SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  21
Télécharger pour lire hors ligne
ชือโครงงาน หมวกกระเป๋ า
   วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ


             จัดทําโดย

         นายสุ ทธิเดช ทิพจร
  ชั"นมัธยมศึกษาปี ที 6/13 เลขที 6




                เสนอ
        ครู เขือนทอง มูลวรรณ


     ภาคเรียนที 2 ปี การศึกษา 2555
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
บทที 1 : บทนํา


ชือโครงงาน : หมวกกระเป๋ า



คณะผู้จัดทําโครงงาน : นายสุทธิเดช ทิพจร เลขที 6



                        ชันมัธยมศึกษาปี ที 6/13

ครู ทีปรึกษาโครงงาน : คุณครูเขือนทอง มูลวรรณ

ทีมาและความสําคัญของ “โครงงานหมวกกระเปา”
                                      ๋

        ในปั จ จุบน
                  ั     สิ งของเครื องใช้ ม ากมายได้ ถูกมนุษย์ พ ยายามคิดค้ น และประดิษฐ์ ขึนมาเพื อ
ตอบสนองความต้ องการของมนุษย์ โดยดูเหมือนว่าความต้ องการนันไม่สามารถจํากัดได้ เมือมีสิงหนึง
แล้ วก็อยากได้ ทีดีกว่า สวยกว่ากันทังนัน ซึงมันก็ถือเป็ นเรื องธรรมชาติของมนุษย์ในยุคนีไปเสียแล้ ว จาก
ความต้ องการทีไม่มีขีดจํากัดนี การสร้ างสิงประดิษฐ์ ทีมีประโยชน์ใช้ สอยอย่างหลากหลาย แถมยังต้ องมี
รูปลักษณ์ทีสวยงาม น่าใช้ จึงเป็ นสิงสําคัญทีจะชักนํา หรื อหันเหความสนใจจากผู้บริ โภค หรื อบุคคลทัวไป

        แต่ถึงอย่างไรนัน สิงประดิษฐ์ หรื อของใช้ ทีถูกนําเสนอออกมาในยุคปั จจุบน ส่วนมากจะเป็ นการ
                                                                              ั
ตอบสนองความต้ องการของกลุ่มคนกลุ่มใหญ่ หรื อองค์กรใหญ่ ๆ ที มีงบประมาณสูง แต่สําหรั บสิงของ
เครื องใช้ ทีสามารถตอบสนองความต้ องการของบุคคลทัวไป ในการดําเนินชีวิตประจําวันดูเหมือนจะไม่
ค่อยได้ รับความสนใจจากนักประดิษฐ์ หรื อผู้คิดค้ นมากนัก ทํ าให้ คนทัวไปมี ความสะดวกสบายแต่ก็ไม่
เต็มที มากนัก ทางผู้จัดทํ าได้ เล็งเห็ นถึงความสํ าคัญของการตอบสนองความต้ องการของคนในการใช้
ชีวิตประจําวัน มีความสนใจและฉุกคิดถึงอุปกรณ์ หรื อสิงของทีคนธรรมดา สามัญสามารถใช้ ได้ และใช้
ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพมากทีสุด
จากการต้ องการคิดค้ นสิงของทีจะทําประโยชน์แก่คนทัวไปได้ ผู้จดทําได้ สงเกตเห็นปั ญหาของคน
                                                                    ั        ั
ใกล้ ชิดคือการเป็ นคนทีมีนิสยขีลืม มักทําของหาย ลืมสิงทีต้ องทํา และปั ญหาต่างๆ อีกมากมายทีมาจาก
                            ั
การเป็ นคนขี ลื มนันเอง ผู้จัดทํ าจึงได้ คิดหาอุปกรณ์ ทีช่วยให้ คนพวกนันหมดปั ญหาที มีอยู่ไปได้ และได้
สรุ ปว่าจะทําหมวก ซึงหมวกทีคิดขึนนีจะช่วยในเรื องของการเก็บสิงของเล็ก น้ อยๆ ได้ ซึงก็คือมีช่องเก็บที
ปลอดภัย มิดชิด และยังมีชองเอาไว้ หนีบกระดาษเตือนความจํา ทีสําคัญจะต้ องสะดวกต่อการใช้ งานอีก
                        ่
ด้ วย

        อีกประการหนึงทีอาจเป็ นเหตุผลสําคัญทีจะทําให้ คนทัวไปเลือกใช้ หมวกใบนี นอกจากประโยชน์ใช้
สอยทีมากมายดังทีกล่าวมาข้ างต้ นแล้ วนัน การทีหมวกสามารถพับเก็บได้ คงเป็ นอีกปั จจัยสําคัญทีทําให้
หมวกใบนี ต่างจากหมวกธรรมดาใบอื นๆ ผู้ใช้ สามารถพับเก็ บหมวกเมื อไม่ต้องการใช้ เมื อใดก็ ตามที
ต้ องการ ก็สามารถนําออกมาใช้ ได้ โดยง่าย โดยสามารถพับเก็บได้ ในรู ปของกระเป๋ าสะพายใบเล็กๆ ทีเมือ
ไม่ต้องการใช้ เป็ นหมวกสําหรับสวมใส่ ก็ใช้ เป็ นกระเป๋ าสะพายคล้ องคอเล็กทีใช้ เก็บของกระจุกกระจิกหรื อ
ของสําคัญต่างๆไว้ กบตัวได้
                   ั

        หมวกกระเป๋ าจึงถือเป็ นอีกทางเลือกหนึงทีน่าสนใจสําหรับผู้ทีตามหาสิงของเครื องใช้ ทีมีคณภาพ
                                                                                              ุ
และประโยชน์ใช้ สอยมากมายเช่นนี บวกกับรู ปลักษณ์ทีสวยงามแล้ วนันหากใครมีไว้ ในครอบครองก็คงจะ
เป็ นทีน่ายินดี และน่าอิจฉา



