยวกับระเบียบการร่างโต้ตอบหนังสือและเสนอความเห็น 
2. งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร 
3. งานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการติดต่อกับหน่วยงานทั้งภายในและ 
ภายนอกด้วย 
4. งานที่ทำาด้วยหนังสือนับตั้งแต่คิดร่าง, เขียน, แต่งพิมพ์, จดจำา, ทำา 
สำาเนา, ส่งรับบันทึก, ย่อเรื่องเสนอ, สั่งการ, ตอบ, เก็บเข้าที่และค้นหา 
7. ข้อใดคือหนังสือราชการ 
1. เอกสารของทางราชการ 2. เอกสารที่ราชการทำาขึ้น 
3. เอกสารโต้ตอบในราชการ 4. เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ 
8. หนังสือประทับตราแทนการลงชื่อให้ใช้ได้ในกรณีใด 
1. คำาแนะนำา 2. แถลงการณ์ 
3. หนังสือที่ไม่เกี่ยวกับราชการ 4. การส่งสิ่งของเอกสาร หรือ บรรณ 
สารระหว่างส่วนราชการ 
9. หนังสือราชการที่จัดทำาขึ้นให้มีสำานาคู่ฉบับไว้อย่างน้อยกี่ฉบับ 
1. 1 ฉบับ 2. 2 ฉบับ 3. 3 ฉบับ 4. 4 ฉบับ 
10. หนังสือเรื่องใดที่ต้องเก็บไว้เป็นหลักฐานทางราชการตลอดไป 
1. เรื่องที่เกี่ยวกับการเงิน 2. เรื่องที่เกี่ยวกับระเบียบ 
3. เรื่องที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ 4. ถูกทุกข้อ 
11. กรรมการดำาเนินการทำาลายหนังสือประกอบขึ้นด้วยบุคคลอย่าง 
น้อยกี่ค น 
1. 2 คน 2. 3 คน 3. 4 คน 4. เท่าใดก็ได้ 
12. ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรีคำาขึ้นต้นให้ใช้คำาว่าอะไร 
1. เรียน 2. เสนอ 3. กราบเรียน 4. ขอประธานกราบเรียน 
13. ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรีคำาลงท้ายให้ใช้คำาว่าอะไร 
1. ขอแสดงความนับถือ 2.ขอแสดงความเคารพนับถือ
3. ขอแสดงความนับถืออย่างสูง 4.ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง 
14. การจดบันทึกหรือรายงานการประชุมอาจทำาได้กี่วิธี 
1. 1 วิธี 2. 2 วิธี 3. 3 วิธี 4. 4 วิธี 
15. สำาเนาระเบียบ ข้อบังคับ หรือแจ้งความของกรมตำารวจ ให้ใครเป็น 
ผู้ลงนามรับรองว่าเป็นสำาเนาถูกต้อง 
1. หัวหน้ากองวิชาการ 2.หัวหน้ากองกำาลังพล 
3. เลขานุการกรมตำารวจ 4.ผู้บังคับการหรือหัวหน้าหน่วย 
16. หนังสือประทับตราคืออะไร 
1. ไม่มีบัญญัติไว้ในระเบียบ 
2. หนังสือติดต่อราชการที่เป็นพิธีน้อยกว่าหนังสือภายนอกและภายใน 
3. หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับ 
ก รมขึ้นไป 
4. หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับ 
ก องขึ้นไป 
17. “ประกาศ” จัดเป็นหนังสือชนิดใด 
1. หนังสือสั่งการ 2. หนังสือแถลงข่าว 3. หนังสือแถลงการณ์ 4. 
หนังสือประชาสัมพันธ์ 
18. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำาขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการมีกี ู่ 
ชนิด 
1. 1 ชนิด 2. 2 ชนิด 3. 3 ชนิด 4. 4 ชนิด 
19. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ แบ่งเป็นกี่ประเภท 
1. 2 ประเภท 2. 3 ประเภท 3. 4 ประเภท 4. 5 ประเภท 
20. หนังสือที่จัดทำาขึ้นโดยปกติให้มีสำาเนาคู่ฉบับ เก็บไว้ที่ต้นเรื่องกี่ 
ฉบับ 
1. 1 ฉบับ 2. 2 ฉบับ 3. 3 ฉบับ 4. 4 ฉบับ 
21. ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่างานสารบรรณฉบับปัจจุบันได้ใช้บัง 
คั บมาตั้งแต่เมื่อใด 
1. วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2506 2.วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516 
3. วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2518 4.วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2526 
22. หนังสือราชการของส่วนราชการต่างๆ ในสังกัดกระทรวง 
มหาดไทยในปัจจุบันทำาสำาเนากี่ชุด 
1. 2 ชุด 2. 3 ชุด 3. 4 ชุด 4. 5 ชุด 
23. การลงวัน เดือน ปี ของหนังสือติดต่อราชการให้ปฏิบัติดังนี้ 
1. หนังสือภายนอก ให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือนและตัวเลข 
ของปีพุทธศักราชที่ออกหนังสือ
2. ส่วนหนังสือภายในให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อย่อของเดือนและตัวเลข 
ของปีพุทธศักราชที่ออกหนังสือ 
3. ถูกทั้งข้อ 1. และ 2. 4. ไม่มีข้อใดถูก 
24. หนังสือที่ต้องจัดส่งและดำาเนินการทางสารบรรณโดยให้เจ้าหน้าที่ 
ปฏิบัติโดยเร็วนั้นจะต้องระบุตัวอักษร สีแดงให้เห็นชัดบนหนังสือแ ละ 
บนซองว่าอย่างไร 
1. ด่วน 2. ด่วนที่สุด 3. ด่วนมาก 4. ด่วนภายใน 
25. ระเบียบคือหนังสือชนิดหนึ่งที่จัดอยู่ในหนังสือประเภทใด 
1. หนังสือภายใน 2. หนังสือสั่งการ 
3. หนังสือภายนอก 4. หนังสือประทับตรา 
26. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำาขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการมี 4 
ชนิดคือข้อใด 
1. หนังสือรับรอง, รายงานการประชุม, บันทึก และหนังสือเวียน 
2. หนังสือรับรอง, รายงานการประชุม, บันทึก และหนังสืออื่น 
3. รายงานการประชุม, บันทึก, หนังสือเวียน และหนังสือ 
4. บันทึก, หนังสือเวียน, หนังสือรับรอง และหนังสืออื่น 
27. หนังสือราชการภาษาอังกฤษ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือข้อใด 
1. หนังสือโต้ตอบ และหนังสือแถลงข่าว 2. หนังสือช่วยจำา และบันทึก 
เตือนความจำา 
3. หนังสือที่ลงชื่อ และหนังสือที่มิต้องลงชื่อ 4. หนังสือที่เป็นแบบพิธี 
และหนังสือที่ไม่เป็นแบบพิธี 
28. อายุของการเก็บหนังสือ มีวิธีการปฏิบัติแบบใด 
1. หนังสือที่เกี่ยวกับการเงินทุกกรณี ให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 10 ปี 
2. หนังสือที่ต้องสงวนเป็นความลับ โดยปกติให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 10 ปี 
3. หนังสือที่ปฏิบัติงานเสร็จสิ้นแล้ว และเป็นคู่สำาเนาที่มีต้นเรื่องค้นได้ 
จากที่อื่นให้เก็บไว้น้อยกว่า 5 ปี 
4. หนังสือที่เป็นเรื่องธรรมดาและเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นเป็นประจำา เมื่อ 
ดำาเนินการแล้วเสร็จให้เก็บรักษาไว้ไม่น้อยกว่า 3 ปี 
29. การพิจารณาหนังสือที่จะขอทำาลายตามบัญชีหนังสือขอทำาลายเป็น 
หนังส ูือของใคร 
1. หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม 2. คณะกรรมการที่หัวหน้าส่วน 
ราชการระดับกรมแต่งตั้ง
3. ผู้ที่หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมมอบอำานาจให้ปฏิบัติราชการแทน 
4. คณะกรรมการที่ปลัดกระทรวงแต่งตั้ง โดยการเสนอของหัวหน้าส่วน 
ราชการระดับกรม 
30. รหัสตัวพยัญชนะสำาหรับสำานักงานตรวจเงินแผ่นดินและสำานัก 
เลขาธิการ รัฐสภากำาหนดไว้ตามลำาดับดังนี้ 
