SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  93
น . ต . ดร . พงศ์เทพ  จิระโร  ร . น .  ( ครูพยาบาล  กรมแพทย์ทหารเรือ ) ประกาศนียบัตรพยาบาลและอนามัย  ( รร . พยาบาล กศษ . พร .)   พย . บ .  มหิดล  ,  วท . บ .  (  สุขศึกษา  )  , ศษ . บ . (  บริหารการศึกษา  )   ศษ . บ . (  การวัดและประเมินผลการศึกษา  ) ค . ม . ,  Ph . D . (  การวัด และประเมินผลการศึกษา  )  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย “  หลักการวัด และประเมินผล / การเขียนข้อสอบ ”   โดย
แนวคิด หลักการ การวัดและประเมินผล
การวัด   ( Measurement ) ความหมาย  :  คือการกำหนดค่าให้กับสิ่งของหรือเหตุการณ์ตามกฎเกณฑ์ โดยค่าที่กำหนดให้ อาจเป็นตัวเลข หรือค่าที่เป็นระดับการวัดอื่น ๆ
ระดับของการวัดผลหรือมาตราการวัดผล ,[object Object],[object Object]
ระดับของการวัดผลหรือมาตราการวัดผล 3 .   มาตราอันตรภาค   ( Interval Scale )  การวัดระดับนี้สามารถแบ่งปริมาณที่วัดออกเป็นส่วน ๆ เท่ากันได้ แต่ไม่สามารถบอกจุดศูนย์แท้   (Absolute Zero) ได้  4.  มาตราอัตราส่วน   ( Ratio  Scale )   การวัดระดับนี้เป็นการวัดที่สมบูรณ์ที่สุดคือมีศูนย์แท้และมีช่วงคะแนนที่เท่ากัน
เกณฑ์   ( Criteria ) ความหมาย   : ระดับที่กำหนดขึ้นและเป็นที่ยอมรับในสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งอาจกำหนดเป็นเกณฑ์จากภายในหรือเกณฑ์จากภายนอก
การประเมินผล   ( Evaluation ) ความหมาย   : การนำข้อมูลที่ได้จากการวัดมาพิจารณาเพื่อหาข้อสรุปหรือประเมินค่าด้วยเกณฑ์ที่กำหนดไว้ การประเมิน  ( Evaluation)   =  การวัด (Measurement) +   เกณฑ์  / ตัดสิน (Criteria)
ธรรมชาติของการวัดผลทางการศึกษา ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
โมเดลการวัดผลทางการศึกษา คะแนนที่สังเกต  =   คะแนนจริง  +  คะแนน หรือวัดได้  ความคลาดเคลื่อน Observed score  =  True score  +  Error score (X)   =   (T)  +  (E)
รูปแบบความคลาดเคลื่อน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ก ารเขียนข้อสอบ วัดความรู้ความคิด
ลักษณะของข้อสอบที่ดี 1.  ความตรง ( Validity ) 2.  ความเที่ยง ( Reliability ) 3.   ความเป็นปรนัย  ( Objectivity ) 4.   ความมีอำนาจจำแนก  (Discrimination)
5.   ความยากพอเหมาะ  ( Difficulty ) 6.  ความยุติธรรม  ( Fairness ) 7.   ความลึกซึ้ง  ( Searching ) 8.   ยั่วยุ กระตุ้น ( Exemplary ) 9.   มีประสิทธิภาพ  ( Efficiency )
ข้อสอบวัดด้าน  Cognitive 1.  ความรู้ความจำ ( Knowledge) 2.  ความเข้าใจ (Comprehension) 3.   การนำไปใช้ (Application) 4.   การวิเคราะห์ (Analysis)
ข้อสอบวัดด้าน  Cognitive 5 .  การสังเคราะห์ ( Synthesis) 6.  การประเมินค่า ( Evaluation )
แบบสอบมาตรฐาน จำแนก ตาม ผู้สร้าง แบบสอบที่ผู้สอนสร้างเอง ป ระเภทของแบบสอบ
แบบสอบอิงกลุ่ม จำแนก ตาม การ แปลผล แบบสอบอิงเกณฑ์ ป ระเภทของแบบสอบ
แบบสอบเลือกตอบ จำแนก ตาม รูปแบบ การตอบ แบบเสนอคำตอบ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ป ระเภทของแบบสอบ
แบบสอบปรนัย จำแนก ตาม รูปแบบ คำถาม แบบสอบอัตนัย ( ความเรียง ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ป ระเภทของแบบสอบ
ใช้กับสถานการณ์ใด *  วัดความรู้  ความสามารถ ขั้นสูง  ระดับ  การวิเคราะห์  สังเคราะห์  ประเมินค่า  ข้อ สอบแบบความเรียง /  อัตนัย
การใช้ข้อสอบความเรียง 1.  วัดพฤติกรรมที่ซับซ้อน เช่น การนำไปใช้  การวิเคราะห์  การสังเคราะห์และการประเมินค่า 2.  วัดความสามารถในการบูรณาการความรู้ 3.  วัดความคิด  /  การแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล 4.  มีผู้สอบไม่มาก  /  มีเวลาตรวจ
หลักการสร้าง 1.  ก่อนเขียนคำถาม ควรวางแผนล่วงหน้าก่อนว่าต้องการวัดอะไร 2.  กำหนดขอบเขตของคำถามที่จะให้ตอบอย่างชัดเจน ไม่ควรใช้ คำถามว่าใคร ทำอะไร เมื่อใด ที่ไหน 3.  กำหนดน้ำหนักคะแนนแต่ละข้อ เพื่อผู้ตอบจะได้วางแผนการตอบ 4.  กำหนดเวลาในการทำข้อสอบอย่างเพียงพอ 5.  ทดลองตอบคำถาม โดยเขียนคำตอบที่ควรจะเป็น เพื่อเป็นการ ตรวจสอบความชัดเจน 6.  หลีกเลี่ยงการให้ผู้ตอบ เลือกตอบเป็นบางข้อ