จุดมุ่งหมายของโครงงานหมวกพับได้

        หมวกกระเป๋ าเป็ นสิ งอํ านวยความสะดวกแก่คนทุกวัย โดยเฉพาะวัยเด็กและวัยรุ่ นเนื องจากมี
รูปลักษณ์ทีทันสมัย สีสนสดใส และมีความแปลกใหม่ สามารถใช้ สิงประดิษฐ์ นีใน หลายสถานทีและใส่ได้
                      ั
ในทุก ๆโอกาส เช่น การเดินเล่นบริ เวณกลางแจ้ งทีมีอากาศร้ อน การสวมใส่เพือแฟชัน การเทียวพักผ่อน
กับครอบครัว เป็ นต้ น หมวกใบนียัง ช่วยแก้ ปัญหาสําหรับผู้ทีไม่ชอบถือของพะรุงพะรัง หรื อมีนิสยขีลืม ซึง
                                                                                            ั
สามารถเก็บได้ ทงเศษเหรี ยญ ธนบัตร กระดาษโน้ ต ตัวรถ และของกระจุกกระจิกต่างๆหรื อแม้ กระทังสิงของ
               ั                                :
สําคัญทีต้ องการเก็บไว้ กบตัว ซึงจะช่วยแก้ ปัญหาได้ อยูในระดับดีเลยทีเดียว
                         ั                            ่
นิยามศัพท์ เฉพาะ (Definition)

       โครงงาน “หมวกกระเปา” ได้ นิยามศัพท์ไว้ ว่า หมวกกระเปาในโครงงานนีซึงมีความหมายว่า
                         ๋                                 ๋
หมวกทีสามารถใช้ แทนเป็ นกระเป๋ าได้ เพือตอบสนองความต้ องการของผู้ใช้ ได้ อย่างหลากหลาย อาทิเช่น
สามารถเก็บเหรี ยญหรื อสิงเล็กๆ มีทีเสียบกระดาษโน้ ต และสามารถพับเก็ บได้ โดยง่ายโดยอยู่ในรู ปของ
กระเป๋ าสะพายคล้ องคอใบเล็ก ซึงทางผู้จดทําได้ ออกแบบมา โดยคํานึงถึงความสวยงามและประโยชน์ใช้
                                      ั
สอยของหมวก จนออกมาเป็ นผลงานทีสําเร็ จเสร็ จสมบูรณ์


ประโยชน์ ทีคาดว่ าจะได้ รับ

       1. เป็ นแนวทางสํ าหรั บผู้ทีสนใจการใช้ สิ งของเครื องใช้ ส่วนตัว ซึงในที นี ได้ นําเสนอในรู ปแบบ
          หมวก ซึงมีรูปลักษณ์อนสวยงาม และมีประโยชน์ใช้ สอยทีมากกว่าหมวกธรรมดาทัวไป นันก็
                                   ั
          คือสามารถเก็ บเศษเหรี ยญ เสี ยบโน้ ตย่อได้ แถมยังสามารถพับเก็ บได้ ในรู ปของกระเป๋ า
          สะพาย เหมาะสําหรับการพกพาไม่เปลืองเนือที และไม่ซําใครอีกด้ วย
       2. ช่วยแก้ ปัญหา ผู้ทีมักจะลืมหรื อทําสิงของเล็กๆ หาย สามารถเก็บไว้ ทีหมวกซึงจะไม่มีการสูญ
          หาย หรื อลืมทิงไว้ ทีอืน
       3. ช่วยพัฒนากิจกรรมการเรี ยนการสอนทีเน้ นทักษะกระบวนการคิดสร้ างสรรค์ให้ มีประสิทธิภาพ
          มากยิงขึน
       4. เป็ นแนวทางในการริ เริ มด้ านการใช้ ความคิดสร้ างสรรค์ สําหรับผู้ทีมีความสนใจ
       5. ส่งเสริ มกระบวนการทํางานเป็ นทีม ซึงต้ องอาศัยทังความร่วมมือ ร่วมใจ การเสียสละ ยอมรับ
          ฟั งความคิดเห็นผู้อืน ซึงสามารถนําไปปรับใช้ โดยตรงในการใช้ ชีวิตประจําวันได้ เป็ นอย่างดี
บทที 2 : การรวบรวมข้ อมูล

        ในการดําเนินงานโครงงานเทคโนโลยี “หมวกสารพัดนึก” ผู้จัดทํ าได้ รวบรวมข้ อมูล หลักการ
แนวคิด ทฤษฎีทีเกียวข้ องจากเอกสาร ตํารา บทความ สืบค้ นผ่านอินเตอร์ เน็ต ซึงประกอบด้ วย

    1.หลักสูตรการศึกษาขึนพืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชันที 4
    (ม.4-6) สาระการออกแบบและเทคโนโลยี

    2.หลักการออกแบบ แผ่นฉนวนกันร้ อนจากท่อไอเสีย

    3.ความรู้ เกียวกับอุปกรณ์ในการทําแผ่นฉนวนกันความร้ อน

    4.ข้ อมูลอืนๆทีเกียวข้ อง

หลักการออกแบบ หมวกกระเปา
                       ๋

         หมวกกระเป๋ า นี#มีรูปร่ าง ลักษณะทีคล้ายกับหมวกธรรมดา โดยทีตัวหมวกเป็ นรู ปครึ งวงกลมแต่ต่าง
ที ปี กของหมวก จะเป็ นปี กอ่ อนที ทํา มาจากผ้า ที ไม่ แข็ง และมี ล ัก ษณะลวดลายที สวยงาม โดยมี ที หนี บ
กระดาษรู ปร่ างเป็ นเส้นยาวๆเย็บพาดกับปี กหมวก ภายในตัวของหมวกจะถูกออกแบบเพือ ปรับอุ ณหภูมิ
โดยมีแผ่นเปลียนอุณหภูมิเย็บติดอยู่ บริ เวณขอบของตัวหมวกมีซิปทีมีไว้สําหรับพับเก็บเป็ นกระเป๋ าสตางค์
ได้ สําหรั บกระบวนการทํางานของผลิ ตภัณฑ์น# ี คื อ มีไว้สําหรั บสวมในบริ เวณกลางแจ้ง หรื อทีแดดร้ อน
เพราะสามารถปรับอุณหภูมิให้แก่ศีรษะมีความสบายมากยิงขึ#น หลังจากใช้เสร็ จอาจจะพับเก็บให้มีขนาดเล็ก
ลงเพือใช้เป็ นกระเป๋ าสตางค์เก็บเศษเหรี ยญได้ตามต้องการ

