SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
วิจัยในชั้นเรียน

                            เรื่อง
นักเรียนขาดทักษะในการจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคู




                            ผูวิจัย


                    ปยะมาศ แกวเกษการณ



                   กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร
     ชั้น ประถม ศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2552
วิจัยในชั้นเรียน
                            เรื่อง
นักเรียนขาดทักษะในการจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคู


                            ผูวิจัย


                        ปยะมาศ แกวเกษการณ
                  กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
     ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2552

                  โดยไดรับความเห็นชอบจาก

             ……………………………………………
             ผูอํานวยการโรงเรียนบานหนองกระทุม
                     (นายสุ วรรณ วิเชียรรัตน )
ประกาศคุณูปการ

             การศึกษางานวิจัย นักเรียนขาดทักษะในการจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคู
ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่              5 นี้ จัดทําขึ้นเพื่อพัฒนานักเรียนใหมีทักษะ
ในการจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูและความเขาใจในดานการคนควาหาขอมูล
ใหมๆ ที่เปนปจจุบันและเปนประโยชนตอการเรียนวิทยาศาสตรดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ผูวิจัย
ขอขอบพระคุณทานผูอํานวยการ โรงเรียนบานหนองกระทุมที่ ไดใหการสนับสนุน
อยางมากในการทํางานวิจัยฉบับนี้ใหออกมาอยางสมบูรณโดยกรุณาใหคําปรึกษา
แนะนํา แนวความคิดและชวยใหกําลังใจตลอดระยะเวลาที่ทํางานวิจัยฉบับนี้ และ
สุดทายนี้ตองขอขอบใจนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่                    5 ทุกคน ที่ใหความ
รวมมือในการทําวิจัยครั้งนี้ ใหสําเร็จลุลวงไปดวยดี
                ผูวิจัยหวังเปนอยางยิ่งวา การวิจัยเรื่องนี้จะเปนประโยชนตอผูอานเพื่อ
เปนแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนดานวิทยาศาสตรใหมีประสิทธิภาพมาก
ยิ่งขึ้น หากงานวิจัยฉบับนี้มีขอบกพรองประการใดผูวิจัยขออภัยมา ณ ที่นี้