ตัวอย่าง ไม่ดี   ในยามสงบทหารเรือทำอะไร
ตัวอย่าง ดีขึ้น  จงอธิบายภารกิจของกองทัพเรือในด้านการป้องกันประเทศ  และด้านการช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบภัยพิบัติ
ข้อแนะนำในการตรวจข้อสอบความเรียง 1.  เตรียมคำเฉลยที่ถูกต้องสมบูรณ์  พร้อมเกณฑ์การตรวจให้คะแนน 2.  ตรวจข้อสอบจากกระดาษคำตอบทีละข้อ  ของทุกคน  โดยไม่ดูชื่อ 3.  ควรอ่านคำตอบ  และจำแนกคุณภาพของคำตอบเป็นกลุ่ม ๆ 4.  ตรวจข้อสอบของแต่ละคนทีละกลุ่ม  เริ่มจากกลุ่มที่ดีที่สุดก่อน
ใช้กับสถานการณ์ใด *  วัดความรู้  ความเข้าใจ  ความเชื่อในเรื่องต่าง ๆ *  ใช้ทดสอบกับเด็กเล็ก  เด็กมีปัญหาการอ่าน ข้อ สอบแบบถูกผิด
หลักการสร้าง 1.  แต่ละข้อควรมีประเด็นสำคัญเพียงประเด็นเดียว ( Unidimensionality) 2.  หลีกเลี่ยงข้อความที่เป็นการตัดสินใจ  หรือ  ความคิดเห็นเฉพาะบุคคล 3.  ข้อความที่เป็นปฏิเสธ  ควรเน้นให้เห็นชัดเจน 4.  ควรให้มีข้อที่ถูกและผิดจำนวนเกือบเท่ากัน
ใช้กับสถานการณ์ใด *  วัดความรู้  ความจำเกี่ยวกับคำศัพท์  ข้อเท็จจริง  หลักการและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ข้อ สอบแบบเติมคำ  /  ตอบสั้น
หลักการสร้าง 1.  แต่ละข้อควรใช้คำถามที่ตอบด้วย  คำ  ข้อความ  สัญลักษณ์  หรือจำนวนที่ชัดเจน  ( ถ้าเป็นจำนวนควร  ระบุหน่วย ) 2.  เว้นช่องว่างให้เหมาะสม  ถ้าต้องการให้เติมคำ  มากกว่า  1  แห่ง  ต้องเว้นช่องว่างให้มีขนาดเท่ากัน  3.  ช่องว่างที่จะให้เติมควรอยู่ท้ายประโยคมากกว่าต้นประโยค 4.  หลีกเลี่ยงการคัดลอกถ้อยคำจากหนังสือแบบคำต่อคำ 5.  หลีกเลี่ยงการเติมคำหลาย ๆ คำในข้อเดียวกัน
ตัวอย่าง ไม่ดี   สัตว์… . ที่ออกลูกเป็น… . และ… .. แม่เป็นสัตว์ประเภท…… ..
ตัวอย่าง ดีขึ้น   สัตว์เลือดอุ่นที่ออกลูกเป็นตัวและดูดนมแม่เป็นสัตว์ประเภท…… ...
ใช้กับสถานการณ์ใด *  วัดความรู้  ความจำเกี่ยวกับคำศัพท์  ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับวันเวลา  สูตรความสัมพันธ์ง่ายๆ ข้อ สอบแบบจับคู่
หลักการสร้าง 1.  มีคำอธิบายวิธีการจับคู่อย่างชัดเจน 2.  เนื้อหาของข้อสอบจะต้องเป็นเรื่องทำนองเดียวกัน 3.  คำถามและคำตอบควรสั้นและชัดเจน 4.  ข้อสอบควรอยู่ระหว่าง  5 - 12  ข้อ  5.  จำนวนคำตอบควรมีมากกว่าคำถาม  2  หรือ  3  ข้อ 6.  คำถามและคำตอบจะต้องอยู่ในหน้าเดียวกัน 7.  นิยมสร้างให้คำถามอยู่ทางซ้าย
ตัวอย่าง ……  1. ……  2. ……  3. ……  4. ……  5. ก . ข . ค . ง . จ . ฉ . ชุดคำถาม ชุดคำตอบ
เป็นข้อสอบที่นิยมใช้กันมาก  เพราะวัด  พฤติกรรมได้ทุกระดับและครอบคลุมเนื้อเรื่อง ข้อ สอบแบบหลายตัวเลือก ประกอบด้วย  ตัวคำถาม  ( Stem) ตัวเลือก  ( Alternatives)  นิยมใช้  3 - 6  ตัวเลือก *  ตัวคำตอบ  (answer / key) *  ตัวลวง  ( distracters)
ใช้กับสถานการณ์ใด *  วัดพฤติกรรมการเรียนรู้ได้ทุกระดับ  แต่ไม่เหมาะกับการวัดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ *  ต้องการพัฒนาเป็นแบบสอบมาตรฐาน ข้อ สอบแบบหลายตัวเลือก
หลักการสร้างข้อสอบหลายตัวเลือก 1.  ใช้ ประโยคคำถามที่สมบูรณ์ 2.  มีความเป็นปรนัย 3.  ไม่ใช้คำฟุ่มเฟือย 4.  ควรหลีกเลี่ยงคำปฏิเสธ
5.  มีความยุติธรรม 6.   ไม่แนะคำตอบ 7.   ตัวเลือกต้องถูกตามหลักวิชาการ 8.  ตัวเลือกต้องมีความเป็นเอกพันธ์ หลักการสร้างข้อสอบหลายตัวเลือก
9.  ตัวเลือกต้องเป็นอิสระจากกัน 10.   ไม่ถูกเด่น ผิดโด่ง 11.   ไม่ควรมีตัวเลือกปลายเปิด หลักการสร้างข้อสอบหลายตัวเลือก
พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย  ( Cognitive  Domain) ตัวอย่างคำที่แสดงถึงพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย   1.  รู้ - จำ : ให้นิยาม  บรรยาย  บอก  ชี้บ่ง  บัญญัติ  เลือก  จับคู่  เรียกชื่อ  ฯลฯ 2.  เข้าใจ : บอกความแตกต่าง  ขยายความ  ยกตัวอย่าง  ทำนาย  สรุป  ฯลฯ 3.  นำไปใช้ : ปฏิบัติการ  สาธิต  ใช้เครื่องมือ  แก้ปัญหา  ผลิต  แสดงฯลฯ 4. วิเคราะห์ : แยก  คัดเลือก  แบ่งย่อย  หาองค์ประกอบ  หาหลักการฯลฯ 5. สังเคราะห์ : จัดกลุ่มพวก  รวบรวมเป็นกลุ่ม  สร้าง  เขียนใหม่  สรุปฯลฯ  6. ประเมินค่า :  เปรียบเทียบ  ประเมิน  วิจารณ์  ให้เหตุผล โต้แย้งฯลฯ