3.ความรู้ เกียวกับโปรแกรม Google sketch up
Google SketchUp เป็ นซอฟท์แวร์ สร้ างโมเดล 3มิตทีมีเครื องมือพืนฐานต่างๆเพียงพอกับการใช้ งาน
                                                        ิ
ของผู้ใช้ ระดับพืนๆทัวๆไป ทีต้ องการจะสร้ างแบบ 3มิตของโต๊ ะ, เก้ าอี, ตู้, เครื องใช้ ในบ้ านต่างๆ หรื อจะใช้
                                                    ิ
สร้ างแบบในการต่อเติมบ้ าน และงานไม้ ตางๆก็ได้ ซึงก็จะมีรูปแบบของ texture แบบต่างๆให้ เลือกใช้ ได้ ครบ
                                      ่
แต่ถ้าต้ องการจะนําไปสร้ างโมเดลการ์ ตนเอนิเมชันต่างๆก็คงไม่พอ นอกจากจะใช้ เริ มหัดพืนฐานสร้ าง
                                      ู
โมเดลต่างๆก็พอได้ Sketchup ถูกพัฒนาขึนโดยบริ ษัท @Last ในปี ค.ศ.1999 ซึงมีเปาหมายทีจะ
                                                                            ้
- พัฒนาโปรแกรมออกแบบ Model 3 มิติ โดยมี Interface ทีเรี ยบง่ายและใช้ งานสะดวก

- ให้ ผ้ ใช้ งานสนุกกับการสร้ างและออกแบบ
         ู
- ทําให้ ผ้ ออกแบบมีลกเล่นในส่วนของงานออกแบบและนําเสนอ โดยทีโปรแกรมอืนๆ ไม่สามารถทําได้
            ู        ู
ต่อมา บริ ษัท Google ได้ เข้ าซือบริ ษัท @Last ตอนต้ นปี 2006 ทําให้ กลายเป็ นเวอร์ ชนใหม่คือ “Google
                                                                                     ั
Sketchup”


ฟั งก์ชนทีน่าสนใจของ Google SketchUp คือสามารถเข้ าไปค้ นหาโมเดล 3มิตจากฐานข้ อมูลของ Google
       ั                                                             ิ
หรื อจะโหลดไปเก็บไว้ ด้วยก็ได้ และถ้ าใช้ งานจนคล่องจะสร้ างโมเดลของสถานทีสําคัญๆ แล้ วเอาไปใส่ใน
Google Earth ด้ วยก็ได้
จาก http://sketchup.google.com/

ข้ อมูลความรู้ เกียวกับหมวก

เรื องสําคัญเกียวกับรู ปทรงของหมวก
       ถ้ าหากหมวกของท่านเปี ยก เมือหมวกแห้ ง รูปทรงของหมวกจะอยูในสภาพเดียวกันกับตอนทีมัน
                                                               ่
เปี ยก ตัวหมวกจะเริ มคงรูปในขณะทีมนเริ มแห้ งและถ้ าท่านไม่ขยายไซส์ออก มันจะหดเล็กลงกว่าไซส์ปกติ
                                  ั
ของมันและถ้ าหากท่านต้ องการให้ หมวกพอดีกบหัวของท่านได้ อย่างพอดีทานก็ต้องทําให้ หมวกแห้ งใน
                                         ั                        ่
ขณะทีกําลังสวมหมวกอยู่ และถ้ าคุณต้ องการให้ ทรงหมวกมี ลักษณะคล้ ายส้ มโอ ก็ขอให้ เอาส้ มโอยัดใส่ลง
ไปก่อนทีหมวกจะแห้ ง



วิธีการทําความสะอาดหมวก
   ห้ ามซักหมวกเด็ดขาด ! เนืองจากหมวกทํามาจากวัสดุเส้ นใยไม่วาจะเป็ นผ้ าฝายหรื อเส้ นใยสังเคราะห์
                                                             ่           ้
เมือถูกซักโดยแรงจะทําให้ หมวกเสียทรงถาวรได้ ดงนันในการทําความสะอาดหน้ าหมวกใช้ ผ้าชุบนําเช็ด
                                             ั
บริ เวณทีมีคราบสกปรก จากนันให้ ใช้ แปรงสีฟันอ่อนๆ ชุบนํายาทําความสะอาด แปรงบริ เวณทีเลอะคราบ
เหงือ หรื อคราบสกปรกอืนๆ เบาๆ เมือหมวกของท่านสะอาดดีแล้ ว ให้ ใช้ นําล้ างบริ เวณทีซักออกและใช้
แปรงขัดเบาๆอีกครังหนึง แล้ วจึงปล่อยหมวกให้ แห้ งหลังจากนันหมวกของท่านจะดูเหมือนใหม่อีกครังหนึง
คราบเหงือ อาจจะยังดูมีตดอยูบ้างเล็กน้ อย แต่ว่าอย่างน้ อยคราบสกปรกส่วนใหญ่จะหายไป
                       ิ ่



- ส่ วนประกอบ




        1. กระดุม ผ้ าด้ านนอก นําผ้ าจากวัสดุทีใช้ ทําตัวหมวก ให้ สีและลายผ้ าทีกลมกลืนกัน ส่วนวัสดุ
ด้ านในทําจากพลาสติก เนือดี ทนทาน ไม่แตกหักง่าย นอกจากนันยังมีนําหนักเบา และไม่เป็ นอันตรายต่อ
ศีรษะ เมือถูกกระแทกจากด้ านบน