                                                  ปยะมาศ แกวเกษการณ

                                                             ผูวิจัย
วิจัยในชั้นเรียน
                         เรื่อง นักเรียนขาดทักษะในการจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคู
                                   นักเรียนชั้น ประถมศีกษาปที่ 5 ปการศึกษา 2552
                                                       ชื่อผูวิจัย
                                           นางสาวปยะมาศ แกวเกษการณ
                       สถานที่ทํางาน โรงเรียนบานหนองกระทุม อ.หนองฉาง จ.อุทัยธานี
                              สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุทัยธานีเขต 2
                                                       บทคัดยอ
1. ความเปนมาและความสําคัญของการทําวิจัย
           จากการสอนเรื่องใบของพืช พบวามีนักเรียนบางสวนยังไมเขาใจลักษะของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว–ใบเลี้ยง
คู และไมสามารถจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูได ดังนั้นผูสอนจึงเห็นวาปญหาดังกลาวนาจะไดรับการ
แกไขโดยจัดกิจกรรมเสริมความรูให
2. วัตถุประสงคของการวิจัย
           นักเรียนสามารถจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว - ใบเลี้ยงคูได
3. ประชากรที่ทําการศึกษา
           นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ปการศึกษา 2552 โรงเรียนบานหนองกระทุม จํานวน 5 คน
4. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
           4.1 ชุดฝกปฏิบัติ ไดแก ใบงาน
           4.2 สื่อประกอบการฝก ไดแก ตัวอยางใบไมจริง
           4.3 ใบความรู
5. วิธีดําเนินการวิจัย
           5.1 หลังจากทดสอบแลวพบวามีนักเรียนจํานวน 5 คน ที่ไมเขาใจเรื่องพืชใบเลี้ยงเดี่ยว - ใบเลี้ยงคู
           5.2 ชี้แจงใหนักเรียนเขาใจในจุดมุงหมายการจัดกิจกรรมเสริมความรู
           5.3 จัดกิจกรรมทั้งหมด 5 กิจกรรม เพื่อพัฒนาทักษะในดานการจําแนกใบของพืชใหมากขึ้น
           5.4 เวลาที่ใชทํากิจกรรม คือ พักกลางวันประมาณวันละ 1 ชั่วโมง ระยะเวลาการจัดทํากิจกรรมการ
เรียนการสอนเสริมประมาณ 2 สัปดาห
6. สรุปผลการวิจัย
           การใชแบบฝกทั้งหมด 5 กิจกรรม ปรากฏวา คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนมีคาเทากับ 8.20 สูงกวา
คะแนนเฉลี่ยกอนเรียน (มีคาเทากับ 5.80) แสดงวาแบบฝกใชไดผลดีมีคาคะแนนความกาวหนาเทากับ 2.40
จึงสรุปไดวา นักเรียนสามารถจําแนกใบของพืชไดดีขึ้นในระดับหนึ่ง
งานวิจัยในชั้นเรียน
                          เรื่อง นักเรียนขาดทักษะในการจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว - ใบเลี้ยงคู
ความเปนมา / ความสําคัญของการวิจัย
           สภาพปญหาจากประสบการณการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ที่ผานมา
พบวามีนักเรียนบางสวนยังไมเขาใจลักษณะของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว–ใบเลี้ยงคูได เมื่อผูสอนนําตัวอยางใบไม
จริงมาใหนักเรียนดู ปรากฏวามีนักเรียนจํานวนหนึ่งไมสามารถจําแนกไดวาพืชชนิดใดเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว –
ใบเลี้ยงคูฉะนั้น ผูสอนจึงทําการทดสอบเรื่องการจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว–ใบเลี้ยงคู ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที่ 5 จํานวน 20 คน โดยการกําหนดใหนักเรียนทุกคนทําแบบทดสอบและจําแนกพืชใบเลี้ยง
เดี่ยว – ใบเลี้ยงคูจากพืชมาให 10 ชนิด ใหนักเรียนแยกวาชนิดใดเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคู ในเวลาที่
ผูสอนกําหนด เมื่อนํากระดาษคําตอบ มาตรวจปรากฏวา
           มีนักเรียน 5 คน ไมสามารถจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูได
           มีนักเรียน 5 คน สามารถจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูไดบางแตไมทั้งหมด
           มีนักเรียน 10 คน สามารถจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว - ใบเลี้ยงคูไดทั้งหมด
           ผูสอนจึงวางแผนชวยเหลือนักเรียนที่ไมสามารถจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคู จํานวน 5 คน
โดยจัดกิจกรรมเสริมความรูให
จากปญหาที่เกิดขึ้น อาจจะมีสาเหตุมาจากหลายประการ เชน สาเหตุ
           1. นักเรียนไมเขาใจลักษณะของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคู
           2. ครู
                     2.1 ขาดเทคนิควิธีสอน
                     2.2 ไมมีความรู และไมถนัดในวิชาที่สอน
           3. ปจจัยอื่น ๆ
                     3.1 ไมมีแบบฝก
                     3.2 ขาดสื่อในการฝก และขาดแหลงคนควาเกี่ยวกับเทคนิควิธีสอน
ดังนั้นผูสอนจึงตองหาวิธีการแกปญหาที่เกิดขึ้นกับนักเรียน
วัตถุประสงคของการวิจัย
           นักเรียนสามารถจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูได
การตรวจเอกสาร
           พิจารณาจากคะแนนการทําแบบฝกหัดระหวางเรียนและคะแนนการทําแบบทดสอบหลังเรียน
วิธีการดําเนินการวิจัย
           ประชากร นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ปการศึกษา 2552 โรงเรียนบานหนองกระทุม อ.หนองฉาง
จ.อุทัยธานี ที่สอบเรื่องใบเลี้ยงเดี่ยว-ใบเลี้ยงคู ไมผานเกณฑ 50 % จํานวน 5 คน
การเก็บรวบรวมขอมูล
        ระยะเวลาของการวิจัย 17 สิงหาคม 2552 ถึง 29 สิงหาคม 2552 ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง
โดยใชแบบฝกหัดระหวางเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน จากนักเรียนกลุมเปาหมาย จํานวน 5 คน ดังนี้
        1. เด็กชายนิลภัทร หัสแดง
        2. เด็กหญิงรุงฤดี รัตนา
        3. เด็กชายวีระยุทธ อรุณ
        4. เด็กหญิงอาทิตยา โสภณศักดิ์
        5. เด็กชายชัยธวัช มาลี
P = PLANE = การวางแผนแกปญหา
        ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อแกปญหาที่เกิดขึ้นนี้ ผูสอนไดเนนกิจกรรมที่ตองให
นักเรียนฝกสังเกตและฝกปฏิบัติบอย ๆ เพื่อใหนักเรียนที่ทํากิจกรรมนี้ไดมีการพัฒนาทักษะในดานการ
จําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูมากขึ้น และจะทําใหมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและผานเกณฑตามที่
กําหนดตอไป

วิธีดําเนินการ
          1. กลุมเปาหมาย ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จํานวน 25 คน
          2. ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเสริม ประมาณ 2 สัปดาห
          3. สถานที่สอน คือ บริเวณโรงเรียน - หองเรียน
          4. เวลาที่ใชสอน คือพักกลางวัน เวลาประมาณ 12.00 – 13.00 น.