1. สต และ สภ 2. ตง และ รส 3. ตผ และ สภ 4. สตง และ สลร 
31. คำาสรรพนามสำาหรับเจ้าของหนังสือว่า “ข้าพระพุทธเจ้า” นอกจาก 
ใช้กับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและ 
พระบรมราชินีนาถ แล้วยังใช้กับใคร 
1. สมเด็จพระบรมราชชนนี 2. พระบรมวงศ์เธอชั้นพระองค์เจ้า 
3. สมเด็จพระยุพราช และสมเด็จเจ้าฟ้าทุกพระองค์ 4. ถูกทุกข้อ 
32. คำาว่า “คำาสั่ง” หมายถึงอะไร 
1. คำาสั่งด้วยวาจา, คำาสั่งเป็นลายลักษณ์อักษร และคำาสั่งที่บันทึกถึง 
ตัวผู้ปฏิบัติโดยเฉพาะ 
2. การสั่งด้วยการบันทึกทางจดหมาย และด้วยสื่อนำาสาร 
3. บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วย 
กฎหมาย 
4. การกระทำาด้วยหนังสือหรือเรียกเจ้าหน้าที่มาพบเพื่อสั่งการแต่ละ 
เรื่อง 
33. หนังสือที่ต้องปฏิบัติด้วยความรวดเร็วเป็นพิเศษ แบ่งเป็น 3 ประเภท 
คือข้อใด 
1. ลับด่วนมาก, ด่วนลับเฉพาะ และด่วนที่สุด 2. ด่วนที่สุด, ด่วนมาก 
และด่วน 
3. ด่วนภายในวันเวลาที่กำาหนด และด่วนลับเฉพาะ 4. ถูกทุกข้อ 
34. ข้อใดคือการเรียกเก็บหนังสือ 
1. เก็บให้เป็นระเบียบเพื่อค้นหาได้สะดวก 
2. เก็บโดยมิดชิดปลอดภัย และกำาหนดการเร่งด่วนในการขอย้าย 
3. การเก็บระหว่างปฏิบัติ การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้วและการเก็บไว้เพื่อ 
ใช้ในการตรวจสอ บ 
4. เก็บรวมเข้าแฟ้มสะดวกในการค้นหาเรื่องเดิม เก็บเพื่อเป็นหลักฐาน 
และเก็บเพื่ออ้างอิงในการปฏิบัติ 
35. การส่งหนังสือราชการ คือข้อใด 
1. เพื่อความสะดวก รวดเร็ว จะส่งที่ใดก็ได้ถ้าพบตัวผู้ดำารงตำาแหน่งนั้น
2. หนังสือราชการที่มีไปถึงผู้รับในตำาแหน่งที่ราชการห้ามมิให้นำาส่งยัง 
บ้านพักของผู้ดำารงตำาแหน่งนั้นโดยเด็ดขาด 
3. ถ้าเป็นหนังสือราชการด่วนมากหรือด่วนที่สุด ก็ไปส่งที่บ้านพักได้ 
เป็นกรณีพิเศษแต่ต้องไปลงบัญชีรับ ณ ที่ทำาการตามระเบียบ 
4. ผิดทุกข้อ 
36. ระเบียบว่าด้วยงานสารบรรณ คือข้อใด 
1. การกำาหนดวิธีปฏิบัติเฉพาะงานโต้ตอบหนังสือ 
2. การสั่งให้เจ้าหน้าที่สารบรรณร่างโต้ตอบและเก็บรักษาหนังสือ 
3. บรรดาข้อความที่ผู้มีอำานาจหน้าที่ได้วางไว้โดยจะอาศัยอำานาจของ 
กฎหมายหรือไม่ก็ได้เพื่อถือเป็นหลักปฏิบัติ 
4. ผิดทุกข้อ 
37. การร่างหนังสือมีความมุ่งหมายอะไร 
1. เพื่อให้มีการตรวจแก้ไขให้เหมาะสมถูกต้องตามระเบียบ 
2. เพื่อเรียบเรียงข้อความตามเรื่องที่จะแจ้งความประสงค์ไปยังผู้รับ 
3. เพื่อผู้ร่างเข้าใจในร่างโดยขึ้นต้นต่อไปเป็นความประสงค์และข้อ 
ตกลงโดยสมบูรณ์ทั้งเนื้อเรื่อง 
และถ้อยคำา 
4. ถูกทุกข้อ 
38. งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสารเริ่มแต่การจัดทำาการรับ การ 
ส่ง การเก็บรักษา การยืมจนถึงการทำาลาย เรียกว่างานอะไร 
1. งานเลขานุการ 2. การบริหารงาน 3. งานสารบรรณ 4. การอำานวย 
การ 
39. ใครเป็นผู้รักษาการตามระเบียบว่าด้วยงานสารบรรณ 
1. เลขาธิการ ก.พ. 2. ปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี 
3. สำานักทำาเนียบนายกรัฐมนตรี 4. ปลัดบัญชาการสำานักนายกรัฐมนตรี 
40. เอกสารที่ทางราชการจัดทำาขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบบังคับ เรียก 
ว่าอะไร 
1. เอกสารราชการ 2. หนังสือราชการ 3. หนังสืออำานวยการ 4. ถูก 
ทุกข้อ 
41. หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยเป็นหนังสือติดต่อภายในก 
ระทรวง ทบวง กรม จังหวัดเดียวกัน เรียกว่าอะไร 
1. หนังสือภายนอก 2. หนังสือภายใน 3. หนังสือสั่งการ 4. ถูกทุกข้อ 
42. หนังสือที่ปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติแบ่งออกเป็น 
1. 2 ประเภท 2. 3 ประเภท 3. 4 ประเภท 4. ไม่มีข้อใดถูก
43. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำาขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการมี 4 
ชนิด คืออะไร 
1. หนังสือรับรอง, รายงานการประชุม, บันทึก และหนังสืออื่น 
2. หนังสือรับรอง, รายงานการประชุม, บันทึก และหนังสือเวียน 
3. รายงานการประชุม, บันทึก, หนังสือเวียน และหนังสืออื่น 
4. บันทึก, หนังสือเวียน, หนังสือรับรอง และหนังสืออื่น 
44. เลขที่หนังสือส่งออกสำาหรับส่วนราชการในส่วนกลาง ซึ่งประกอบ 
ด้วยตัวเลขสี่ตัวนั้นมีความหมายอย่างไร 
1. สองตัวแรก หมายถึง กรม ส่วนสองตัวหลัง หมายถึง กอง 
2. สองตัวแรก หมายถึง ส่วนสองตัวหลัง หมายถึง ประเภทของหนังสือ 
3. สองตัวแรก หมายถึง กระทรวง หรือ ทบวง ส่วนสองตัวหลัง หมายถึง 
กรม 
4. ไม่มีข้อใดถูก 
45. หนังสือที่ต้องจัดส่งและดำาเนินการทางสารบรรณ โดยให้เจ้าหน้าที่ 
ปฏิบัติโดยเร็ว จะต้องระบุตัวอักษรสีแดงให้เห็นชัดบนหนังสือและบน 
ซองว่าอะไร 
1. ด่วน 2. ด่วนที่สุด 3. ด่วนมาก 4. ด่วนภายใน 
46. คำาสรรพนามสำาหรับเจ้าของหนังสือที่ว่า “ข้าพระพุทธเจ้า” 
นอกจากจะใช้กับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระบรม 
ราชินีแล้วยังใช้กับใคร 
1. สมเด็จเจ้าฟ้า 2. สมเด็จพระบรมราชชนนี 
3.พระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า 4.ถูกทุกข้อ 
47. บันทึกช่วยจำา คือ หนังสือที่ใช้สำาหรับอะไร 
1. ชี้แจงข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น 2. ขอร้องหรือประท้วงในบางเรื่อง 
3. ยืนยันข้อความในเรื่องที่ได้สนทนาไว้แล้ว 4. ถูกทุกข้อ 
48. ข้อใดกล่าวถึงการส่งหนังสือราชการถูกต้อง 
1. เพื่อความสะดวกและรวดเร็วจะส่งที่ใดก็ได้ถ้าพบตัวผู้ดำารงตำาแหน่ง 
นั้น 
2. หนังสือราชการที่มีไปถึงผู้รับในตำาแหน่งหน้าที่ราชการห้ามมิให้ นำา 
ส่งยังบ้านพักโดยเด็ดขาด 
3. ถ้าเป็นหนังสือราชการด่วนมากหรือด่วนที่สุด ก็ไปส่งที่บ้านพักได้ 
เป็นกรณีพิเศษ แต่ต้องไปลงบัญชีรับ ณ ที่ทำาการ 
ตามระเบียบ 
4. ผิดทุกข้อ
49. การปฏิบัติเกี่ยวกับหนังสือที่เก็บโดยมีกำาหนดให้ปฏิบัติอย่างไร 
1. ให้หมายเหตุไว้หน้าแฟ้มที่เก็บรวมเรื่อง 2. ให้แจ้งกับเจ้าหน้าที่ 
สารบรรณทราบทั่วกัน 
3. ให้เก็บใส่ตู้เอกสารแล้วทำาเครื่องหมายไว้ 
4. ให้ประทับตราคำาว่า “เก็บถึง พ.ศ….”ด้วยหมึกสีนำ้าเงินและลงเลข 
ของปี พ.ศ. ที่ให้เก็บถึงด้วย 
50. คำาว่า “คำาสั่ง” คืออะไร 
1. การสั่งด้วยบันทึกทางจดหมายและด้วยพลนำาสาร 
2. บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วย 
กฎหมาย 
3. การกระทำาด้วยหนังสือหรือเรียกเจ้าหน้าที่มาพบเพื่อสั่งการแต่ละ 
เรื่อง 
4. คำาสั่งด้วยวาจา คำาสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรและเป็นคำาสั่งที่บันทึกถึง 
ตัวผู้ปฏิบัติโดยเฉพาะ