        2. ตาไก่ เจาะตาไก่เพือระบายและเพิมประสิทธิภาพของระบบไหลเวียนอากาศภาย ในหมวก หมุน
ตาไก่โดยรอบถึง 57 ฝี เข็ม อันเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะของทางเรา ให้ ชินงานทีแน่นและดูสวยงาม
        3. เทปสองเข็ม เปรี ยบเสมือนเป็ นกระดูกสันหลังของหมวก นอกจากจะช่วยยึดติดชิน ส่วนต่างๆเข้ า
ด้ วยกันแล้ ว ยังช่วยเก็บงานให้ เรี ยบร้ อยและเพิมความแข็งแรงทนทานแก่ตวหมวกส่งผลให้ หมวกอยูทรง
                                                                      ั                   ่
รวมไปถึงการดึงชินงานปั กให้ ตงรูปอย่างสวยงาม เนืองจากโครงทีแข็งแรงและรังซึงกันและกันนีเอง
                             ั
       4. การประกบชิ นส่วนต่างๆ ทําด้ วยความประณีตและบรรจง แข็งแรงทนทานด้ วย ความละเอียดฝี
เข็มสูง ทําให้ หมวกไม่เสียทรงง่ายเมือผ่านการใช้ งานเป็ นเวลานาน
       5. บิ งกาวา แถบผ้ าทีคาดอยู่ด้านในตัวหมวกบริ เวณรอบขมับ ทําหน้ าทีคอยซับเหงือ ไม่ให้ ไหลลง
มาขณะออกกําลังกายหรื อเล่นกีฬา นอกจากนันยังเป็ นส่วนสําคัญในการกําหนดขนาดหมวกขอบด้ านใน
ของบิงกาวาจะประกอบด้ วยผ้ าวัสดุใยสังเคราะห์ ต่างชนิดกันหนึงหรื อสองเส้ น เพือรังทรงหมวกๆไม่ให้ ยืด
ออกหรื อหดเล็กลง
        6. คิ วหมวก เป็ นการเดินด้ ายเข็มเดียวเย็บยําลงไปเหนือบริ เวณรอยต่อระหว่างส่วนปี กกับส่วนหัว
เล็กน้ อย บางกรณีจะเย็บเลยจนไปถึงข้ างหลังหมวกเพือเก็บชินงาน
  จุดประสงค์ในการคิวหมวกเพือตังหมวกให้ อยูทรงดูสวยงามและเพิมลวดลาย
                                         ่
  บนตัวหมวก การคิวหมวกไม่ได้ เป็ นการทําเพิมความแข็งแรงให้ แก่หมวกแต่อย่างใด
        7. ปี กหมวก เป็ นอีกส่วนหนึงทีสามารถเล่นลวดลายต่างๆได้ เป็ นอย่างดี ความยาวของ ปี กหมวกที
ต่างกันจะทําให้ รูปแบบหมวกทีออกมาต่างกันด้ วย ดังนันการกะขนาด ความยาวของปี กหมวกกับตัวหมวก
เป็ นปั จจัยสําคัญประการหนึงในการออกแบบ
        8. เนื อผ้า ทีเราเลือกใช้ เป็ นวัสดุในการทําหมวก ล้ วนเป็ นเนือผ้ าคุณภาพดีทงสิน สีไม่ตกและทํา
                                                                                    ั
จากผ้ าฝายแท้ 100% ท่านจึงมันใจได้ วา หมวกของท่านทุกใบ มีคณภาพและได้ มาตรฐาน
       ้                            ่                     ุ
        9. วนปี ก เป็ นการเย็บด้ ายเข็มเดียววนรอบปี กหมวกโดยเสมอกัน ระยะห่างระหว่าง ปี กหมวกกับกา
รวนปี กรอบแรกอยูที 1.5 เซนติเมตร และเว้ นระยะเข้ ามาอีกทุกๆ 0.5เซนติเมตร ต่อการวนหนึงเส้ น นิยมวน
               ่
ปี กตังแต่ 2-4 เส้ น ข้ อดีของการวนปี กคือไม่ทําให้ ปีกหมวกโล่ง ในกรณีทีไม่มีการเล่นลวดลายลงบนปี ก
นอกจากนันยังรังผ้ า เอาไว้ ไม่ให้ พองออก เมือเกิดการงอตัวของปี กพลาสติก
       10. งานปั ก ถือว่าเป็ นหน้ าตาของหมวก และเป็ นสิงแรกทีผู้คนให้ ความสนใจ ดังนัน ถ้ าอยากให้
หมวกพูดได้ ก็ขอให้ ใส่ใจกับตําแหน่งและขนาดของงานปั กให้ ดี

        11. บล๊ อคหมวก เป็ นตัวกําหนดขนาด, ความลึก, ความกว้ างและรู ปทรงหลักของ ตัวหมวก มีผล
โดยตรงต่อความรู้สกเมือสวมใส่ การทําบล๊ อคจะทําโดยช่างทําบล๊ อค มืออาชีพเท่านัน ถือเป็ น
                 ึ