1.  ข้อสอบวัดระดับ รู้จำ 1. 10  รู้เนื้อเรื่องเฉพาะ  1.11 ศัพท์ 1.12 ข้อเท็จจริง
1.  ข้อสอบวัดระดับ รู้จำ 1. 20  รู้วิธีดำเนินการ  1.21  ระเบียบ 1. 2 2  ขั้นตอน 1.23  จัดประเภท 1.24  เกณฑ์ 1.25  วิธีการ
1.  ข้อสอบวัดระดับ รู้จำ 1. 30  รู้หลักการ  1.31 หลักการทั่วไป 1. 3 2 ทฤษฎีและโครงสร้าง
2.  ข้อสอบวัดระดับ เข้าใจ 2. 10  การแปลความ  2. 20  การตีความ 2 .  30  การขยายความ
3.  ข้อสอบวัดระดับ ประยุกต์ - นำไปใช้ สามารถนำ  ความรู้ จำ  ความเข้าใจ ไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่
4.  ข้อสอบวัดระดับ วิเคราะห์ 4. 10  แยกส่วนประกอบ  4. 20  เชื่อมโยงส่วนประกอบ 4 .  30  เชื่อมโยงโครงสร้าง
5.  ข้อสอบวัดระดับ สังเคราะห์ 5. 10  สังเคราะห์ข้อความ  5. 20  สังเคราะห์แผนงาน 5 .  30  สังเคราะห์แนวคิด
6.  ข้อสอบวัดระดับ ประเมินค่า 6. 10  ตัดสินตามเกณฑ์ภายใน  6. 20  ตัดสินตามเกณฑ์ภายนอก
แบบคำถามเดี่ยว ข้อใดเป็นคุณลักษณะที่สำคัญที่สุดของแบบสอบ ก .  ความตรง ข .  ความเที่ยง ค .  ความเป็นปรนัย ง .  ความยุติธรรม รูปแบบคำถามของแบบสอบหลายตัวเลือก
ถ้าแบบสอบสามารถวัดผลได้อย่างคงเส้นคงวาแสดงว่าแบบสอบนั้นมีคุณลักษณะใด ก .  ความตรง ข .  ความเที่ยง ค .  ความเป็นปรนัย ง .  ความซื่อสัตย์ รูปแบบคำถามของแบบสอบหลายตัวเลือก
ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะของแบบสอบที่ดี ก .  ความตรง ข .  ความเที่ยง ค .  ความเป็นปรนัย ง .  ความซื่อสัตย์ รูปแบบคำถามของแบบสอบหลายตัวเลือก
จงเรียงลำดับความเป็นปรนัยของการตรวจข้อสอบต่อไปนี้ 1 .  อัตนัยจำกัดคำตอบ 2.  อัตนัยไม่จำกัดคำตอบ 3.  เติมคำ 4.  ตอบสั้น 5.  จับคู่ รูปแบบคำถามของแบบสอบหลายตัวเลือก ก . 21435 ข . 34153 ค . 53412 ง . 45321
จงเรียงลำดับความเป็นปรนัยจากมากไปน้อยของการตรวจข้อสอบต่อไปนี้ 1 .  อัตนัยจำกัดคำตอบ 2.  อัตนัยไม่จำกัดคำตอบ 3.  เติมคำ 4.  ตอบสั้น 5.  จับคู่ รูปแบบคำถามของแบบสอบหลายตัวเลือก ก . 21435 ข . 34153 ค . 53412 ง . 45321
การวัด  :   การประเมิน   ::   การกำหนดค่า  :  …. ก .  การแปลค่า ข .  การตีค่า ค .  การ วิเคราะห์ ค่า ง .  การตัดสินคุณค่า
ใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ  1-4  ก .  ความตรง ค .  ความเที่ยง  ข .  ความเป็นปรนัย ง .  ความมีอำนาจจำแนก แบบคำถามเป็นชุดตัวเลือกคงที่ 1.  คำถามบางข้อไม่ชัดเจน  2.  ข้อสอบวัดได้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย 3.  ข้อสอบวัดได้คะแนนคงเส้นคงวา 4.  คนเก่งทำได้แต่คนอ่อนทำไม่ได้
คำถามแบบบทความ / สถานการณ์ 1.  สถานการณ์  2.  ตาราง 3.  กราฟ 4.  ภาพ
[object Object],[object Object],[object Object],1 .   รำไม่ดี …………… ... ก .  คนไม่ดู   ค . ……….. ข .  หมูไม่กิน   ง . ………...
3.  วัดเบญจมบิตร มีเต่ามากมาย หลายชนิด อยากทราบเต่าเป็นสัตว์ ประเภทใด ก .  สัตว์บก ข .   สัตว์น้ำ ค .   สัตว์เลื้อยคลาน ง .  สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ
3.  ผิวหนังทำหน้าที่คล้ายส่วนใด ก .  ใบของต้นไม้ ข .   รากของต้นไม้ ค .   เปลือกของต้นไม้ ง .  กิ่งของต้นไม้
4.   ผลไม้ในข้อใด มีวิตามิน   C  สูงสุด ก .  มะยม   ค . มะม่วง ข .  มะนาว   ง . มะดัน ,[object Object],[object Object],[object Object]
6 .  ผลไม้ที่ใช้ทำส้มตำคือมะละอะไร ก .  กอ ข .   ขอ ค .  คอ ง .  งอ
6 .  นักเรียนที่ดีมีหน้าที่ ก .  เชื่อฟังครู ข .   ช่วยพ่อแม่ ค .   เคารพผู้ใหญ่ ง .  ประพฤติตัวดี
7 .  อาหารชนิดใดต่างจากชนิดอื่น ก .  ไข่ ข .   นม ค .   เนื้อ ง .  ข้าว จ .  ปลา
8 .  ถ้าต้นไม้ไม่ได้รับแสงแดดใบจะไม่มีลักษณะอย่างไร ก .  ซีด ข .   แห้ง ค .   เขียว ง .  เหี่ยว จ .  เหลือง
10 .  คนไทยส่วนใหญ่มีอาชีพอะไร ก .  การทำไร่ ข .   การทำนา ค . การเกษตร ง .  การค้าขาย จ .  การอุตสาหกรรม
11 .  ประเทศไทยมีพลเมืองกี่ล้านคน ก .  น้อยกว่า  60   ล้านคน ข .   น้อยกว่า  50   ล้านคน ค .  น้อยกว่า  40   ล้านคน ง .  มากกว่า  40   ล้านคน จ .  มากกว่า  50   ล้านคน