D = DO = การลงมือทํา
         ใชกระบวนการปฏิบัติในกิจกรรมจากนวัตกรรมที่สรางขึ้น ดังนี้
         1. ชุดฝกปฏิบัติ ไดแก ใบงาน
         2. สื่อประกอบการฝก ไดแก ตัวอยางใบไมจริง
         3. ใบความรู
         โดยผูสอนไดนํานวัตกรรมเหลานี้มาจัดเปนกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อแกปญหาที่เกิดขึ้นได
ทั้งหมด 5 กิจกรรมดังนี้
         (D) กิจกรรมที่ 1 นํานักเรียนไปสํารวจ ศึกษาตนไมในบริเวณโรงเรียน แลวใหนักเรียนบอกชื่อใบไม
ที่ตนเองรูจักมา 5 ชนิด พรอมทั้งบอกดวยวาพืชชนิดนั้นมีใบเลี้ยงเปนใบเลี้ยงเดี่ยวหรือใบเลี้ยงคู
         (C) โดยมีเกณฑการประเมินวานักเรียนตองบอกชื่อ และชนิดของใบเลี้ยงของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว หรือ
ใบเลี้ยงคูมาไดถูกตอง ผูสอนจะตองมีแบบตรวจสอบวานักเรียนผานเกณฑการประเมินหรือไม ถาผานเกณฑ
การประเมินก็เขาสูกิจกรรมที่ 2
(A) หากนักเรียนคนใดยังไมสามารถบอกชื่อและชนิดของใบเลี้ยงของพืชไดถูกตอง ใหนักเรียน
ศึกษาคนควาชื่อและชนิดของใบเลี้ยงอีกครั้งจนสามารถบอกชื่อ และชนิดของใบเลี้ยงของพืชไดอยางถูกตอง
จึงเขาสูกิจกรรมที่ 2
           (D) กิจกรรมที่ 2 ใหนักเรียนศึกษาลักษณะพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูจากใบความรู ลักษณะของ
เสนใบที่แจกให จากนั้นใหนักเรียนสังเกตตัวอยางใบไม แลวอธิบายลักษณะของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว –ใบเลี้ยงคู
โดยใหสรุปในใบงานที่แจกให
           (C) โดยมีเกณฑการประเมินวานักเรียนตองอธิบายลักษณะพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูจากการ
สังเกตลักษณะเสนใบพืชไดถูกตอง จึงเขาสูกิจกรรมที่ 3
           (A) ถานักเรียนคนใดไมสามารถอธิบายลักษณะของเสนใบจากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูไดให
นักเรียนศึกษาลักษณะเสนใบพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูอีกครั้งจากใบความรูจนสามารถอธิบายไดถูกตอง
จึงเขาสูกิจกรรมที่ 3
           (D) กิจกรรมที่ 3 กําหนดตัวอยางพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ใบเลี้ยงคูใหนักเรียนเปรียบเทียบ และจําแนก
ลักษณะของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคู แลวสรุปลงในใบงานที่แจกใหพรอมทั้งสรางแผนที่ความคิดในการ
จัดกลุมพืชใบเลี้ยงเดี่ยว - ใบเลี้ยงคู
           (C) โดยมีเกณฑการประเมินวานักเรียนตองจําแนกลักษณะพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูพรอมทั้ง
สรางแผนความคิดไดถูกตอง จึงเขาสูกิจกรรมที่ 4
           (A) หากนักเรียนคนใดไมสามารถจําแนกลักษณะของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูได นักเรียน
จะตองทบทวนความรูเกี่ยวกับลักษณะใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูอีกครั้ง จนสามารถจําแนกลักษณะของพืชใบ
เลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคูไดอยางถูกตอง จึงเขาสูกิจกรรมที่ 4
           (D) กิจกรรมที่ 4 ใหนักเรียนทั้ง 5 คน บอกชื่อพืชที่นักเรียนรูจักมา 10 ชนิด แลวบอกวาพืชชนิดใด
เปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว หรือใบเลี้ยงคู สามารถอธิบายบอกหลักเกณฑในการตัดสินของใบพืชแตละชนิดมาดวย
ลงในใบงาน
           (C) โดยมีเกณฑการประเมินวานักเรียนตองบอกไดวาพืชที่นักเรียนกําหนดมาเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
หรือใบเลี้ยงคูไดถูกตอง และสามารถอธิบายลักษณะของพืชแตละชนิดไดถูกตอง จึงเขาสูกิจกรรมที่ 5
           (A) ถานักเรียนคนใดไมสามารถบอกไดวาพืชชนิดใดเปนพืชชนิดใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูได
นักเรียนตองศึกษาลักษณะของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูอีกครั้ง จนสามารถบอกไดวาพืชชนิดใดเปนพืชใบ
เลี้ยงเดี่ยว ใบเลี้ยงคู จึงเขาสู กิจกรรมที่ 5
           (D) กิจกรรมที่ 5 ใหนักเรียนศึกษาใบความรูเรื่องพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคู (สรุป) แลวเก็บ
ตัวอยางใบไมจริง 10 ชนิด โดยใหติดใบไมลงในสมุดเก็บตัวอยางใบไม (สมุดวาดเขียน) พรอมทั้งใหบอกชื่อ
ใบไมและจําแนกดวยวาใบไมที่เก็บมานั้นเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว หรือ ใบเลี้ยงคู
           (C) โดยมีเกณฑการประเมินวาตัวอยางใบไมที่นักเรียนเก็บมาทั้ง 10 ชนิด นักเรียนสามารถจําแนก
ไดถูกตองวาพืชชนิดใดเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว - ใบเลี้ยงคู
(A) ถานักเรียนคนใดไมสามารถจําแนกชนิดของใบพืชไดก็ใหนักเรียนศึกษาใบความรูอีกครั้ง จน
สามารถจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูไดถูกตอง
A = ACTION = การปรับปรุงแกไข
        ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อแกปญหาที่เกิดขึ้นจากทั้งหมด 5 กิจกรรมที่ผานมา หากยังมี
นักเรียนคนใดที่ไมสามารถจําแนกลักษณะของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูไดตามเกณฑที่กําหนดไว ผูสอน
จะตองวางแผนหาวิธีการแกปญหา และสรางนวัตกรรมใหมขึ้นมา เพื่อใชในการแกปญหานี้ตอไป
การหาคาประสิทธิภาพ