ส่วนสําคัญและเป็ นหัวใจของการทําหมวก หากต้ องการ ปรับเปลียนบล๊ อคหมวก โปรดปรึ กษาผู้เชียวชาญ
โดยเฉพาะ
       12. ผ้ากาว โดยปกติจะรี ดติดกับหน้ าหมวกทางด้ านใน เพือให้ ชินหมวกด้ านหน้ า อยู่ทรง รองรับงาน
ปั ก ไม่ทําให้ งานปั กล้ ม ผ้ ากาวมีหลายชนิดขึนอยูกบจุดประสงค์ในการใช้ งาน แต่ก็มีหมวกบางชนิดทีไม่
                                                 ่ ั
สามารถใส่ผ้ากาวได้
        13. หัวหมวก ประกอบจากผ้ า 6 ชิน แบ่งออกเป็ นคูๆ ได้ 3 คูและมีชือเรี ยกต่างกันดังนี "R1 ซ้ าย"
                                                      ่         ่
และ "R1 ขวา" คือชินหน้ าหมวกสองชิน "R2 ซ้ าย" และ "R2ขวา" คือชินผ้ าด้ านข้ างทังสองข้ าง "R3 ซ้ าย"
และ "R3 ขวา" คือชินคูหลังสองชินรหัสต่างๆนีเป็ นชือเรี ยกเพืออ้ างถึงชินส่วนต่างๆบนหัวหมวก
                     ่

        หมายเหตุ : ด้ านซ้ าย-ขวา นับจากด้ านซ้ ายมือหรื อด้ านขวามือของตัวเองเป็ นสําคัญ
บทที 3 ผลการปฏิบัตการโครงงาน
                                                ิ
        ผลการปฏิบตโครงงาน หมวกกระเป๋ า ผู้จดทําได้ ดําเนินการตามกระบวนการเทคโนโลยี 7 ขันตอน
                 ัิ                        ั
ของ สสวท. ดังนี

ขันที 1 การกําหนดปั ญหา และความต้ องการ (Identification the problem, need or preference)
  7

        สภาพอากาศในประเทศไทยส่วนใหญ่จะค่อนข้ างร้ อน และในเวลาที แสงแดดค่อนข้ างแรง เมือ
เราต้ องออกไปทําธุระข้ างนอก สิงทีมักจะนําติดตัวตัวออกไปด้ วยซึงส่วนใหญ่ก็จะเป็ นจะเป็ นร่ม เสือแขน
ยาว หรื อไม่ก็หมวก แต่ถ้าหากเป็ นสิงทีใช้ ได้ กบทุกเพศทุกวัยแล้ วก็คงจะเป็ นหมวก แต่ในสังคมเมืองเป็ น
                                               ั
สังคมทีรี บเร่ง ต้ องการความสะดวกและรวดเร็ ว ผู้คนต้ องการความคล่องตัวในการทํากิจกรรมต่างๆ ซึงสิงที
จะนํามาช่วยสนองความต้ องการของผู้คนได้ ผลิตภัณฑ์ทีทําขึนนีจะต้ องเป็ นอุปกรณ์ทีสามารถใช้ ประโยชน์
ได้ หลายๆอย่าง ภายในผลิตภัณฑ์ชินเดียว ทีสําคัญต้ องพกพาสะดวกใช้ งานได้ ง่าย ผู้จดทําได้ เห็นถึง
                                                                                ั
ปั ญหาดังกล่าว



ขันที 2 รวบรวมข้ อมูลเพือแสวงหาวิธีการแก้ ปัญหาหรื อสนองความต้ องการ (Information)
  7

        เมือกําหนดปั ญหาหรื อความต้ องการเรี ยบร้ อยแล้ ว ทางคณะผู้จดทําได้ ทําการเก็บรวบรวมข้ อมูล
                                                                    ั
และความรู้ทกด้ านทีเกียวข้ องกับปั ญหาหรื อความต้ องการดังกล่าว เพือหาวิธีการทีเหมาะสมสําหรับ
           ุ
แก้ ปัญหา หรื อสนองความต้ องการทีกําหนดไว้ ได้ แก่

        1. สืบค้ นข้ อมูลจากเว็บไซต์ทีเกียวข้ อง
        2. ทําการพิจารณาเลือกข้ อมูลทีมีความน่าสนใจและเป็ นประโยชน์ตอการจัดทําโครงงาน
                                                                    ่

ขันที 3 เลือกวิธีการแก้ ปัญหาหรื อสนองความต้ องการ (Selection of the best possible solution)
  7

        ในการตัดสินใจเลือกแนวคิดทีดีทีสุดสําหรับแก้ ปัญหา ผู้จดทําได้ นําข้ อมูล และความรู้ ทีรวบรวมได้ มา
                                                              ั
ประกอบกันจนได้ ข้อสรุ ปว่า จะเลือกวิธีการแก้ ปัญหาหรื อวิธีการสนองความต้ องการคือ จัดทําหมวกมีปีก ซึงตัง
จุดมุงหมาย ให้ ผลิตภัณฑ์ทีได้ สามารถตอบสนองความต้ องการของผู้ใช้ ได้ หลายๆ ด้ าน ได้ แก่ การใช้ กําบังแดด
    ่
ลม ใช้ เก็บเหรี ยญหรื อสิงของเล็กๆ ได้ ใช้ เสียบการ์ ดหรื อกระดาษโน้ ต และสามารถพับเก็บได้ จึงพกพาสะดวก
สอดคล้ องกับทรัพยากรทีหาได้ ง่าย จึงเป็ นปั จจัยส่งเสริ ม ในการตัดสินใจเลือกสิงดังกล่าว

        ขันที 4 ออกแบบและปฏิบัตการ (Design and making) โดยใช้ กระบวนการ PDCA ของ
          7                    ิ
Deming ดังนี 7

        ถ้ าจะออกแบบผลิตภัณฑ์ทีเกียวกับหมวกแล้ ว ก็ควรจะเพิมหน้ าทีใช้ สอยให้ มากขึนคือสามารถพับ
เก็บได้ มีทีเก็บเหรี ยญ และ มีทีหนีบเศษกระดาษแผ่นเล็กๆ เช่น ตัวรถ นามบัตร เป็ นต้ น และต้ องมีฟังก์ชน
                                                              :                                     ั
เพิมเติมเพือทําให้ แตกต่างจากหมวกทัวไป คือทําให้ หมวกธรรมดา ทีใช้ แค่สวมเพือปองกันแสงแดด ที
                                                                             ้
สําคัญผลิตภัณฑ์จะต้ องสะดวกต่อการใช้ งาน ส่วนกลุมเปาหมายก็สามารถใช้ ได้ กบคนทุกเพศทุกวัย ซึง
                                               ่ ้                       ั
จะต้ องมีการออกแบบลวดลายหลากหลายแบบเพือให้ เหมาะสําหรับผู้คนแต่ละวัย ซึงมีขนตอนทําดังนี
                                                                           ั