Contenu connexe

Tendances

พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552วัชรินทร์ ใจจะดี
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
งานสารบรรณ(1)
งานสารบรรณ(1)งานสารบรรณ(1)
งานสารบรรณ(1)Nug Bodyslam
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีrattanalive
 
สรุประเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ...
สรุประเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ...สรุประเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ...
สรุประเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพศ 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 8...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพศ 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 8...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพศ 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 8...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพศ 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 8...ประพันธ์ เวารัมย์
 
ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการtechno UCH
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗ และแก้ไขเ...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗ และแก้ไขเ...ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗ และแก้ไขเ...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗ และแก้ไขเ...ประพันธ์ เวารัมย์
 

Tendances (15)

พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
 
สรุปว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541
สรุปว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  พ.ศ. 2541สรุปว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  พ.ศ. 2541
สรุปว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
 
งานสารบรรณ(1)
งานสารบรรณ(1)งานสารบรรณ(1)
งานสารบรรณ(1)
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
 
แนวข้อสอบส่วนราชการต่างๆ
แนวข้อสอบส่วนราชการต่างๆแนวข้อสอบส่วนราชการต่างๆ
แนวข้อสอบส่วนราชการต่างๆ
 
สรุประเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ...
สรุประเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ...สรุประเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ...
สรุประเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ...
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพศ 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 8...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพศ 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 8...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพศ 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 8...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพศ 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 8...
 
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
 
ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษรวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗ และแก้ไขเ...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗ และแก้ไขเ...ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗ และแก้ไขเ...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗ และแก้ไขเ...
 
1474595020.pdf ปุ๋ย 9
1474595020.pdf ปุ๋ย 91474595020.pdf ปุ๋ย 9
1474595020.pdf ปุ๋ย 9
 

En vedette

ระเบียบสารบรรณ 2548 เพิ่มเติมหมวด3 ว่าด้วยสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ระเบียบสารบรรณ 2548 เพิ่มเติมหมวด3 ว่าด้วยสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ระเบียบสารบรรณ 2548 เพิ่มเติมหมวด3 ว่าด้วยสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ระเบียบสารบรรณ 2548 เพิ่มเติมหมวด3 ว่าด้วยสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์KKU Archive
 
โครงสร้างการบริหารโรงเรียน
โครงสร้างการบริหารโรงเรียนโครงสร้างการบริหารโรงเรียน
โครงสร้างการบริหารโรงเรียนtalzaza
 
ตัวอย่างหนังสือภายนอก
ตัวอย่างหนังสือภายนอกตัวอย่างหนังสือภายนอก
ตัวอย่างหนังสือภายนอกWoodyThailand
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)ประพันธ์ เวารัมย์
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)ประพันธ์ เวารัมย์
 

En vedette (9)

ระเบียบสารบรรณ 2548 เพิ่มเติมหมวด3 ว่าด้วยสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ระเบียบสารบรรณ 2548 เพิ่มเติมหมวด3 ว่าด้วยสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ระเบียบสารบรรณ 2548 เพิ่มเติมหมวด3 ว่าด้วยสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ระเบียบสารบรรณ 2548 เพิ่มเติมหมวด3 ว่าด้วยสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
 
โครงสร้างการบริหารโรงเรียน
โครงสร้างการบริหารโรงเรียนโครงสร้างการบริหารโรงเรียน
โครงสร้างการบริหารโรงเรียน
 
ตัวอย่างหนังสือภายนอก
ตัวอย่างหนังสือภายนอกตัวอย่างหนังสือภายนอก
ตัวอย่างหนังสือภายนอก
 
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
 
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 okแนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
 