   1. การหาคาประสิทธิภาพของกระบวนการ E1

                                        ∑X     1

            สูตร                 E1 =     N        × 100
                                          A


∑ X = คะแนนรวมของแบบฝก
     1

   N = จํานวนนักเรียน
   A = คะแนนเต็มของแบบฝก

แทนคา
                                218
                            E1 = 5 × 100
                                 50


                            E1 = 87.20


ประสิทธิภาพของกระบวนการ = 87.20

   2. การหาคาของประสิทธิภาพผลลัพธ E2

                                        ∑X     2

          สูตร                   E2 =      N       × 100
                                           B


∑ X = คะแนนรวมการวัดผลหลังเรียน
     2

   N = จํานวนนักเรียน
   B = คะแนนเต็มของการวัดผลหลังเรียน
แทนคา
                                       41
                                E 2 = 5 × 100
                                       10
                                E 2 = 82.00
ประสิทธิภาพของผลลัพธ = 82.00
ผลการวิเคราะหปญหา
สรุปผลดานปริมาณ
1. การเปรียบเทียบผลคะแนนความกาวหนากอนการใชแบบฝกและหลังการใชแบบฝก

                           คะแนนกอนเรียน          คะแนนหลังเรียน            ความกาวหนา
         รวม                    19                      41                       12
        เฉลี่ย                  5.8                     8.2                      2.4



         จากการใชแบบฝกหัดทั้งหมด 5 กิจกรรมคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน ( มีคาเทากับ 8.2 )สูงกวาคะแนน
เฉลี่ยกอนเรียน ( มีคาเทากับ 5.8 ) แสดงวาแบบฝกใชไดผลดีมีคาคะแนนความกาวหนาเทากับ 2.4
2. การหาประสิทธิภาพ

        ประสิทธิภาพของกระบวนการ E1                            ประสิทธิภาพของผลลัพธ E2
                   87.20                                                82.00

         ประสิทธิภาพของกระบวนการ E1 มีคาเทากับ 87.20 % ประสิทธิภาพของผลลัพธ E2 มีคาเทากับ
82.00% จากเกณฑที่ตั้งไวคะแนนรอยละของกระบวนการ (E1) : คะแนนรอยละของผลลัพธ (E2)
เทากับ 80 : 80 จะเห็นไดวาผลของการใชแบบฝกมีคะแนนสูงกวาเกณฑที่ตั้งไว ทั้งคะแนนกระบวนการและ
คะแนนผลลัพธ จึงสรุปไดวาแบบฝกที่สรางนั้นใชไดผลดี
ภาคผนวก
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่

Contenu connexe

Tendances

ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
sariya25
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
suree189
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
Sivagon Soontong
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
แวมไพร์ แวมไพร์
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
พัน พัน
 

Tendances (20)

แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
วิทยาศาสตร์ ม.3
วิทยาศาสตร์ ม.3วิทยาศาสตร์ ม.3
วิทยาศาสตร์ ม.3
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
Pat2 กรกฎาคม 2552
Pat2 กรกฎาคม 2552Pat2 กรกฎาคม 2552
Pat2 กรกฎาคม 2552
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
 