12 .  จำนวนใดที่คูณ  13  แล้วได้ผลลัพธ์เป็น  130  หารด้วย  5 ก . 5  ข .  1 ค . 13 ง . 3 จ . 2
12 .  จำนวนใดที่คูณ  13  แล้วได้ผลลัพธ์เป็น  130  หารด้วย  5 ก . 1  ข .  2 ค . 3 ง . 5 จ . 13
13 .  การเป็นหวัดดีอย่างไร ก .  ได้ชะล้างจมูก ข .   ไม่ต้องอาบน้ำ ค .  ไม่ได้กลิ่นเหม็น ง .  ไม่มีใครรบกวน จ .  มีโอกาสได้พักผ่อน
14 .  ความเสียสละมักให้ผลเสียในด้านใด ก .  เวลา ข .   แรงงาน ค . ความคิด ง .  ทรัพย์สิน จ .  ความเป็นอยู่
15 .  หลังรับประทานอาหารไม่ควรทำสิ่งใด ก .  นั่ง  ข .   นอนทันที ค .  เดิน ง .  ดูโทรทัศน์ จ .  ฟังวิทยุ
16 .  เด็กที่ฟันกำลังขึ้นควรบำรุงด้วยอาหารประเภทใด ก .  โปรตีน  ข .   ผักสด ค .  อาหารทะเล ง .  เครื่องใน จ .  อาหารประเภทที่มีแคลเซี่ยมมาก
1.  กำหนดจุดมุ่งหมายของการสอบ จุดมุ่งหมายวิชาการตามสาขา สมรรถนะที่ต้องการวัด จุดมุ่งหมายของการสอบ ขั้นตอนการสร้างและพัฒนา แบบสอบ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตารางผังข้อสอบ  ( Test  blueprint) รวมร้อยละ รวมข้อ บทที่   6 บทที่   5 บทที่   4 บทที่   3 บทที่   2 บทที่   1 ร้อยละ รวม ประเมินค่า สังเคราะห์ วิเคราะห์ นำไปใช้ เข้าใจ รู้ - จำ เรื่อง
ตารางผังข้อสอบ  ( Test  blueprint) 100 2 2 6 20 30 40 รวมร้อยละ 50 1 1 3 10 15 20 รวมข้อ 14 7 - - - 2 3 2 บทที่   6 16 8 1 1 - 1 3 2 บทที่   5 20 10 - - 1 - 3 6 บทที่   4 20 10 - - 2 4 2 2 บทที่   3 20 10 - - - 3 2 5 บทที่   2 10 5 - - - - 2 3 บทที่   1 ร้อยละ รวม ประเมินค่า สังเคราะห์ วิเคราะห์ นำไปใช้ เข้าใจ รู้ - จำ เรื่อง
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ใบงานที่  1 ให้ผู้เข้าอบรมใช้กระบวนการกลุ่มสร้าง  test blueprint  และส่งผู้แทนกลุ่มนำเสนอ
ก ารเขียนข้อสอบคู่ขนาน ความหมาย  ,[object Object]
ห ลักการเขียนข้อสอบคู่ขนาน 1.  กำหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม  และระดับพฤติกรรมที่ต้องการวัด 2.  เลือกรูปแบบของข้อสอบ 3.  กำหนดแบบแผนข้อสอบ  (Item Specification)
ตัวอย่าง วัตถุประสงค์ เมื่อกำหนดคำอธิบายความหมาย  ของ  แบบสอบ  การทดสอบการวัดและการประเมิน  ผู้เรียนสามารถบอกคำศัพท์  ที่มีความหมายตรงดับคำอธิบายได้  ถูกต้อง ระดับการวัด  : ความรู้  /  ความจำ
คำ ถาม ตัวเลือก “ ( ความหมาย )”   มีความหมายตรงกับคำศัพท์ข้อใด 1.  การวัด  2.  แบบสอบ  3.  การทดสอบ  . 4.  การประเมิน
วัตถุ ประสงค์ เมื่อกำหนดข้อมูล  /  สถานการณ์ให้ผู้เรียนสามารถหาค่ากลางได้ ระดับการวัด  : ความรู้  /  ความจำ
คำถาม ตัวเลือก ( สถานการณ์  /  ข้อมูล )   ค่าที่ได้  ( ค่ากลาง ) เป็นค่าในข้อใด 1.  ค่ามัชฌิมเลขคณิต 2.  ค่ามัธยฐาน  3.  ค่าฐานนิยม  4.  ค่าพิสัย
เทคนิคในการเพิ่มจำนวนข้อสอบคู่ขนาน 1.  นำคำตอบมาเป็นคำถาม นกน้อยทำรังแต่พอตัว เป็นสุภาษิตที่สอนเรื่องอะไร 1.  การประมาณตน  2.  ความมานะอดทน  3.  การสร้างงาน  4.  การประหยัดอดออม ( ข้อสอบเดิม ) ตัวอย่าง
( ข้อสอบที่สร้างใหม่ ) สุภาษิตในข้อใดต้องการสอนให้ประมาณตน 1.  เก็บเล็กผสมน้อย  2.  นกน้อยทำรังแต่พอตัว  3.  นกน้อยค่อยก้มประนมกร  4.  ตักน้ำใส่กระโหลกชะโงกดูเงา
2.  ถามตรงกันข้าม ( ข้อสอบเดิม  ) 5  เป็นตัวประกอบของจำนวนในข้อใด 1.  .………….  2.  …………. 3.  …………. 4.  ………….  ตัวอย่าง
( ข้อสอบที่สร้างใหม่ ) 5  ไม่ เป็นตัวประกอบของจำนวนในข้อใด ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
3.  คำถามเหมือนเดิม  แต่ตัวเลือกต่างกัน ( ข้อสอบเดิม ) ( ข้อสอบที่สร้างใหม่ ) จำนวนในข้อใดเป็นจำนวนเฉพาะ จำนวนในข้อใดเป็นจำนวนเฉพาะ 1.  2  2.  9  3.  15  4.  21 1.  4  2.  11  3.  18  4.  25 ตัวอย่าง
4.  เปลี่ยนถ้อยคำในคำถามและคำตอบ ( ข้อสอบเดิม ) ( ข้อสอบที่สร้างใหม่ )  5 + 8  ได้ผลลัพธ์เท่าใด 9 + 2  ได้ผลลัพธ์เท่าใด 1.  13  2.  14  3.  15  4.  16 1.  11  2.  12  3.  13  4.  14 ตัวอย่าง
ใบงาน ให้ผู้เข้าอบรมใช้กระบวนการกลุ่มฝึกเขียนข้อสอบ  และส่งผู้แทนกลุ่มนำเสนอ
ส วั ส ดี ส วั ส ดี สวัสดี