        1. ออกแบบและวางแผนการทํา โดยแบ่งหน้ าทีแก้ สมาชิกในกลุมให้ รับผิดชอบส่วนต่างๆ ทีตนเอง
                                                             ่
ถนัดและสามารถทําได้

        2. จัดเตรี ยมอุปกรณ์ทีจําเป็ นต้ องใช้ ให้ ครบถ้ วน

        3. ร่ างแบบลงบนผ้ าทีจัดเตรี ยมเอาไว้ ให้ เป็ นส่วนต่างๆ ของตัวหมวก

        4. ตัดผ้ าตามแบบร่าง

         5. เย็บประกอบให้ เป็ นตัวหมวก

        6. เพิมส่วนประกอบทีเป็ นตัวถุงใส่ของ ซิป ทีห้ อยกระดุม กระดุม และสายห้ อย
7. ตรวจเช็คความเรี ยบร้ องของผลงาน
8. ประเมินผลการใช้ งานของผลิตภัณฑ์วาสามารถตอบสนองความต้ องการและแก้ ปัญหาตาม
                                           ่
จุดประสงค์ทีวางไว้ หรื อไม่
ขันที 5 ทดสอบ (Testing to see if it works)
  7

          เมือนําสิงประดิษฐ์ มาทดลองใช้ พบว่า สามารถพับเก็บได้ ตามเปามายทีวางไว้ รวมถึงสามารถเก็บ
                                                                    ้
ของเล็กๆน้ อยๆได้ แต่ พบสิงทีมีปัญหาทีสุด คือ การนําเอาแผงปรับอุณหภูมิมาติดไว้ ตรงท้ ายหมวกได้
เนืองจาก แผงปรับอุณหภูมิเป็ นวัสดุทีมีราคาสูง ไม่สามารถหาซือได้ ตามท้ องตลาด มีวิธีการสลับซับซ้ อน




ขันที 6 การปรั บปรุ งแก้ ไข (Modification and improvement)
  7

          หลังจากการทดสอบผลแล้ วพบว่า สิงประดิษฐ์ ทีสร้ างขึน มีข้อบกพร่ อง คือ ไม่สามารถนําแผงปรับ
อุณหภูมิมาติดไว้ ทีหมวก ดังนัน จึงทําการปรับปรุงแก้ ไข โดยไม่ติดวัสดุดงกล่าวทีหมวก แต่อย่างไรก็ตาม
                                                                      ั
หมวกทีสร้ างขึนนี ก็ยงเป็ น หมวกสารนึก ทีสามารถใช้ งานได้ สะดวก ประหยัดเนือทีในการเก็บ เหมือน
                     ั
ดังเดิม
ขันที 7 ประเมินผล (Assessment)
  7

       หลังจากปรับปรุ งแก้ ไขจนใช้ งานได้ ดีตามวิธีการทีออกแบบแล้ ว ผู้จดทําได้ นําผลงานมาประเมินผลโดย
                                                                        ั
พิจารณาดังนี

       -   หมวกกระเป๋ า สามารถแก้ ปัญหาและสนองความต้ องการตรงตามเปาหมายทีวางไว้ ข้างต้ น
                                                                           ้
       -   หมวกกระเป๋ ามีความสวยงาม และดึงดูดใจผู้ใช้ เป็ นอย่างดี
       -   หมวกกระเป๋ านันมีความทนทาน สะดวกต่อการใช้ งาน และพกพา
       -   หมวกกระเป๋ า มีต้นทุนทีไม่สงมากนัก และให้ ประโยชน์สงสุดในการใช้ จึงถือว่าเป็ นผลิตภัณฑ์
                                      ู                        ู
           ทีเหมาะสมต่อการใช้ งาน และตอบสนองความต้ องการแก่ผ้ ใช้ ได้ เป็ นอย่างดี
                                                                   ู
บทที 4 สรุ ปผล อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ
สรุ ปผลการดําเนินการ