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อเรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
 

Similaire à ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่

เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
aapiaa
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
guest5660a9a
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
tassanee chaicharoen
 
การศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนการศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
BioStudent Faculty
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
supphawan
 
20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao
Kanjanjao
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
tassanee chaicharoen
 
จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55
tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
tassanee chaicharoen
 
ชื่อเรื่อ..
ชื่อเรื่อ..ชื่อเรื่อ..
ชื่อเรื่อ..
Hasanie Chill
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
Waree Wera
 
วิจัยคืออะไร
วิจัยคืออะไรวิจัยคืออะไร
วิจัยคืออะไร
rujirapyo1
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
Jiraporn
 

Similaire à ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่ (20)

แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
 
การศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนการศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
 
การศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนการศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
 
ชื่อเรื่อ..
ชื่อเรื่อ..ชื่อเรื่อ..
ชื่อเรื่อ..
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
วิจัยคืออะไร
วิจัยคืออะไรวิจัยคืออะไร
วิจัยคืออะไร
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
B-SLIM Model
B-SLIM Model B-SLIM Model
B-SLIM Model
 
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
 

ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่

  • 1. วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง นักเรียนขาดทักษะในการจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคู ผูวิจัย ปยะมาศ แกวเกษการณ กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร ชั้น ประถม ศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2552
  • 2. วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง นักเรียนขาดทักษะในการจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคู ผูวิจัย ปยะมาศ แกวเกษการณ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2552 โดยไดรับความเห็นชอบจาก …………………………………………… ผูอํานวยการโรงเรียนบานหนองกระทุม (นายสุ วรรณ วิเชียรรัตน )
  • 3. ประกาศคุณูปการ การศึกษางานวิจัย นักเรียนขาดทักษะในการจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคู ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 นี้ จัดทําขึ้นเพื่อพัฒนานักเรียนใหมีทักษะ ในการจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูและความเขาใจในดานการคนควาหาขอมูล ใหมๆ ที่เปนปจจุบันและเปนประโยชนตอการเรียนวิทยาศาสตรดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ผูวิจัย ขอขอบพระคุณทานผูอํานวยการ โรงเรียนบานหนองกระทุมที่ ไดใหการสนับสนุน อยางมากในการทํางานวิจัยฉบับนี้ใหออกมาอยางสมบูรณโดยกรุณาใหคําปรึกษา แนะนํา แนวความคิดและชวยใหกําลังใจตลอดระยะเวลาที่ทํางานวิจัยฉบับนี้ และ สุดทายนี้ตองขอขอบใจนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ทุกคน ที่ใหความ รวมมือในการทําวิจัยครั้งนี้ ใหสําเร็จลุลวงไปดวยดี ผูวิจัยหวังเปนอยางยิ่งวา การวิจัยเรื่องนี้จะเปนประโยชนตอผูอานเพื่อ เปนแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนดานวิทยาศาสตรใหมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น หากงานวิจัยฉบับนี้มีขอบกพรองประการใดผูวิจัยขออภัยมา ณ ที่นี้ ปยะมาศ แกวเกษการณ ผูวิจัย