Contenu connexe

Tendances

เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์Wichai Likitponrak
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2Jiraporn Chaimongkol
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยาวิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยาCoverslide Bio
 

Tendances (20)

เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยาวิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 

Similaire à การเขียนข้อสอบ

Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155wongsrida
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
Testข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยTestข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยsuthida
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ JeeraJaree Srithai
 
การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2Nona Khet
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552wongsrida
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้onnichabee
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...Sirirat Faiubon
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 

Similaire à การเขียนข้อสอบ (20)

1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
Testข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยTestข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัย
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
 
Science
ScienceScience
Science
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
แนวคิด
แนวคิดแนวคิด
แนวคิด
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 

Plus de Nona Khet

ประชุม Happy workplace 27 ส.ค.56
ประชุม Happy workplace 27 ส.ค.56ประชุม Happy workplace 27 ส.ค.56
ประชุม Happy workplace 27 ส.ค.56Nona Khet
 
บริหารความเสี่ยงและการควบคุม20 มิ.ย.56
บริหารความเสี่ยงและการควบคุม20 มิ.ย.56บริหารความเสี่ยงและการควบคุม20 มิ.ย.56
บริหารความเสี่ยงและการควบคุม20 มิ.ย.56Nona Khet
 
น.อ.คมสัน บรรยายบ่าย 20 มิ.ย.56
น.อ.คมสัน บรรยายบ่าย 20 มิ.ย.56น.อ.คมสัน บรรยายบ่าย 20 มิ.ย.56
น.อ.คมสัน บรรยายบ่าย 20 มิ.ย.56Nona Khet
 
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55Nona Khet
 
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55Nona Khet
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
ประวัติของซูชิ
ประวัติของซูชิประวัติของซูชิ
ประวัติของซูชิNona Khet
 
เครื่องมือชุดธารปัญญา
เครื่องมือชุดธารปัญญาเครื่องมือชุดธารปัญญา
เครื่องมือชุดธารปัญญาNona Khet
 

Plus de Nona Khet (9)

ประชุม Happy workplace 27 ส.ค.56
ประชุม Happy workplace 27 ส.ค.56ประชุม Happy workplace 27 ส.ค.56
ประชุม Happy workplace 27 ส.ค.56
 
บริหารความเสี่ยงและการควบคุม20 มิ.ย.56
บริหารความเสี่ยงและการควบคุม20 มิ.ย.56บริหารความเสี่ยงและการควบคุม20 มิ.ย.56
บริหารความเสี่ยงและการควบคุม20 มิ.ย.56
 
น.อ.คมสัน บรรยายบ่าย 20 มิ.ย.56
น.อ.คมสัน บรรยายบ่าย 20 มิ.ย.56น.อ.คมสัน บรรยายบ่าย 20 มิ.ย.56
น.อ.คมสัน บรรยายบ่าย 20 มิ.ย.56
 
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
 
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Story nok
Story nokStory nok
Story nok
 
ประวัติของซูชิ
ประวัติของซูชิประวัติของซูชิ
ประวัติของซูชิ
 
เครื่องมือชุดธารปัญญา
เครื่องมือชุดธารปัญญาเครื่องมือชุดธารปัญญา
เครื่องมือชุดธารปัญญา
 