        จากการริ เริ มทําโครงงานสิงประดิษฐ์ คือ หมวกกระเป๋ า ได้ มีการเริ มจากการคิดโครงงานเดียวของ
สมาชิกในกลุม ซึงสมาชิกแต่ละคนก็ตางแยกย้ ายกันไปคิดโครงงานสิงประดิษฐ์ ของตน
          ่                     ่                                                         ซึงโครงงาน
สิงประดิษฐ์ ทง 3 เรื องประกอบด้ วย โครงงานเรื อง เสือกักเก็บความร้ อน ทียกของเอนกประสงค์ และ เครื อง
             ั
ปิ งหมูเอนกประสงค์     จากนันก็นกรวมกลุมสมาชิกเพือมาปรึกษาเรื องการเลือกทําโครงงาน
                                ั     ่                                                      โดยเลือก
โครงงานสิงประดิษฐ์ จาก 3 เรื องดังกล่าว เมือได้ ปรึกษากันเกียวกับข้ อดีข้อเสียของสิงประดิษฐ์ ของสมาชิก
แต่ก็ได้ ข้อสรุ ปว่า จะประดิษฐ์ โครงงานสิงประดิษฐ์ เรื องอืนขึนใหม่ โดยช่วยกันระดมความคิดภายในกลุม
                                                                                                ่
ซึงต้ องเริ มใหม่ตงแต่การกําหนดปั ญหาและความต้ องการ สืบเนืองจาก ปั ญหาโลกร้ อนในปั จจุบนทําให้
                  ั                                                                     ั
อุณหภูมิเฉลียทัวโลกสูง ขึนอย่างเห็นได้ ชด แต่ผ้ คนก็ยงคงต้ องทํากิจกรรมต่างเหมือนเดิมในอุณหภูมิที
                                        ั       ู    ั
สูงขึน ดังนันสิงประดิษฐ์ ทีจะทําขึนจะต้ องเกียวกับปั ญหานีด้ วย จากการรวบรวมข้ อมูลต่างๆจากหลาย
แหล่ง พบว่า สิงทีผู้คนมักสวมใส่ เวลาทีต้ องเผชิญกับแสงแดด มีอปกรณ์อยูไม่กีอย่างคือ หมวก ร่มกันแดด
                                                             ุ      ่
เสือแขนยาว แต่สิงทีสามารถพบเห็นได้ ตงแต่เด็กไปจนถึงผู้สงอายุก็คือ หมวก เพราะหมวกมีรูปร่างลักษณะ
                                    ั                  ู
หลากหลายแบบให้ เลือก จึงสามารถสนองความต้ องการของผู้ใช้ ในทุกๆวัยได้ เช่น เด็กอาจจะมีความไม่
สะดวกต่อการพกพาร่มกันแดด เวลาออกไปทํากิจกรรมต่างๆนอกบ้ านได้                 แต่ถ้าหากเป็ นหมวก ซึง
ผู้ปกครองสวมไว้ บนศีรษะของเด็ก ก็จะทําให้ สามารถปองกันแสงแดด ได้ โดยไม่ต้องพกร่มให้ เกะกะ หรื อ
                                                 ้
บางทีเด็กอาจทําหายก็เป็ นได้ และอีกตัวอย่างคือผู้สงอายุ ซึงส่วนใหญ่แล้ ว ผู้สงอายุสวนใหญ่มกไม่ชอบ
                                                  ู                          ู     ่      ั
ออกไปทํากิจกรรมต่างๆนอกบ้ าน แต่ถ้าจําเป็ นต้ องออกไปทําธุระ หรื อออกไปเทียวกับครอบครัว ส่วนใหญ่
นันมักชอบสวมหมวกมากกว่ากางร่ม เพราะหมวกมีขนากเบา พกพาได้ สะดวก รวมถึงมีรูปร่างลักษณะ
สวยงาม สามารถเลือกได้ ตามความต้ องการของผู้ซือ ดังนันสมาชิกในกลุมจึงตักสินใจเลือกทําโครงงาน
                                                               ่
สิงประดิษฐ์ ทีเกียวกับหมวก

        หลังจากระดมความคิดกันกลุมแล้ วได้ ข้อสรุ ปว่า จะเลือกทําโครงงานสิงประดิษฐ์ เรื อง “หมวก
                               ่
กระเป๋ า” ซึงหมวกสารพัดนีได้ พฒนามาจากหมวกปกติคือ สามารถพับเก็บได้ ซึงทําให้ สะดวกต่อการใช้
                              ั
งาน คือ สามารถพกพาได้ ง่าย ประหยัดเนือทีในการเก็บมากขึน นอกจากนีบนหมวกยังมีการติดซิปไว้ บน
ตัวหมวก แลมีการติดยางยืด ไว้ บนปี กหมวก ไว้ เพือสามารถเก็บของกระจุกกระจิกไว้ ได้ เช่น เก็บเศษ
เหรี ยญเวลาขึนรถเมล์ แทนทีจะหยิบกระเป๋ าสตางค์ขนมาให้ เสียเวลา และสามารถเก็บเศษกระดาษแผ่น
                                               ึ
เล็กๆไว้ ได้ เช่น ตัวรถ เบอร์ โทรศัพท์ เป็ นต้ น รวมถึงใส่แผงปรับอุณหภูมิ เพือทําให้ หมวกเย็นขึน ซึงเป็ นให้ ผ้ ู
                    :
สวมใส่ร้ ูสกเย็นไปด้ วย
           ึ

         เมือสเกต รูปแบบของหมวกโดยใช้ การวาดภาพด้ วยดินสอแล้ วจากนันก็นํารูปแบบของหมวกมา
ออกแบบโดยใช้ ซอฟต์แวร์ ในทีนีสมาชิกกลุมเลือกทีจะออกแบบโดยใช้ โปรแกรมGoogle sketch up รวมถึง
                                     ่
ใช้ โปรแกรมเสริ ม คือ Photo scape มาใช้ ในการตกแต่ง ซึงรู ปแบบของหมวกทีจะนํามาทําโครงงาน
สิงประดิษฐ์ คือ ลักษณะของหมวกเก็ป ซึงลักษณะของหมวกแบบนีสามารถสวมใส่ได้ ทกเพศทุกวัย ซึงเมือ
                                                                        ุ
ออกแบบคร่ าวๆรวมถึงเขียน โครงงาน โดยใช้ หลักการ 5W1H เสร็ จแล้ ว ก็นําโครงงานไปนําเสนอหน้ าชัน
เรี ยน และได้ นําโครงงานมาปรับปรุงแก้ ไขเพิมเติม โดยการนําไปออกแบบด้ วยซอฟต์แวร์ อีกครังเพือให้
ชินงานมีความสมบูรณ์ขนกว่าเดิม
                    ึ

         ขันตอนของการลงมือปฏิบติงาน โดยทําตามลักษณะทีได้ ออกแบบไว้ เมือทําสิงประดิษฐ์ เสร็ จแล้ ว
                              ั
ได้ นํามา ทดสอบการทํางานซึงพบว่า ไม่สามารถใส่เซ็นเซอร์ ปรับอุณหภูมิลงไปในสิงประดิษฐ์ เพราะ
เซ็นเซอร์ มีหลักการทํางานทีซับซ้ อน รวมถึงไม่สามารถหาซือได้ ง่ายตามท้ องตลาดทัวไปดังนันจึงนําไปสู่
กระบวนการปรับปรุงแก้ ไข คือไม่ต้องติดแผงเซ็นเซอร์ วดอุณหภูมิลงไปในตัวหมวก หลังจากผ่าน
                                                   ั
กระบวนการทังหมดแล้ ว จึงทําให้ ได้ สิงประดิษฐ์ คือ “หมวกกระเป๋ า” ออกมา ซึงถึงแม้ วาสิงประดิษฐ์ นีจะ
                                                                                   ่
ไม่มีเทคโนโลยีทีทันสมัย แต่ก็สามารถใช้ ประโยชน์ได้ หลายอย่างเช่นกัน