  • 4. วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง นักเรียนขาดทักษะในการจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคู นักเรียนชั้น ประถมศีกษาปที่ 5 ปการศึกษา 2552 ชื่อผูวิจัย นางสาวปยะมาศ แกวเกษการณ สถานที่ทํางาน โรงเรียนบานหนองกระทุม อ.หนองฉาง จ.อุทัยธานี สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุทัยธานีเขต 2 บทคัดยอ 1. ความเปนมาและความสําคัญของการทําวิจัย จากการสอนเรื่องใบของพืช พบวามีนักเรียนบางสวนยังไมเขาใจลักษะของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว–ใบเลี้ยง คู และไมสามารถจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูได ดังนั้นผูสอนจึงเห็นวาปญหาดังกลาวนาจะไดรับการ แกไขโดยจัดกิจกรรมเสริมความรูให 2. วัตถุประสงคของการวิจัย นักเรียนสามารถจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว - ใบเลี้ยงคูได 3. ประชากรที่ทําการศึกษา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ปการศึกษา 2552 โรงเรียนบานหนองกระทุม จํานวน 5 คน 4. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 4.1 ชุดฝกปฏิบัติ ไดแก ใบงาน 4.2 สื่อประกอบการฝก ไดแก ตัวอยางใบไมจริง 4.3 ใบความรู 5. วิธีดําเนินการวิจัย 5.1 หลังจากทดสอบแลวพบวามีนักเรียนจํานวน 5 คน ที่ไมเขาใจเรื่องพืชใบเลี้ยงเดี่ยว - ใบเลี้ยงคู 5.2 ชี้แจงใหนักเรียนเขาใจในจุดมุงหมายการจัดกิจกรรมเสริมความรู 5.3 จัดกิจกรรมทั้งหมด 5 กิจกรรม เพื่อพัฒนาทักษะในดานการจําแนกใบของพืชใหมากขึ้น 5.4 เวลาที่ใชทํากิจกรรม คือ พักกลางวันประมาณวันละ 1 ชั่วโมง ระยะเวลาการจัดทํากิจกรรมการ เรียนการสอนเสริมประมาณ 2 สัปดาห 6. สรุปผลการวิจัย การใชแบบฝกทั้งหมด 5 กิจกรรม ปรากฏวา คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนมีคาเทากับ 8.20 สูงกวา คะแนนเฉลี่ยกอนเรียน (มีคาเทากับ 5.80) แสดงวาแบบฝกใชไดผลดีมีคาคะแนนความกาวหนาเทากับ 2.40 จึงสรุปไดวา นักเรียนสามารถจําแนกใบของพืชไดดีขึ้นในระดับหนึ่ง
  • 5. งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง นักเรียนขาดทักษะในการจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว - ใบเลี้ยงคู ความเปนมา / ความสําคัญของการวิจัย สภาพปญหาจากประสบการณการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ที่ผานมา พบวามีนักเรียนบางสวนยังไมเขาใจลักษณะของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว–ใบเลี้ยงคูได เมื่อผูสอนนําตัวอยางใบไม จริงมาใหนักเรียนดู ปรากฏวามีนักเรียนจํานวนหนึ่งไมสามารถจําแนกไดวาพืชชนิดใดเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูฉะนั้น ผูสอนจึงทําการทดสอบเรื่องการจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว–ใบเลี้ยงคู ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 5 จํานวน 20 คน โดยการกําหนดใหนักเรียนทุกคนทําแบบทดสอบและจําแนกพืชใบเลี้ยง เดี่ยว – ใบเลี้ยงคูจากพืชมาให 10 ชนิด ใหนักเรียนแยกวาชนิดใดเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคู ในเวลาที่ ผูสอนกําหนด เมื่อนํากระดาษคําตอบ มาตรวจปรากฏวา มีนักเรียน 5 คน ไมสามารถจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูได มีนักเรียน 5 คน สามารถจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูไดบางแตไมทั้งหมด มีนักเรียน 10 คน สามารถจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว - ใบเลี้ยงคูไดทั้งหมด ผูสอนจึงวางแผนชวยเหลือนักเรียนที่ไมสามารถจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคู จํานวน 5 คน โดยจัดกิจกรรมเสริมความรูให จากปญหาที่เกิดขึ้น อาจจะมีสาเหตุมาจากหลายประการ เชน สาเหตุ 1. นักเรียนไมเขาใจลักษณะของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคู 2. ครู 2.1 ขาดเทคนิควิธีสอน 2.2 ไมมีความรู และไมถนัดในวิชาที่สอน 3. ปจจัยอื่น ๆ 3.1 ไมมีแบบฝก 3.2 ขาดสื่อในการฝก และขาดแหลงคนควาเกี่ยวกับเทคนิควิธีสอน ดังนั้นผูสอนจึงตองหาวิธีการแกปญหาที่เกิดขึ้นกับนักเรียน วัตถุประสงคของการวิจัย นักเรียนสามารถจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูได การตรวจเอกสาร พิจารณาจากคะแนนการทําแบบฝกหัดระหวางเรียนและคะแนนการทําแบบทดสอบหลังเรียน วิธีการดําเนินการวิจัย ประชากร นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ปการศึกษา 2552 โรงเรียนบานหนองกระทุม อ.หนองฉาง จ.อุทัยธานี ที่สอบเรื่องใบเลี้ยงเดี่ยว-ใบเลี้ยงคู ไมผานเกณฑ 50 % จํานวน 5 คน