การเขียนข้อสอบ

  • 1. น . ต . ดร . พงศ์เทพ จิระโร ร . น . ( ครูพยาบาล กรมแพทย์ทหารเรือ ) ประกาศนียบัตรพยาบาลและอนามัย ( รร . พยาบาล กศษ . พร .) พย . บ . มหิดล , วท . บ . ( สุขศึกษา ) , ศษ . บ . ( บริหารการศึกษา ) ศษ . บ . ( การวัดและประเมินผลการศึกษา ) ค . ม . , Ph . D . ( การวัด และประเมินผลการศึกษา ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย “ หลักการวัด และประเมินผล / การเขียนข้อสอบ ” โดย
  • 3. การวัด ( Measurement ) ความหมาย : คือการกำหนดค่าให้กับสิ่งของหรือเหตุการณ์ตามกฎเกณฑ์ โดยค่าที่กำหนดให้ อาจเป็นตัวเลข หรือค่าที่เป็นระดับการวัดอื่น ๆ
  • 4.
  • 5. ระดับของการวัดผลหรือมาตราการวัดผล 3 . มาตราอันตรภาค ( Interval Scale ) การวัดระดับนี้สามารถแบ่งปริมาณที่วัดออกเป็นส่วน ๆ เท่ากันได้ แต่ไม่สามารถบอกจุดศูนย์แท้ (Absolute Zero) ได้ 4. มาตราอัตราส่วน ( Ratio Scale ) การวัดระดับนี้เป็นการวัดที่สมบูรณ์ที่สุดคือมีศูนย์แท้และมีช่วงคะแนนที่เท่ากัน
  • 6. เกณฑ์ ( Criteria ) ความหมาย : ระดับที่กำหนดขึ้นและเป็นที่ยอมรับในสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งอาจกำหนดเป็นเกณฑ์จากภายในหรือเกณฑ์จากภายนอก
  • 7. การประเมินผล ( Evaluation ) ความหมาย : การนำข้อมูลที่ได้จากการวัดมาพิจารณาเพื่อหาข้อสรุปหรือประเมินค่าด้วยเกณฑ์ที่กำหนดไว้ การประเมิน ( Evaluation) = การวัด (Measurement) + เกณฑ์ / ตัดสิน (Criteria)
  • 8.
  • 9. โมเดลการวัดผลทางการศึกษา คะแนนที่สังเกต = คะแนนจริง + คะแนน หรือวัดได้ ความคลาดเคลื่อน Observed score = True score + Error score (X) = (T) + (E)
  • 11.
  • 13. ลักษณะของข้อสอบที่ดี 1. ความตรง ( Validity ) 2. ความเที่ยง ( Reliability ) 3. ความเป็นปรนัย ( Objectivity ) 4. ความมีอำนาจจำแนก (Discrimination)
  • 14. 5. ความยากพอเหมาะ ( Difficulty ) 6. ความยุติธรรม ( Fairness ) 7. ความลึกซึ้ง ( Searching ) 8. ยั่วยุ กระตุ้น ( Exemplary ) 9. มีประสิทธิภาพ ( Efficiency )
  • 15. ข้อสอบวัดด้าน Cognitive 1. ความรู้ความจำ ( Knowledge) 2. ความเข้าใจ (Comprehension) 3. การนำไปใช้ (Application) 4. การวิเคราะห์ (Analysis)
  • 16. ข้อสอบวัดด้าน Cognitive 5 . การสังเคราะห์ ( Synthesis) 6. การประเมินค่า ( Evaluation )
  • 17. แบบสอบมาตรฐาน จำแนก ตาม ผู้สร้าง แบบสอบที่ผู้สอนสร้างเอง ป ระเภทของแบบสอบ
  • 18. แบบสอบอิงกลุ่ม จำแนก ตาม การ แปลผล แบบสอบอิงเกณฑ์ ป ระเภทของแบบสอบ
  • 19.
  • 20.
  • 21. ใช้กับสถานการณ์ใด * วัดความรู้ ความสามารถ ขั้นสูง ระดับ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า ข้อ สอบแบบความเรียง / อัตนัย
  • 22. การใช้ข้อสอบความเรียง 1. วัดพฤติกรรมที่ซับซ้อน เช่น การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และการประเมินค่า 2. วัดความสามารถในการบูรณาการความรู้ 3. วัดความคิด / การแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล 4. มีผู้สอบไม่มาก / มีเวลาตรวจ
  • 23. หลักการสร้าง 1. ก่อนเขียนคำถาม ควรวางแผนล่วงหน้าก่อนว่าต้องการวัดอะไร 2. กำหนดขอบเขตของคำถามที่จะให้ตอบอย่างชัดเจน ไม่ควรใช้ คำถามว่าใคร ทำอะไร เมื่อใด ที่ไหน 3. กำหนดน้ำหนักคะแนนแต่ละข้อ เพื่อผู้ตอบจะได้วางแผนการตอบ 4. กำหนดเวลาในการทำข้อสอบอย่างเพียงพอ 5. ทดลองตอบคำถาม โดยเขียนคำตอบที่ควรจะเป็น เพื่อเป็นการ ตรวจสอบความชัดเจน 6. หลีกเลี่ยงการให้ผู้ตอบ เลือกตอบเป็นบางข้อ
  • 24. ตัวอย่าง ไม่ดี ในยามสงบทหารเรือทำอะไร
  • 25. ตัวอย่าง ดีขึ้น จงอธิบายภารกิจของกองทัพเรือในด้านการป้องกันประเทศ และด้านการช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบภัยพิบัติ
  • 26. ข้อแนะนำในการตรวจข้อสอบความเรียง 1. เตรียมคำเฉลยที่ถูกต้องสมบูรณ์ พร้อมเกณฑ์การตรวจให้คะแนน 2. ตรวจข้อสอบจากกระดาษคำตอบทีละข้อ ของทุกคน โดยไม่ดูชื่อ 3. ควรอ่านคำตอบ และจำแนกคุณภาพของคำตอบเป็นกลุ่ม ๆ 4. ตรวจข้อสอบของแต่ละคนทีละกลุ่ม เริ่มจากกลุ่มที่ดีที่สุดก่อน
  • 27. ใช้กับสถานการณ์ใด * วัดความรู้ ความเข้าใจ ความเชื่อในเรื่องต่าง ๆ * ใช้ทดสอบกับเด็กเล็ก เด็กมีปัญหาการอ่าน ข้อ สอบแบบถูกผิด
  • 28. หลักการสร้าง 1. แต่ละข้อควรมีประเด็นสำคัญเพียงประเด็นเดียว ( Unidimensionality) 2. หลีกเลี่ยงข้อความที่เป็นการตัดสินใจ หรือ ความคิดเห็นเฉพาะบุคคล 3. ข้อความที่เป็นปฏิเสธ ควรเน้นให้เห็นชัดเจน 4. ควรให้มีข้อที่ถูกและผิดจำนวนเกือบเท่ากัน
  • 29. ใช้กับสถานการณ์ใด * วัดความรู้ ความจำเกี่ยวกับคำศัพท์ ข้อเท็จจริง หลักการและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ข้อ สอบแบบเติมคำ / ตอบสั้น
  • 30. หลักการสร้าง 1. แต่ละข้อควรใช้คำถามที่ตอบด้วย คำ ข้อความ สัญลักษณ์ หรือจำนวนที่ชัดเจน ( ถ้าเป็นจำนวนควร ระบุหน่วย ) 2. เว้นช่องว่างให้เหมาะสม ถ้าต้องการให้เติมคำ มากกว่า 1 แห่ง ต้องเว้นช่องว่างให้มีขนาดเท่ากัน 3. ช่องว่างที่จะให้เติมควรอยู่ท้ายประโยคมากกว่าต้นประโยค 4. หลีกเลี่ยงการคัดลอกถ้อยคำจากหนังสือแบบคำต่อคำ 5. หลีกเลี่ยงการเติมคำหลาย ๆ คำในข้อเดียวกัน