ระเบียบงานสารบรรณสำนักนายกรัฐมนตรี

  • 1. ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 94 ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณที่ใช้ที่ใช้ถือ ปฏิบ ััติในขณะนี้เป็นฉบับ พ.ศ. ใด 1. พ.ศ. 2506 2. พ.ศ. 2507 3. พ.ศ. 2522 4. พ.ศ. 2526 ตอบข้อ 4. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำน สำรบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 1. ระเบียบนี้เรียกว่ำ “ ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำน สำรบรรณ พ.ศ. ดังนั้น ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำนสำรบรรณ เป็นฉบับ พ.ศ. 2526 ตำมข้อ 4 ข้อ 95. รหัสพยัญชนะประจำำกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คือ 1. กส 2. กก 3. กษ 4. กร ตอบข้อ 3. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำน สำรบรรณ พ.ศ. 2526 ภำคผนวก 1 กำรกำำหนดเลขที่หนังสือออก ข้อ 1.1 รหัสตัวพยัญชนะประจำำกระทรวง ทบวง และส่วนรำชกำรที่ไม่ สังกัดสำำนักนำยกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง ให้กำำหนดไว้ดังนี้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กษ ดังนั้น รหัสตัวพยัญชนะประจำำกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คือ กษ ตำมข้อ 3 ข้อ 96. ส่วนรำชกำรใดที่ไม่สังกัดสำำนักนำยกรัฐมนตรีกระทรวงหรือ ทบวง 1. สำำนักพระรำชวัง 2. สำำนักงำนเลขำธิกำรวุฒิสภำ 3. สำำนักงำนตรวจเงินแผ่นดิน 4. ถูกทุกข้อ ตอบข้อ 4. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำน สำรบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 1.1 ส่วนรำชกำรไม่สังกัดสำำนักนำยกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง ได้แก่ สำำนักพระรำชวัง สำำนักงำนตรวจเงินแผ่นดิน สำำนักงำนเลขำธิกำร วุฒิสภำ ดังนั้น ทั้งสำำนักงำนพระรำชวังสำำนักงำนเลขำธิกำรวุฒิสภำ และ สำำนักงำนตรวจเงินดิน เป็นส่วน
  • 2. รำชกำรที่ไม่สังกัดสำำนักนำยกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม ตำมข้อ 4 ข้อ 97. รหัสตัวพยัญชนะประจำำจังหวัดนครศรีธรรมรำช คือ 1. นร. 2. นธ 3. นม 4. นส ตอบข้อ 4. เหตุผลเพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำน สำรบรรณ พ.ศ. 2526 ภำคผนวก 1 กำรกำำหนดเลขที่หนังสือออก ข้อ 1.2 รหัสพยัญชนะประจำำจังหวัด และกรุงเทพมหำนคร ให้กำำหนด ไว้ ดังนี้ นครศรีธรรมรำช นศ. ดังนั้น รหัสตัวพยัญชนะประจำำจังหวัดนครศรีธรรมรำช คือ นศ ตำมข้อ 4 ข้อ 98. Aide – Memoire คืออะไร 1. หนังสือกลำง 2. บันทึกช่วยจำำ 2. บันทึก 4. งำนสำรบรรณของโรงพยำบำล ตอบข้อ 2. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำน สำรบรรณ พ.ศ. 2526 ภำคผนวก 4 ข้อ 2.2.2 บันทึกช่วยจำำ (Aide - Memoire ) ดังนั้น Aide - Memoire คือบันทึกช่วยจำำ ตำมข้อ 2. ข้อ 99. ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 ให้ใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด 1. 1 มกรำคม 2526 2. 1 มิถุนำยน 2526 3. 1 ตุลำคม 2526 4. 1 ธันวำคม 2526 ตอบข้อ 2. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำน สำรบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนำยน 2526 เป็นต้น ดังนั้น ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 มี ผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มิถุนำยน 2526 ตำมข้อ 2. ข้อ 100. “ บันทึกช่วยจำำ “ คืออะไร 1. หนังสือที่ใช้สำำหรับแถลงรำยละเอียด 2. หนังสือรำชกำรที่ใช้สรรพนำมบุรุษที่ 3 3. หนังสือที่ใช้สำำหรับเรื่องที่มีควำมสำำคัญ 4. หนังสือที่ใช้สำำหรับยืนยันข้อควำมในเรื่องที่สนทนำ
  • 3. ตอบข้อ 4. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำน สำรบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 2.2.2 บันทึกช่วยจำำ คือ หนังสือที่ใช้สำำหรับยืนยันข้อควำมในเรื่อง ที่สนทนำ ดังนั้น บันทึกช่วยจำำ คือ หนังสือที่ใช้สำำหรับยืนยันข้อควำมในเรื่องที่ สนทนำตำมข้อ 4 ข้อ 101. เลขหนังสือ “ ที่ นม 0015 “ ตัวเลข 15 หมำยถึงแผนกอะไร 1. ขนส่ง 2. ปกครอง 3. สำำนักงำนจังหวัด 4. ประชำสงเครำะห์ ตอบข้อ 1. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำน สำรบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 2.2.2 ตัวเลขสองตัวหลัง หน่วยงำนส่วนภูมิภำคที่สังกัดจังหวัด หรือ อำำเภอ โดยให้กำำหนด ดังนี้ กระทรวงคมนำคม ขนส่ง 15 ดังนั้น เลขที่หนังสือ “ ที่ นม 0015 “ ตัวเลข 15 หมำยถึง ขนส่งตำม ข้อ 1 ข้อ 102. “ ทำำกำรแทน “ ใช้ในกรณี 1. อธิบดีมอบหมำยให้รองอธิบดีหรือผู้ช่วยอธิบดีทำำกำรแทน 2. ปลัดกระทรวงมอบหมำยให้รองปลัดกระทรวงหรือผู้ช่วยทำำกำรแทน 3. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดมอบหมำยอำำนำจโดยทำำเป็นหนังสือให้รองผู้ว่ำฯ หัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำำ จังหวัดคนใดทำำกำรแทน 4. ถูกทั้งข้อ 1 และ 3 ตอบข้อ 1. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำน สำรบรรณ พ.ศ. 2526 ภำคผนวก 3 กำรลงชื่อและตำำแหน่ง ข้อ 2.3 ทำำกำรแทน พระธรรมนูญศำลยุติธรรม กำำหนดให้ใช้คำำว่ำ ทำำกำรแทนในกรณีที่ตำำแหน่ง ข้ำรำชกำรฝ่ำยตุลำกำรว่ำลง หรือดำำรงตำำแหน่งไม่อำจปฏิบัติรำชกำร ได้ ดังนั้น “ ทำำกำรแทน ” ใช้ในกรณีที่ อธิบดีมอบหมำยให้รองอธิบดีหรือผู้ ช่วยอธิบดีทำำกำรแทน ตำมข้อ 1. ข้อ 103. ถ้ำต้องกำรให้รัฐวิสำหกิจ หรือหน่วยงำนใดที่ไม่เป็นส่วน รำชกำรใช้รหัสตัวพยัญชนะของส่วนรำ ชกำร