  • 6. การเก็บรวบรวมขอมูล ระยะเวลาของการวิจัย 17 สิงหาคม 2552 ถึง 29 สิงหาคม 2552 ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง โดยใชแบบฝกหัดระหวางเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน จากนักเรียนกลุมเปาหมาย จํานวน 5 คน ดังนี้ 1. เด็กชายนิลภัทร หัสแดง 2. เด็กหญิงรุงฤดี รัตนา 3. เด็กชายวีระยุทธ อรุณ 4. เด็กหญิงอาทิตยา โสภณศักดิ์ 5. เด็กชายชัยธวัช มาลี P = PLANE = การวางแผนแกปญหา ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อแกปญหาที่เกิดขึ้นนี้ ผูสอนไดเนนกิจกรรมที่ตองให นักเรียนฝกสังเกตและฝกปฏิบัติบอย ๆ เพื่อใหนักเรียนที่ทํากิจกรรมนี้ไดมีการพัฒนาทักษะในดานการ จําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูมากขึ้น และจะทําใหมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและผานเกณฑตามที่ กําหนดตอไป วิธีดําเนินการ 1. กลุมเปาหมาย ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จํานวน 25 คน 2. ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเสริม ประมาณ 2 สัปดาห 3. สถานที่สอน คือ บริเวณโรงเรียน - หองเรียน 4. เวลาที่ใชสอน คือพักกลางวัน เวลาประมาณ 12.00 – 13.00 น. D = DO = การลงมือทํา ใชกระบวนการปฏิบัติในกิจกรรมจากนวัตกรรมที่สรางขึ้น ดังนี้ 1. ชุดฝกปฏิบัติ ไดแก ใบงาน 2. สื่อประกอบการฝก ไดแก ตัวอยางใบไมจริง 3. ใบความรู โดยผูสอนไดนํานวัตกรรมเหลานี้มาจัดเปนกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อแกปญหาที่เกิดขึ้นได ทั้งหมด 5 กิจกรรมดังนี้ (D) กิจกรรมที่ 1 นํานักเรียนไปสํารวจ ศึกษาตนไมในบริเวณโรงเรียน แลวใหนักเรียนบอกชื่อใบไม ที่ตนเองรูจักมา 5 ชนิด พรอมทั้งบอกดวยวาพืชชนิดนั้นมีใบเลี้ยงเปนใบเลี้ยงเดี่ยวหรือใบเลี้ยงคู (C) โดยมีเกณฑการประเมินวานักเรียนตองบอกชื่อ และชนิดของใบเลี้ยงของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว หรือ ใบเลี้ยงคูมาไดถูกตอง ผูสอนจะตองมีแบบตรวจสอบวานักเรียนผานเกณฑการประเมินหรือไม ถาผานเกณฑ การประเมินก็เขาสูกิจกรรมที่ 2
  • 7. (A) หากนักเรียนคนใดยังไมสามารถบอกชื่อและชนิดของใบเลี้ยงของพืชไดถูกตอง ใหนักเรียน ศึกษาคนควาชื่อและชนิดของใบเลี้ยงอีกครั้งจนสามารถบอกชื่อ และชนิดของใบเลี้ยงของพืชไดอยางถูกตอง จึงเขาสูกิจกรรมที่ 2 (D) กิจกรรมที่ 2 ใหนักเรียนศึกษาลักษณะพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูจากใบความรู ลักษณะของ เสนใบที่แจกให จากนั้นใหนักเรียนสังเกตตัวอยางใบไม แลวอธิบายลักษณะของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว –ใบเลี้ยงคู โดยใหสรุปในใบงานที่แจกให (C) โดยมีเกณฑการประเมินวานักเรียนตองอธิบายลักษณะพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูจากการ สังเกตลักษณะเสนใบพืชไดถูกตอง จึงเขาสูกิจกรรมที่ 3 (A) ถานักเรียนคนใดไมสามารถอธิบายลักษณะของเสนใบจากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูไดให นักเรียนศึกษาลักษณะเสนใบพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูอีกครั้งจากใบความรูจนสามารถอธิบายไดถูกตอง จึงเขาสูกิจกรรมที่ 3 (D) กิจกรรมที่ 3 กําหนดตัวอยางพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ใบเลี้ยงคูใหนักเรียนเปรียบเทียบ และจําแนก ลักษณะของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคู แลวสรุปลงในใบงานที่แจกใหพรอมทั้งสรางแผนที่ความคิดในการ จัดกลุมพืชใบเลี้ยงเดี่ยว - ใบเลี้ยงคู (C) โดยมีเกณฑการประเมินวานักเรียนตองจําแนกลักษณะพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูพรอมทั้ง สรางแผนความคิดไดถูกตอง จึงเขาสูกิจกรรมที่ 4 (A) หากนักเรียนคนใดไมสามารถจําแนกลักษณะของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูได นักเรียน จะตองทบทวนความรูเกี่ยวกับลักษณะใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูอีกครั้ง จนสามารถจําแนกลักษณะของพืชใบ เลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคูไดอยางถูกตอง จึงเขาสูกิจกรรมที่ 4 (D) กิจกรรมที่ 4 ใหนักเรียนทั้ง 5 คน บอกชื่อพืชที่นักเรียนรูจักมา 10 ชนิด แลวบอกวาพืชชนิดใด เปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว หรือใบเลี้ยงคู สามารถอธิบายบอกหลักเกณฑในการตัดสินของใบพืชแตละชนิดมาดวย ลงในใบงาน (C) โดยมีเกณฑการประเมินวานักเรียนตองบอกไดวาพืชที่นักเรียนกําหนดมาเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว หรือใบเลี้ยงคูไดถูกตอง และสามารถอธิบายลักษณะของพืชแตละชนิดไดถูกตอง จึงเขาสูกิจกรรมที่ 5 (A) ถานักเรียนคนใดไมสามารถบอกไดวาพืชชนิดใดเปนพืชชนิดใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูได นักเรียนตองศึกษาลักษณะของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูอีกครั้ง จนสามารถบอกไดวาพืชชนิดใดเปนพืชใบ เลี้ยงเดี่ยว ใบเลี้ยงคู จึงเขาสู กิจกรรมที่ 5 (D) กิจกรรมที่ 5 ใหนักเรียนศึกษาใบความรูเรื่องพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคู (สรุป) แลวเก็บ ตัวอยางใบไมจริง 10 ชนิด โดยใหติดใบไมลงในสมุดเก็บตัวอยางใบไม (สมุดวาดเขียน) พรอมทั้งใหบอกชื่อ ใบไมและจําแนกดวยวาใบไมที่เก็บมานั้นเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว หรือ ใบเลี้ยงคู (C) โดยมีเกณฑการประเมินวาตัวอยางใบไมที่นักเรียนเก็บมาทั้ง 10 ชนิด นักเรียนสามารถจําแนก ไดถูกตองวาพืชชนิดใดเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว - ใบเลี้ยงคู
  • 8. (A) ถานักเรียนคนใดไมสามารถจําแนกชนิดของใบพืชไดก็ใหนักเรียนศึกษาใบความรูอีกครั้ง จน สามารถจําแนกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูไดถูกตอง A = ACTION = การปรับปรุงแกไข ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อแกปญหาที่เกิดขึ้นจากทั้งหมด 5 กิจกรรมที่ผานมา หากยังมี นักเรียนคนใดที่ไมสามารถจําแนกลักษณะของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว – ใบเลี้ยงคูไดตามเกณฑที่กําหนดไว ผูสอน จะตองวางแผนหาวิธีการแกปญหา และสรางนวัตกรรมใหมขึ้นมา เพื่อใชในการแกปญหานี้ตอไป
  • 9. การหาคาประสิทธิภาพ 1. การหาคาประสิทธิภาพของกระบวนการ E1 ∑X 1 สูตร E1 = N × 100 A ∑ X = คะแนนรวมของแบบฝก 1 N = จํานวนนักเรียน A = คะแนนเต็มของแบบฝก แทนคา 218 E1 = 5 × 100 50 E1 = 87.20 ประสิทธิภาพของกระบวนการ = 87.20 2. การหาคาของประสิทธิภาพผลลัพธ E2 ∑X 2 สูตร E2 = N × 100 B ∑ X = คะแนนรวมการวัดผลหลังเรียน 2 N = จํานวนนักเรียน B = คะแนนเต็มของการวัดผลหลังเรียน แทนคา 41 E 2 = 5 × 100 10 E 2 = 82.00 ประสิทธิภาพของผลลัพธ = 82.00
  • 10. ผลการวิเคราะหปญหา สรุปผลดานปริมาณ 1. การเปรียบเทียบผลคะแนนความกาวหนากอนการใชแบบฝกและหลังการใชแบบฝก คะแนนกอนเรียน คะแนนหลังเรียน ความกาวหนา รวม 19 41 12 เฉลี่ย 5.8 8.2 2.4 จากการใชแบบฝกหัดทั้งหมด 5 กิจกรรมคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน ( มีคาเทากับ 8.2 )สูงกวาคะแนน เฉลี่ยกอนเรียน ( มีคาเทากับ 5.8 ) แสดงวาแบบฝกใชไดผลดีมีคาคะแนนความกาวหนาเทากับ 2.4 2. การหาประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพของกระบวนการ E1 ประสิทธิภาพของผลลัพธ E2 87.20 82.00 ประสิทธิภาพของกระบวนการ E1 มีคาเทากับ 87.20 % ประสิทธิภาพของผลลัพธ E2 มีคาเทากับ 82.00% จากเกณฑที่ตั้งไวคะแนนรอยละของกระบวนการ (E1) : คะแนนรอยละของผลลัพธ (E2) เทากับ 80 : 80 จะเห็นไดวาผลของการใชแบบฝกมีคะแนนสูงกวาเกณฑที่ตั้งไว ทั้งคะแนนกระบวนการและ คะแนนผลลัพธ จึงสรุปไดวาแบบฝกที่สรางนั้นใชไดผลดี