  • 31. ตัวอย่าง ไม่ดี สัตว์… . ที่ออกลูกเป็น… . และ… .. แม่เป็นสัตว์ประเภท…… ..
  • 32. ตัวอย่าง ดีขึ้น สัตว์เลือดอุ่นที่ออกลูกเป็นตัวและดูดนมแม่เป็นสัตว์ประเภท…… ...
  • 33. ใช้กับสถานการณ์ใด * วัดความรู้ ความจำเกี่ยวกับคำศัพท์ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับวันเวลา สูตรความสัมพันธ์ง่ายๆ ข้อ สอบแบบจับคู่
  • 34. หลักการสร้าง 1. มีคำอธิบายวิธีการจับคู่อย่างชัดเจน 2. เนื้อหาของข้อสอบจะต้องเป็นเรื่องทำนองเดียวกัน 3. คำถามและคำตอบควรสั้นและชัดเจน 4. ข้อสอบควรอยู่ระหว่าง 5 - 12 ข้อ 5. จำนวนคำตอบควรมีมากกว่าคำถาม 2 หรือ 3 ข้อ 6. คำถามและคำตอบจะต้องอยู่ในหน้าเดียวกัน 7. นิยมสร้างให้คำถามอยู่ทางซ้าย
  • 35. ตัวอย่าง …… 1. …… 2. …… 3. …… 4. …… 5. ก . ข . ค . ง . จ . ฉ . ชุดคำถาม ชุดคำตอบ
  • 36. เป็นข้อสอบที่นิยมใช้กันมาก เพราะวัด พฤติกรรมได้ทุกระดับและครอบคลุมเนื้อเรื่อง ข้อ สอบแบบหลายตัวเลือก ประกอบด้วย ตัวคำถาม ( Stem) ตัวเลือก ( Alternatives) นิยมใช้ 3 - 6 ตัวเลือก * ตัวคำตอบ (answer / key) * ตัวลวง ( distracters)
  • 37. ใช้กับสถานการณ์ใด * วัดพฤติกรรมการเรียนรู้ได้ทุกระดับ แต่ไม่เหมาะกับการวัดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ * ต้องการพัฒนาเป็นแบบสอบมาตรฐาน ข้อ สอบแบบหลายตัวเลือก
  • 38. หลักการสร้างข้อสอบหลายตัวเลือก 1. ใช้ ประโยคคำถามที่สมบูรณ์ 2. มีความเป็นปรนัย 3. ไม่ใช้คำฟุ่มเฟือย 4. ควรหลีกเลี่ยงคำปฏิเสธ
  • 39. 5. มีความยุติธรรม 6. ไม่แนะคำตอบ 7. ตัวเลือกต้องถูกตามหลักวิชาการ 8. ตัวเลือกต้องมีความเป็นเอกพันธ์ หลักการสร้างข้อสอบหลายตัวเลือก
  • 40. 9. ตัวเลือกต้องเป็นอิสระจากกัน 10. ไม่ถูกเด่น ผิดโด่ง 11. ไม่ควรมีตัวเลือกปลายเปิด หลักการสร้างข้อสอบหลายตัวเลือก
  • 41. พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย ( Cognitive Domain) ตัวอย่างคำที่แสดงถึงพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย 1. รู้ - จำ : ให้นิยาม บรรยาย บอก ชี้บ่ง บัญญัติ เลือก จับคู่ เรียกชื่อ ฯลฯ 2. เข้าใจ : บอกความแตกต่าง ขยายความ ยกตัวอย่าง ทำนาย สรุป ฯลฯ 3. นำไปใช้ : ปฏิบัติการ สาธิต ใช้เครื่องมือ แก้ปัญหา ผลิต แสดงฯลฯ 4. วิเคราะห์ : แยก คัดเลือก แบ่งย่อย หาองค์ประกอบ หาหลักการฯลฯ 5. สังเคราะห์ : จัดกลุ่มพวก รวบรวมเป็นกลุ่ม สร้าง เขียนใหม่ สรุปฯลฯ 6. ประเมินค่า : เปรียบเทียบ ประเมิน วิจารณ์ ให้เหตุผล โต้แย้งฯลฯ
  • 42. 1. ข้อสอบวัดระดับ รู้จำ 1. 10 รู้เนื้อเรื่องเฉพาะ 1.11 ศัพท์ 1.12 ข้อเท็จจริง
  • 43. 1. ข้อสอบวัดระดับ รู้จำ 1. 20 รู้วิธีดำเนินการ 1.21 ระเบียบ 1. 2 2 ขั้นตอน 1.23 จัดประเภท 1.24 เกณฑ์ 1.25 วิธีการ
  • 44. 1. ข้อสอบวัดระดับ รู้จำ 1. 30 รู้หลักการ 1.31 หลักการทั่วไป 1. 3 2 ทฤษฎีและโครงสร้าง
  • 45. 2. ข้อสอบวัดระดับ เข้าใจ 2. 10 การแปลความ 2. 20 การตีความ 2 . 30 การขยายความ
  • 46. 3. ข้อสอบวัดระดับ ประยุกต์ - นำไปใช้ สามารถนำ ความรู้ จำ ความเข้าใจ ไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่
  • 47. 4. ข้อสอบวัดระดับ วิเคราะห์ 4. 10 แยกส่วนประกอบ 4. 20 เชื่อมโยงส่วนประกอบ 4 . 30 เชื่อมโยงโครงสร้าง
  • 48. 5. ข้อสอบวัดระดับ สังเคราะห์ 5. 10 สังเคราะห์ข้อความ 5. 20 สังเคราะห์แผนงาน 5 . 30 สังเคราะห์แนวคิด
  • 49. 6. ข้อสอบวัดระดับ ประเมินค่า 6. 10 ตัดสินตามเกณฑ์ภายใน 6. 20 ตัดสินตามเกณฑ์ภายนอก
  • 50. แบบคำถามเดี่ยว ข้อใดเป็นคุณลักษณะที่สำคัญที่สุดของแบบสอบ ก . ความตรง ข . ความเที่ยง ค . ความเป็นปรนัย ง . ความยุติธรรม รูปแบบคำถามของแบบสอบหลายตัวเลือก
  • 51. ถ้าแบบสอบสามารถวัดผลได้อย่างคงเส้นคงวาแสดงว่าแบบสอบนั้นมีคุณลักษณะใด ก . ความตรง ข . ความเที่ยง ค . ความเป็นปรนัย ง . ความซื่อสัตย์ รูปแบบคำถามของแบบสอบหลายตัวเลือก
  • 52. ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะของแบบสอบที่ดี ก . ความตรง ข . ความเที่ยง ค . ความเป็นปรนัย ง . ความซื่อสัตย์ รูปแบบคำถามของแบบสอบหลายตัวเลือก
  • 53. จงเรียงลำดับความเป็นปรนัยของการตรวจข้อสอบต่อไปนี้ 1 . อัตนัยจำกัดคำตอบ 2. อัตนัยไม่จำกัดคำตอบ 3. เติมคำ 4. ตอบสั้น 5. จับคู่ รูปแบบคำถามของแบบสอบหลายตัวเลือก ก . 21435 ข . 34153 ค . 53412 ง . 45321
  • 54. จงเรียงลำดับความเป็นปรนัยจากมากไปน้อยของการตรวจข้อสอบต่อไปนี้ 1 . อัตนัยจำกัดคำตอบ 2. อัตนัยไม่จำกัดคำตอบ 3. เติมคำ 4. ตอบสั้น 5. จับคู่ รูปแบบคำถามของแบบสอบหลายตัวเลือก ก . 21435 ข . 34153 ค . 53412 ง . 45321
  • 55. การวัด : การประเมิน :: การกำหนดค่า : …. ก . การแปลค่า ข . การตีค่า ค . การ วิเคราะห์ ค่า ง . การตัดสินคุณค่า
  • 56. ใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 1-4 ก . ความตรง ค . ความเที่ยง ข . ความเป็นปรนัย ง . ความมีอำนาจจำแนก แบบคำถามเป็นชุดตัวเลือกคงที่ 1. คำถามบางข้อไม่ชัดเจน 2. ข้อสอบวัดได้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย 3. ข้อสอบวัดได้คะแนนคงเส้นคงวา 4. คนเก่งทำได้แต่คนอ่อนทำไม่ได้