  • 4. ที่สังกัดตัวเลข 2 ตัวแรกที่จะใช้เริ่มจำกเลขอะไร 1. 00 2. 15 3. 50 4. 51 ตอบข้อ 4. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำดัวยงำน สำรบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 2.4 ในกรณีที่ประสงค์จะให้รัฐวิสำหกิจหรือหน่วยงำนอื่นใด ที่มิได้ เป็นส่วนรำชกำรซึ่งอยู่ใน สังกัด ใช้รหัสตัวพยัญชนะของกระทรวง ทบวง กรม ส่วนรำชกำรที่ไม่ ได้สังกัดสำำนักนำยก รัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัด แล้วแต่กรณีให้ใช้ตัวเลข สองตัวแรก เริ่มจำก 51 เรียงไปตำมลำำดับ ดังนั้น ถ้ำต้องกำรให้รัฐวิสำหกิจ หรือหน่วยงำนใดที่ไม่เป็นส่วนรำชกำร ใช้รหัสตัวพยัญชนะของส่วน รำชกำรที่สังกัดตัวเลข 2 ตัวแรกจะใช้เริ่มจำก เลข 51 เรียงไปตำม ลำำดับ ตำมข้อ 4. ข้อ 104. ก่อนที่จะมีกำรใช้ระเบียบงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 นั้น มี กำรใช้ระเบียบงำนสำรบรรณ 1. พ.ศ. 2505 2. พ.ศ. 2506 3. พ.ศ. 2507 4. พ.ศ. 2508 ตอบข้อ 2. เหตุผล เพรำะระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำน สำรบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 3 ให้ยกเลิก 3.1 ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2506 3.2 ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยกำรลงชื่อในหนังสือรำชกำร พ.ศ. 2507 3.2 ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยกำรลงชื่อในหนังสือรำชกำร (ฉ บับที่ 2 ) พ.ศ. 2516 ดังนั้น ก่อนที่กำรใช้ระเบียบงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 มีกำรใช้ ระเบียบงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2506 มำก่อน ตำมข้อ 2. ข้อ 105. ระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 ให้ใช้บังคับแก่หน่วยงำนใดบ้ำง 1. ส่วนรำชกำร 2. สถำนศึกษำของเอกชน 3. รัฐวิสำหกิจ 4. ถูกทุกข้อ
  • 5. ตอบข้อ 1. เหตุผล เพราะระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน สารบรรณ พ.ศ. 2506 ข้อ 4 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ ส่วนราชการใดมีความ จำาเป็นที่จะต้องปฏิบัติงาน สารบรรณนอกเหนือไปจากที่กำาหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้ขอทำาความ ตกลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้ ดังนั้น ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าดัวยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ ตามข้อ 1. ข้อ 106. ส่วนราชการแห่งหนึ่งมีลักษณะการทำางานเป็นพิเศษจาก หน่วยงานอื่นแ ละมีความจำาเป็นจะต้องปฏิบัติ งานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีที่กำาหนด ไว ้้ ส่วนราชการนั้น จะกระทำา ได้หรือไม่เพียงไร 1. ย่อมกระทำาได้ 2. ผู้รักษาการตามระเบียบนี้ให้ความชอบ 3. กระทำามิได้ 4. ถูกเฉพาะข้อ 1 และ 2 ตอบข้อ 2. เหตุผล เพราะระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน สารบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 4 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ ส่วนราชการใดมีความ จำาเป็นที่จะต้องปฏิบัติงาน สารบรรณนอกเหนือไปจากที่กำาหนดไว้ในระเบียบนี้ให้ขอทำาความตก ลงกั บผู้รักษาการตามระเบียบนี้ ดังนั้น ส่วนราชการที่มีความจำาเป็นจะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอก เหนือไปจา กที่ระเบียบสำานัก นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ต้องขอทำาความ ตกลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้ ดังนี้ ผู้รักษาการตามระเบียบนี้ ต้องให้ความเห็นชอบ ตามข้อ 2. ข้อ 107. ข้อใดมิใช่เป็นความหมายของ “ งานสารบรรณ ” 1. งานบริหารงานเอกสาร 2. การรับ การส่ง การรักษาเอกสาร 2. การจัดทำาร่างระเบียบงานสารบรรณ 4. การยืม การทำาลายเอกสาร ตอบข้อ 3 เหตุผล เพราะระเบียบสำานักงานนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน สารบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 6 ในระเบียบนี้ “ งานสารบรรณ ” หมายความว่า งานที่เกี่ยวกับการบริหารเอกสาร เริ่ม ตั้งแต่การจัดทำาการรับการ
  • 6. การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำาลาย ดังนั้น การจัดทำาร่างระเบียบงานสารบรรณ จึงมิใช้ความหมายของ “ งานสารบรรณ ” ตามระเบียบ สำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ตามข้อ 3. ข้อ 108. งานสารบรรณตามระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงาน สารบรรณ พ.ศ. 2526 หมายความว่าอย่างไร 1. งานหนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงส่วนราชการด้วยกัน 2. งานหนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งที่เป็นส่วน ราชการ และมิใช่ส่วนราชการ 3. งานเกี่ยวกับการบริหารเอกสารเริ่มตั้งการจัดทำาการรับ การส่ง การ เก็บรักษา การยืม จนถึงการทำาลาย 4. ที่กล่าวแล้วไม่มีข้อใดถูก ตอบข้อ 3. เหตุผล เพราะระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน สารบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 6 ในระเบียบนี้ “ งานสารบรรณ ” หมายความว่า งานที่เกี่ยวกับการ บริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำา การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการ ทำาลาย ดังนั้น งานสารบรรณ มีความหมายตามข้อ 3. ข้อ 109. “ บรรณสาร ” หมายถึงอะไร 1. หนังสือราชการ 2. สิ่งของ 3. บรรณารักษ์ 4. ระเบียบงานสารบรรณ ตอบข้อ 1. เหตุผล เพราะระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน สารบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 6 ในระเบียบนี้ “ งานสารบรรณ ” หมายความว่า งานที่เกี่ยวกับการ บริหารเอกสาร เริ่มตั้งแต่ การจัดการรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำาลาย ดังนั้น “ บรรณสาร ” จึงหมายถึง หนังสือราชการ ตามข้อ 1. ข้อ 110. ข้อใดที่ไม่เป็นส่วนราชการตามระเบียบงานสารบรรณ 1. รัฐวิสาหกิจ 2. สุขาภิบาล 3. คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ 4. มหาวิทยาลัยรามคำาแหง ตอบข้อ 1. เหคุผล เพราะระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน สารบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 6 ในระเบียบนี้ “ ส่วนราชการ ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง
  • 7. กรม สำานักงานหรือ หน่วยงานอื่นใดของรัฐ ทั้งในราชการบริหารส่วนกลาง ราชการส่วน ภูมิภาค ราชการบริหารส่วน ท้องถิ่น และให้หมายความรวมถึงคณะกรรมการด้วย ดังนั้น รัฐวิสาหกิจไม่เป็นส่วนราชการ ตามระเบียบงานสารบรรณ ตาม ข้อ 1. ข้อ 111. ข้อใดที่เป็นส่วนราชการ ตามความหมายของระเบียบงาน สารบรรณ 1. สถานทูตไทยในสหรัฐอเมริกา 2. สภาตำาบท 3. สุขาภิบาล 4. ถูกทุกข้อ ตอบข้อ 4. เหตุผล เพราะระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน สารบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 6 ในระเบียบนี้ “ ส่วนราชการ ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม สำานักงานหรือ หน่วยงานอื่นใดของรัฐ ทั้งในราชการบริหารส่วนกลาง ราชการภูมิภาค ราชการบริหารส่วนภูมิภาค หรือในต่างประเทศ และให้หมายความรวมถึงคณะกรรมการด้วย ดังนั้น สถานทูตไทยในสหรัฐอเมริกา สภาตำาบล สุขาภิบาล เป็นส่วน ราชการตามความหมายของ ระเบียบงานสารบรรณ ตามข้อ 4. ข้อ 112. “ หนังสือ” ในความหมายของระเบียบงานสารบรรณ หมายความว่าอย่างไร 1. หนังสือราชการ 2. หนังสือทุกประเภท 3. ปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี 4. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ตอบข้อ 1. เหตุผล เพราะระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน สารบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 6 ในระเบียบนี้ “ หนังสือ ” หมายความว่า หนังสือราชการ ดังนั้น “ หนังสือ ” ตามระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน สารบรรณ พ.ศ. 2526 หมายถึง หนังสือราชการ ตามข้อ 1. ข้อ 113. ใครเป็นผู้รักษาการตามระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย งานสรบรรณ พ.ศ. 2526 1. นายกรัฐมนตรี 2. รองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมาย 3. ปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี 4. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ตอบข้อ 3. เหตุผล เพราะระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน
  • 8. สารบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 8 ให้ปลัดสำานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้ รวมทั้งการ แก้ไขเพิ่มเติมภาคผนวก และจัดทำาคำาอธิบาย กับให้มีหน้าที่ดำาเนินการฝึกอบรมเกี่ยวกับงาน สารบรรณ ดังนั้น ผู้รักษาการตามระเบียบนี้ มีอำานาจหน้าที่ ตีความเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามระเบียบงาน สารบรรณ วินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบงานสารบรรณ แก้ไขเพิ้่มเติมเกี่ยวกับงาน สารบรรณ ตามข้อ 4. ข้อ 115. ใครเป็นผู้รักษาการตามระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย งานสารบร รณ พ.ศ. 2526 1. รัฐมนตรีประจำาสำานักนายกรัฐมนตรี 2. ปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี 3. นายกรัฐมนตรี 4. ถูกทั้ง 1 , 2 และ 3 ตอบข้อ 2. เหตุผล เพราะระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงาน สารบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 8 ให้ปลัดสำานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามาระเบียบนี้ และให้มี อำานาจตีความและ วินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ รวมทั้งการแก้ไขเพิ่ม เติมภาคผนวกและจัดทำาคำาอธิบาย กับให้มีหน้าที่ดำาเนินการฝึกอบรมเกี่ยวกับงานสารบรรณ ดังนั้น ผู้รักษาการตามระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี คือ ปลัดสำานักนายก รัฐมนตรีตามข้อ 2. เก็ง – แนวข้อสอบ ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ทดลองสอบดูสิค่ะ 1. การทำาสำาเนาในระเบียบงานสารบรรณ ประกอบด้วยอะไร
  • 9. 1. การทำาสำาเนา กระทำาได้หลายวิธี เช่น คัด ถ่าย อัด เป็นต้น 2. เอกสารทางราชการจำาเป็นต้องมีสำาเนาซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องส่งให้ผ ููู้ เกี่ยวข้องทราบหลายคน 3. สำานักคู่ฉบับ หนังสือราชการเป็นหลักฐานที่สำาคัญในราชการ ระเบียบงานสารบรรณจึงบังคับให้มีสำาเนาคู่ฉบับ ไว้ อย่างน้อย 1 ฉบับ 4. ถูกทุกข้อ 2. หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการมี 6 ชนิด คือ ข้อใด 1. หนังสือภายใน, หนังสือภายนอก, หนังสือที่มีไปมาระหว่าง กระทรวง, ส่วนราชการมีถึงบุคคลภายนอก และหนังสือที่ส่งออก และ หนังสือราชการสำาคัญเกี่ยวกับการเงิน 2. หนังสือภายใน, หนังสือประทับตราแทนการลงชื่อ, หนังสือสั่งการ และโฆษณาหนังสือราชการที่ส่งออก และหนังสือราชการสำาคัญเกี่ยวกับ การเงิน 3. หนังสือภายนอก, หนังสือภายใน, หนังสือประทับตราแทนการลงชื่อ, หนังสือสั่งการและโฆษณา และหนังสือที่ เจ้าหน้าที่ทำาขึ้นหรือรับไว้เป็น หลักฐาน 4. ผิดทุกข้อ 3. หนังสือส่งประกอบด้วยอะไรบ้าง 1. หนังสือส่งก่อนดำาเนินการ ควรผ่านหัวหน้าฝ่ายทะเบียนส่ง หรือผู้ได้ รับมอบหมายก่อน 2. หนังสือส่งเป็นหนังสือภายนอกที่ทำาเสร็จเรียบร้อยและมีการเซ็นตาม ระเบียบแล้วจะส่งไปให้ผู้รับ 3. หนังสือส่งด่วน ด่วนมาก และมีกำาหนดเวลานั้นเป็นหน้าที่ของเจ้า หน้าที่ชั้นหัวหน้าผู้เป็นเจ้าของเรื่องจะเป็นผู้กำาหนด 4. ถูกทุกข้อ 4. ข้อใดเป็นหลักการประชุมจะต้องประกอบด้วย 1. จะต้องมีสถานที่ประชุม ระเบียบวาระ และผู้จดบันทึกการประชุม 2. จะต้องมีวาระการประชุม มีประธาน เลขานุการ ผู้เข้าประชุมครึ่งหนึ่ง ของจำานวน 3. จะต้องมีประธาน รองประธาน เหรัญญิก เลขานุการ และผู้เข้า ประชุม 1 ใน 3 จึงจะครบองค์ประชุม 4. จะต้องมีประธานที่ประชุม เลขานุการ ผู้เข้าประชุมจะต้องมีจำานวน เกินกว่าครึ่งของจำานวนจึงจะครบองค์ประชุม