  • 57. คำถามแบบบทความ / สถานการณ์ 1. สถานการณ์ 2. ตาราง 3. กราฟ 4. ภาพ
  • 58.
  • 59. 3. วัดเบญจมบิตร มีเต่ามากมาย หลายชนิด อยากทราบเต่าเป็นสัตว์ ประเภทใด ก . สัตว์บก ข . สัตว์น้ำ ค . สัตว์เลื้อยคลาน ง . สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ
  • 60. 3. ผิวหนังทำหน้าที่คล้ายส่วนใด ก . ใบของต้นไม้ ข . รากของต้นไม้ ค . เปลือกของต้นไม้ ง . กิ่งของต้นไม้
  • 61.
  • 62. 6 . ผลไม้ที่ใช้ทำส้มตำคือมะละอะไร ก . กอ ข . ขอ ค . คอ ง . งอ
  • 63. 6 . นักเรียนที่ดีมีหน้าที่ ก . เชื่อฟังครู ข . ช่วยพ่อแม่ ค . เคารพผู้ใหญ่ ง . ประพฤติตัวดี
  • 64. 7 . อาหารชนิดใดต่างจากชนิดอื่น ก . ไข่ ข . นม ค . เนื้อ ง . ข้าว จ . ปลา
  • 65. 8 . ถ้าต้นไม้ไม่ได้รับแสงแดดใบจะไม่มีลักษณะอย่างไร ก . ซีด ข . แห้ง ค . เขียว ง . เหี่ยว จ . เหลือง
  • 66. 10 . คนไทยส่วนใหญ่มีอาชีพอะไร ก . การทำไร่ ข . การทำนา ค . การเกษตร ง . การค้าขาย จ . การอุตสาหกรรม
  • 67. 11 . ประเทศไทยมีพลเมืองกี่ล้านคน ก . น้อยกว่า 60 ล้านคน ข . น้อยกว่า 50 ล้านคน ค . น้อยกว่า 40 ล้านคน ง . มากกว่า 40 ล้านคน จ . มากกว่า 50 ล้านคน
  • 68. 12 . จำนวนใดที่คูณ 13 แล้วได้ผลลัพธ์เป็น 130 หารด้วย 5 ก . 5 ข . 1 ค . 13 ง . 3 จ . 2
  • 69. 12 . จำนวนใดที่คูณ 13 แล้วได้ผลลัพธ์เป็น 130 หารด้วย 5 ก . 1 ข . 2 ค . 3 ง . 5 จ . 13
  • 70. 13 . การเป็นหวัดดีอย่างไร ก . ได้ชะล้างจมูก ข . ไม่ต้องอาบน้ำ ค . ไม่ได้กลิ่นเหม็น ง . ไม่มีใครรบกวน จ . มีโอกาสได้พักผ่อน
  • 71. 14 . ความเสียสละมักให้ผลเสียในด้านใด ก . เวลา ข . แรงงาน ค . ความคิด ง . ทรัพย์สิน จ . ความเป็นอยู่
  • 72. 15 . หลังรับประทานอาหารไม่ควรทำสิ่งใด ก . นั่ง ข . นอนทันที ค . เดิน ง . ดูโทรทัศน์ จ . ฟังวิทยุ
  • 73. 16 . เด็กที่ฟันกำลังขึ้นควรบำรุงด้วยอาหารประเภทใด ก . โปรตีน ข . ผักสด ค . อาหารทะเล ง . เครื่องใน จ . อาหารประเภทที่มีแคลเซี่ยมมาก
  • 74. 1. กำหนดจุดมุ่งหมายของการสอบ จุดมุ่งหมายวิชาการตามสาขา สมรรถนะที่ต้องการวัด จุดมุ่งหมายของการสอบ ขั้นตอนการสร้างและพัฒนา แบบสอบ
  • 75.
  • 76. ตารางผังข้อสอบ ( Test blueprint) รวมร้อยละ รวมข้อ บทที่ 6 บทที่ 5 บทที่ 4 บทที่ 3 บทที่ 2 บทที่ 1 ร้อยละ รวม ประเมินค่า สังเคราะห์ วิเคราะห์ นำไปใช้ เข้าใจ รู้ - จำ เรื่อง
  • 77. ตารางผังข้อสอบ ( Test blueprint) 100 2 2 6 20 30 40 รวมร้อยละ 50 1 1 3 10 15 20 รวมข้อ 14 7 - - - 2 3 2 บทที่ 6 16 8 1 1 - 1 3 2 บทที่ 5 20 10 - - 1 - 3 6 บทที่ 4 20 10 - - 2 4 2 2 บทที่ 3 20 10 - - - 3 2 5 บทที่ 2 10 5 - - - - 2 3 บทที่ 1 ร้อยละ รวม ประเมินค่า สังเคราะห์ วิเคราะห์ นำไปใช้ เข้าใจ รู้ - จำ เรื่อง
  • 78.
  • 79. ใบงานที่ 1 ให้ผู้เข้าอบรมใช้กระบวนการกลุ่มสร้าง test blueprint และส่งผู้แทนกลุ่มนำเสนอ
  • 80.
  • 81. ห ลักการเขียนข้อสอบคู่ขนาน 1. กำหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม และระดับพฤติกรรมที่ต้องการวัด 2. เลือกรูปแบบของข้อสอบ 3. กำหนดแบบแผนข้อสอบ (Item Specification)
  • 82. ตัวอย่าง วัตถุประสงค์ เมื่อกำหนดคำอธิบายความหมาย ของ แบบสอบ การทดสอบการวัดและการประเมิน ผู้เรียนสามารถบอกคำศัพท์ ที่มีความหมายตรงดับคำอธิบายได้ ถูกต้อง ระดับการวัด : ความรู้ / ความจำ
  • 83. คำ ถาม ตัวเลือก “ ( ความหมาย )” มีความหมายตรงกับคำศัพท์ข้อใด 1. การวัด 2. แบบสอบ 3. การทดสอบ . 4. การประเมิน
  • 84. วัตถุ ประสงค์ เมื่อกำหนดข้อมูล / สถานการณ์ให้ผู้เรียนสามารถหาค่ากลางได้ ระดับการวัด : ความรู้ / ความจำ
  • 85. คำถาม ตัวเลือก ( สถานการณ์ / ข้อมูล ) ค่าที่ได้ ( ค่ากลาง ) เป็นค่าในข้อใด 1. ค่ามัชฌิมเลขคณิต 2. ค่ามัธยฐาน 3. ค่าฐานนิยม 4. ค่าพิสัย
  • 86. เทคนิคในการเพิ่มจำนวนข้อสอบคู่ขนาน 1. นำคำตอบมาเป็นคำถาม นกน้อยทำรังแต่พอตัว เป็นสุภาษิตที่สอนเรื่องอะไร 1. การประมาณตน 2. ความมานะอดทน 3. การสร้างงาน 4. การประหยัดอดออม ( ข้อสอบเดิม ) ตัวอย่าง
  • 87. ( ข้อสอบที่สร้างใหม่ ) สุภาษิตในข้อใดต้องการสอนให้ประมาณตน 1. เก็บเล็กผสมน้อย 2. นกน้อยทำรังแต่พอตัว 3. นกน้อยค่อยก้มประนมกร 4. ตักน้ำใส่กระโหลกชะโงกดูเงา
  • 88. 2. ถามตรงกันข้าม ( ข้อสอบเดิม ) 5 เป็นตัวประกอบของจำนวนในข้อใด 1. .…………. 2. …………. 3. …………. 4. …………. ตัวอย่าง
  • 89.
  • 90. 3. คำถามเหมือนเดิม แต่ตัวเลือกต่างกัน ( ข้อสอบเดิม ) ( ข้อสอบที่สร้างใหม่ ) จำนวนในข้อใดเป็นจำนวนเฉพาะ จำนวนในข้อใดเป็นจำนวนเฉพาะ 1. 2 2. 9 3. 15 4. 21 1. 4 2. 11 3. 18 4. 25 ตัวอย่าง
  • 91. 4. เปลี่ยนถ้อยคำในคำถามและคำตอบ ( ข้อสอบเดิม ) ( ข้อสอบที่สร้างใหม่ ) 5 + 8 ได้ผลลัพธ์เท่าใด 9 + 2 ได้ผลลัพธ์เท่าใด 1. 13 2. 14 3. 15 4. 16 1. 11 2. 12 3. 13 4. 14 ตัวอย่าง
  • 93. ส วั ส ดี ส วั ส ดี สวัสดี