  • 10. 5. การบันทึกคือข้อใด 1. บันทึกย่อเรื่อง, บันทึกรายงาน, บันทึกความเห็น, บันทึกติดต่อ และ สั่งการ 2. บันทึกข้อความ, บันทึกจดหมายเหตุ, บันทึกรายวันทำาการและบันทึก รายงานประจำาวัน 3. บันทึกย่อความ, บันทึกเหตุการณ์ประจำาวัน, บันทึกรายงานเฉพาะ เรื่อง และบันทึกความเห็น 4. บันทึกรายงานประจำาวัน, บันทึกย่อเรื่อง, บันทึกความเห็น และ บันทึกรายงานประจำาวัน 6. งานสารบรรณคือข้อใด 1. งานที่เกี่ยวกับระเบียบการร่างโต้ตอบหนังสือและเสนอความเห็น 2. งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร 3. งานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการติดต่อกับหน่วยงานทั้งภายในและ ภายนอกด้วย 4. งานที่ทำาด้วยหนังสือนับตั้งแต่คิดร่าง, เขียน, แต่งพิมพ์, จดจำา, ทำา สำาเนา, ส่งรับบันทึก, ย่อเรื่องเสนอ, สั่งการ, ตอบ, เก็บเข้าที่และค้นหา 7. ข้อใดคือหนังสือราชการ 1. เอกสารของทางราชการ 2. เอกสารที่ราชการทำาขึ้น 3. เอกสารโต้ตอบในราชการ 4. เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ 8. หนังสือประทับตราแทนการลงชื่อให้ใช้ได้ในกรณีใด 1. คำาแนะนำา 2. แถลงการณ์ 3. หนังสือที่ไม่เกี่ยวกับราชการ 4. การส่งสิ่งของเอกสาร หรือ บรรณ สารระหว่างส่วนราชการ 9. หนังสือราชการที่จัดทำาขึ้นให้มีสำานาคู่ฉบับไว้อย่างน้อยกี่ฉบับ 1. 1 ฉบับ 2. 2 ฉบับ 3. 3 ฉบับ 4. 4 ฉบับ 10. หนังสือเรื่องใดที่ต้องเก็บไว้เป็นหลักฐานทางราชการตลอดไป 1. เรื่องที่เกี่ยวกับการเงิน 2. เรื่องที่เกี่ยวกับระเบียบ 3. เรื่องที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ 4. ถูกทุกข้อ 11. กรรมการดำาเนินการทำาลายหนังสือประกอบขึ้นด้วยบุคคลอย่าง น้อยกี่ค น 1. 2 คน 2. 3 คน 3. 4 คน 4. เท่าใดก็ได้ 12. ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรีคำาขึ้นต้นให้ใช้คำาว่าอะไร 1. เรียน 2. เสนอ 3. กราบเรียน 4. ขอประธานกราบเรียน 13. ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรีคำาลงท้ายให้ใช้คำาว่าอะไร 1. ขอแสดงความนับถือ 2.ขอแสดงความเคารพนับถือ
  • 11. 3. ขอแสดงความนับถืออย่างสูง 4.ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง 14. การจดบันทึกหรือรายงานการประชุมอาจทำาได้กี่วิธี 1. 1 วิธี 2. 2 วิธี 3. 3 วิธี 4. 4 วิธี 15. สำาเนาระเบียบ ข้อบังคับ หรือแจ้งความของกรมตำารวจ ให้ใครเป็น ผู้ลงนามรับรองว่าเป็นสำาเนาถูกต้อง 1. หัวหน้ากองวิชาการ 2.หัวหน้ากองกำาลังพล 3. เลขานุการกรมตำารวจ 4.ผู้บังคับการหรือหัวหน้าหน่วย 16. หนังสือประทับตราคืออะไร 1. ไม่มีบัญญัติไว้ในระเบียบ 2. หนังสือติดต่อราชการที่เป็นพิธีน้อยกว่าหนังสือภายนอกและภายใน 3. หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับ ก รมขึ้นไป 4. หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับ ก องขึ้นไป 17. “ประกาศ” จัดเป็นหนังสือชนิดใด 1. หนังสือสั่งการ 2. หนังสือแถลงข่าว 3. หนังสือแถลงการณ์ 4. หนังสือประชาสัมพันธ์ 18. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำาขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการมีกี ู่ ชนิด 1. 1 ชนิด 2. 2 ชนิด 3. 3 ชนิด 4. 4 ชนิด 19. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ แบ่งเป็นกี่ประเภท 1. 2 ประเภท 2. 3 ประเภท 3. 4 ประเภท 4. 5 ประเภท 20. หนังสือที่จัดทำาขึ้นโดยปกติให้มีสำาเนาคู่ฉบับ เก็บไว้ที่ต้นเรื่องกี่ ฉบับ 1. 1 ฉบับ 2. 2 ฉบับ 3. 3 ฉบับ 4. 4 ฉบับ 21. ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่างานสารบรรณฉบับปัจจุบันได้ใช้บัง คั บมาตั้งแต่เมื่อใด 1. วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2506 2.วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516 3. วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2518 4.วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2526 22. หนังสือราชการของส่วนราชการต่างๆ ในสังกัดกระทรวง มหาดไทยในปัจจุบันทำาสำาเนากี่ชุด 1. 2 ชุด 2. 3 ชุด 3. 4 ชุด 4. 5 ชุด 23. การลงวัน เดือน ปี ของหนังสือติดต่อราชการให้ปฏิบัติดังนี้ 1. หนังสือภายนอก ให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือนและตัวเลข ของปีพุทธศักราชที่ออกหนังสือ
  • 12. 2. ส่วนหนังสือภายในให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อย่อของเดือนและตัวเลข ของปีพุทธศักราชที่ออกหนังสือ 3. ถูกทั้งข้อ 1. และ 2. 4. ไม่มีข้อใดถูก 24. หนังสือที่ต้องจัดส่งและดำาเนินการทางสารบรรณโดยให้เจ้าหน้าที่ ปฏิบัติโดยเร็วนั้นจะต้องระบุตัวอักษร สีแดงให้เห็นชัดบนหนังสือแ ละ บนซองว่าอย่างไร 1. ด่วน 2. ด่วนที่สุด 3. ด่วนมาก 4. ด่วนภายใน 25. ระเบียบคือหนังสือชนิดหนึ่งที่จัดอยู่ในหนังสือประเภทใด 1. หนังสือภายใน 2. หนังสือสั่งการ 3. หนังสือภายนอก 4. หนังสือประทับตรา 26. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำาขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการมี 4 ชนิดคือข้อใด 1. หนังสือรับรอง, รายงานการประชุม, บันทึก และหนังสือเวียน 2. หนังสือรับรอง, รายงานการประชุม, บันทึก และหนังสืออื่น 3. รายงานการประชุม, บันทึก, หนังสือเวียน และหนังสือ 4. บันทึก, หนังสือเวียน, หนังสือรับรอง และหนังสืออื่น 27. หนังสือราชการภาษาอังกฤษ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือข้อใด 1. หนังสือโต้ตอบ และหนังสือแถลงข่าว 2. หนังสือช่วยจำา และบันทึก เตือนความจำา 3. หนังสือที่ลงชื่อ และหนังสือที่มิต้องลงชื่อ 4. หนังสือที่เป็นแบบพิธี และหนังสือที่ไม่เป็นแบบพิธี 28. อายุของการเก็บหนังสือ มีวิธีการปฏิบัติแบบใด 1. หนังสือที่เกี่ยวกับการเงินทุกกรณี ให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 10 ปี 2. หนังสือที่ต้องสงวนเป็นความลับ โดยปกติให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 10 ปี 3. หนังสือที่ปฏิบัติงานเสร็จสิ้นแล้ว และเป็นคู่สำาเนาที่มีต้นเรื่องค้นได้ จากที่อื่นให้เก็บไว้น้อยกว่า 5 ปี 4. หนังสือที่เป็นเรื่องธรรมดาและเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นเป็นประจำา เมื่อ ดำาเนินการแล้วเสร็จให้เก็บรักษาไว้ไม่น้อยกว่า 3 ปี 29. การพิจารณาหนังสือที่จะขอทำาลายตามบัญชีหนังสือขอทำาลายเป็น หนังส ูือของใคร 1. หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม 2. คณะกรรมการที่หัวหน้าส่วน ราชการระดับกรมแต่งตั้ง
  • 13. 3. ผู้ที่หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมมอบอำานาจให้ปฏิบัติราชการแทน 4. คณะกรรมการที่ปลัดกระทรวงแต่งตั้ง โดยการเสนอของหัวหน้าส่วน ราชการระดับกรม 30. รหัสตัวพยัญชนะสำาหรับสำานักงานตรวจเงินแผ่นดินและสำานัก เลขาธิการ รัฐสภากำาหนดไว้ตามลำาดับดังนี้ 1. สต และ สภ 2. ตง และ รส 3. ตผ และ สภ 4. สตง และ สลร 31. คำาสรรพนามสำาหรับเจ้าของหนังสือว่า “ข้าพระพุทธเจ้า” นอกจาก ใช้กับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและ พระบรมราชินีนาถ แล้วยังใช้กับใคร 1. สมเด็จพระบรมราชชนนี 2. พระบรมวงศ์เธอชั้นพระองค์เจ้า 3. สมเด็จพระยุพราช และสมเด็จเจ้าฟ้าทุกพระองค์ 4. ถูกทุกข้อ 32. คำาว่า “คำาสั่ง” หมายถึงอะไร 1. คำาสั่งด้วยวาจา, คำาสั่งเป็นลายลักษณ์อักษร และคำาสั่งที่บันทึกถึง ตัวผู้ปฏิบัติโดยเฉพาะ 2. การสั่งด้วยการบันทึกทางจดหมาย และด้วยสื่อนำาสาร 3. บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วย กฎหมาย 4. การกระทำาด้วยหนังสือหรือเรียกเจ้าหน้าที่มาพบเพื่อสั่งการแต่ละ เรื่อง 33. หนังสือที่ต้องปฏิบัติด้วยความรวดเร็วเป็นพิเศษ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือข้อใด 1. ลับด่วนมาก, ด่วนลับเฉพาะ และด่วนที่สุด 2. ด่วนที่สุด, ด่วนมาก และด่วน 3. ด่วนภายในวันเวลาที่กำาหนด และด่วนลับเฉพาะ 4. ถูกทุกข้อ 34. ข้อใดคือการเรียกเก็บหนังสือ 1. เก็บให้เป็นระเบียบเพื่อค้นหาได้สะดวก 2. เก็บโดยมิดชิดปลอดภัย และกำาหนดการเร่งด่วนในการขอย้าย 3. การเก็บระหว่างปฏิบัติ การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้วและการเก็บไว้เพื่อ ใช้ในการตรวจสอ บ 4. เก็บรวมเข้าแฟ้มสะดวกในการค้นหาเรื่องเดิม เก็บเพื่อเป็นหลักฐาน และเก็บเพื่ออ้างอิงในการปฏิบัติ 35. การส่งหนังสือราชการ คือข้อใด 1. เพื่อความสะดวก รวดเร็ว จะส่งที่ใดก็ได้ถ้าพบตัวผู้ดำารงตำาแหน่งนั้น
  • 14. 2. หนังสือราชการที่มีไปถึงผู้รับในตำาแหน่งที่ราชการห้ามมิให้นำาส่งยัง บ้านพักของผู้ดำารงตำาแหน่งนั้นโดยเด็ดขาด 3. ถ้าเป็นหนังสือราชการด่วนมากหรือด่วนที่สุด ก็ไปส่งที่บ้านพักได้ เป็นกรณีพิเศษแต่ต้องไปลงบัญชีรับ ณ ที่ทำาการตามระเบียบ 4. ผิดทุกข้อ 36. ระเบียบว่าด้วยงานสารบรรณ คือข้อใด 1. การกำาหนดวิธีปฏิบัติเฉพาะงานโต้ตอบหนังสือ 2. การสั่งให้เจ้าหน้าที่สารบรรณร่างโต้ตอบและเก็บรักษาหนังสือ 3. บรรดาข้อความที่ผู้มีอำานาจหน้าที่ได้วางไว้โดยจะอาศัยอำานาจของ กฎหมายหรือไม่ก็ได้เพื่อถือเป็นหลักปฏิบัติ 4. ผิดทุกข้อ 37. การร่างหนังสือมีความมุ่งหมายอะไร 1. เพื่อให้มีการตรวจแก้ไขให้เหมาะสมถูกต้องตามระเบียบ 2. เพื่อเรียบเรียงข้อความตามเรื่องที่จะแจ้งความประสงค์ไปยังผู้รับ 3. เพื่อผู้ร่างเข้าใจในร่างโดยขึ้นต้นต่อไปเป็นความประสงค์และข้อ ตกลงโดยสมบูรณ์ทั้งเนื้อเรื่อง และถ้อยคำา 4. ถูกทุกข้อ 38. งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสารเริ่มแต่การจัดทำาการรับ การ ส่ง การเก็บรักษา การยืมจนถึงการทำาลาย เรียกว่างานอะไร 1. งานเลขานุการ 2. การบริหารงาน 3. งานสารบรรณ 4. การอำานวย การ 39. ใครเป็นผู้รักษาการตามระเบียบว่าด้วยงานสารบรรณ 1. เลขาธิการ ก.พ. 2. ปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี 3. สำานักทำาเนียบนายกรัฐมนตรี 4. ปลัดบัญชาการสำานักนายกรัฐมนตรี 40. เอกสารที่ทางราชการจัดทำาขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบบังคับ เรียก ว่าอะไร 1. เอกสารราชการ 2. หนังสือราชการ 3. หนังสืออำานวยการ 4. ถูก ทุกข้อ 41. หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยเป็นหนังสือติดต่อภายในก ระทรวง ทบวง กรม จังหวัดเดียวกัน เรียกว่าอะไร 1. หนังสือภายนอก 2. หนังสือภายใน 3. หนังสือสั่งการ 4. ถูกทุกข้อ 42. หนังสือที่ปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติแบ่งออกเป็น 1. 2 ประเภท 2. 3 ประเภท 3. 4 ประเภท 4. ไม่มีข้อใดถูก
  • 15. 43. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำาขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการมี 4 ชนิด คืออะไร 1. หนังสือรับรอง, รายงานการประชุม, บันทึก และหนังสืออื่น 2. หนังสือรับรอง, รายงานการประชุม, บันทึก และหนังสือเวียน 3. รายงานการประชุม, บันทึก, หนังสือเวียน และหนังสืออื่น 4. บันทึก, หนังสือเวียน, หนังสือรับรอง และหนังสืออื่น 44. เลขที่หนังสือส่งออกสำาหรับส่วนราชการในส่วนกลาง ซึ่งประกอบ ด้วยตัวเลขสี่ตัวนั้นมีความหมายอย่างไร 1. สองตัวแรก หมายถึง กรม ส่วนสองตัวหลัง หมายถึง กอง 2. สองตัวแรก หมายถึง ส่วนสองตัวหลัง หมายถึง ประเภทของหนังสือ 3. สองตัวแรก หมายถึง กระทรวง หรือ ทบวง ส่วนสองตัวหลัง หมายถึง กรม 4. ไม่มีข้อใดถูก 45. หนังสือที่ต้องจัดส่งและดำาเนินการทางสารบรรณ โดยให้เจ้าหน้าที่ ปฏิบัติโดยเร็ว จะต้องระบุตัวอักษรสีแดงให้เห็นชัดบนหนังสือและบน ซองว่าอะไร 1. ด่วน 2. ด่วนที่สุด 3. ด่วนมาก 4. ด่วนภายใน 46. คำาสรรพนามสำาหรับเจ้าของหนังสือที่ว่า “ข้าพระพุทธเจ้า” นอกจากจะใช้กับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระบรม ราชินีแล้วยังใช้กับใคร 1. สมเด็จเจ้าฟ้า 2. สมเด็จพระบรมราชชนนี 3.พระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า 4.ถูกทุกข้อ 47. บันทึกช่วยจำา คือ หนังสือที่ใช้สำาหรับอะไร 1. ชี้แจงข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น 2. ขอร้องหรือประท้วงในบางเรื่อง 3. ยืนยันข้อความในเรื่องที่ได้สนทนาไว้แล้ว 4. ถูกทุกข้อ 48. ข้อใดกล่าวถึงการส่งหนังสือราชการถูกต้อง 1. เพื่อความสะดวกและรวดเร็วจะส่งที่ใดก็ได้ถ้าพบตัวผู้ดำารงตำาแหน่ง นั้น 2. หนังสือราชการที่มีไปถึงผู้รับในตำาแหน่งหน้าที่ราชการห้ามมิให้ นำา ส่งยังบ้านพักโดยเด็ดขาด 3. ถ้าเป็นหนังสือราชการด่วนมากหรือด่วนที่สุด ก็ไปส่งที่บ้านพักได้ เป็นกรณีพิเศษ แต่ต้องไปลงบัญชีรับ ณ ที่ทำาการ ตามระเบียบ 4. ผิดทุกข้อ
  • 16. 49. การปฏิบัติเกี่ยวกับหนังสือที่เก็บโดยมีกำาหนดให้ปฏิบัติอย่างไร 1. ให้หมายเหตุไว้หน้าแฟ้มที่เก็บรวมเรื่อง 2. ให้แจ้งกับเจ้าหน้าที่ สารบรรณทราบทั่วกัน 3. ให้เก็บใส่ตู้เอกสารแล้วทำาเครื่องหมายไว้ 4. ให้ประทับตราคำาว่า “เก็บถึง พ.ศ….”ด้วยหมึกสีนำ้าเงินและลงเลข ของปี พ.ศ. ที่ให้เก็บถึงด้วย 50. คำาว่า “คำาสั่ง” คืออะไร 1. การสั่งด้วยบันทึกทางจดหมายและด้วยพลนำาสาร 2. บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วย กฎหมาย 3. การกระทำาด้วยหนังสือหรือเรียกเจ้าหน้าที่มาพบเพื่อสั่งการแต่ละ เรื่อง 4. คำาสั่งด้วยวาจา คำาสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรและเป็นคำาสั่งที่บันทึกถึง ตัวผู้ปฏิบัติโดยเฉพาะ