         การประเมินผลโครงงานโดยการทําใบประเมินผลโดยให้ ผ้ ปกครอง และเพือนๆเป็ นผู้ประเมิน แล้ ว
                                                          ู
นําผลทีได้ มาทําเป็ นกราฟรูปแท่ง ซึงผลทีออกมาก็อยูในเกณฑ์ดี
                                                 ่
อภิปรายผล

        จากการทําโครงงานชินนีทําให้ ผ้ จดทําได้ รับความรู้มากมาย ซึงเริ มตังแต่ขนตอนแรกในการ
                                       ูั                                       ั
ออกแบบผลิตภัณฑ์ คือต้ องอาศัยหลักการ 5W1H เพือวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ทีจะออกแบบ ว่าในการ
ออกแบบผลิตภัณฑ์นนสิงแรกทีจะต้ องคํานึงคือ ต้ องการสนองความต้ องการอะไร(What ), จะต้ องสนอง
                ั
ความต้ องการทีไหน(where), จะต้ องสนองความต้ องการเมือไร (when),ทําไมจึงต้ องสนองความต้ องการ
(Why) และต้ องสนองความต้ องการอย่างไร (How) หลักการทังหมดนีใช้ เพือหาปั จจัยทีจะนํามาพิจารณา
ในการออกแบบ ซึงสิงนีคณะผู้จดทําเห็นว่าจะช่วยพัฒนาทักษะการคิดสร้ างสรรค์ให้ มีประสิทธิภาพยิงขึน
                           ั

ซึงในระหว่างการทําจัดทําโครงงานสิงประดิษฐ์ นี คณะผู้จดทําได้ รับความรู้เกียว กระบวนการเทคโนโลยี7
                                                     ั
ขันตอน ของ สสวท.และได้ นํามาเป็ นแนวทางในการดําเนินงาน ซึงทัง 7 ขันตอนนีประกอบไปด้ วย ตังแต่
การกําหนดปั ญหาและความต้ องการ(Identification the problem, need or preference),รวบรวมข้ อมูลเพือ
แสวงหาวิธีการแก้ ปัญหาหรื อสนองความต้ องการ (Information),เลือกวิธีการแก้ ปัญหาหรื อสนองความ
ต้ องการ (Selection of the best possible solution),ออกแบบและปฏิบตการ (Design and making) ,ทดสอบ
                                                                ัิ
(Testing to see if it works),การปรับปรุงแก้ ไข (Modification and improvement)และขันตอนสุดท้ ายคือการ
ปรับปรุงแก้ ไข (Modification and improvement)

กระบวนการทัง 7 ขันตอนนีการดําเนินงานเป็ นไปอย่างมีขนตอน เป็ นระเบียบแบบแผน
                                                   ั

            ซึงภายในกระบวนการ 7 ขันตอนนี คณะผู้จดทํายังได้ รับความรู้เกียวกับเรื อง ของ หลักการ
                                                ั
PDCA ของDeming หลักการ PDCA คือ วงจรพัฒนาคุณภาพงาน เป็ นวงจรพัฒนาพืนฐานหลักของการ
พัฒนาคุณภาพทังระบบ (Total Quality Management: TQM) ผู้ทีคิดค้ นกระบวนการหรื อวงจรพัฒนา
คุณภาพ PDCA คือ Shewhart นักวิทยาศาสตร์ ชาวอเมริ กน แต่ Deming ได้ นําไปเผยแพร่ทีประเทศญี ปุ่ นจน
                                                  ั
ประสบความสําเร็ จ จนผลักดันให้ ญีปุ่ นเป็ นประเทศมหาอํานาจของโลก คนทัวไปจึงรู้ จกวงจร PDCA จาก
                                                                                ั
การเผยแพร่ของ Deming จึงเรี ยกว่า “วงจร Deming” วงจร PDCA ประกอบด้ วยขันตอนดังต่อไปนี

                 1. วางแผน (Plan – P) คือ การทํางานใด ๆ ต้ องมีขนการวางแผน เพราะทําให้ มีความ
                                                                ั
มันใจว่าทํางานได้ สําเร็ จ เช่น วางแผนการสอน วางแผนการวิจย หัวข้ อทีใช้ ในการวางแผน คือ วางแผนใน
                                                         ั
หัวข้ อต่อไปนี 1) ทําทําไม 2) ทําอะไร 3) ใครทํา ทํากับกลุ่มเปาหมายใด 4) ทําเวลาใด 5) ทําทีไหน 6) ทํา
                                                             ้
อย่างไร 7) ใช้ งบประมาณเท่าไร การวางแผนวิจยในชันเรี ยนเป็ นการวางแผนตามคําถามต่อไปนี why what
                                          ั
และ how

                 2. การปฏิบติ (Do – D) เป็ นขันของการลงมือปฏิบติตามแผนทีวางไว้ การปฏิบตวิจย
                           ั                                  ั                       ัิ ั
ในชันเรี ยนตามแผนการวิจย คือ การลงมือเก็บรวบรวมข้ อมูลเพือตอบปั ญหาการวิจยทีตังไว้ ในแผน
                       ั                                                 ั

                 3. ตรวจสอบ (Check – C) เป็ นขันของการประเมินการทํางานว่าเป็ นไปตามแผนทีวาง
ไว้ หรื อไม่ มีเรื องอะไรปฏิบตได้ ตามแผน มีเรื องอะไรทีไม่สามารถปฏิบตได้ ตามแผน หรื อปฏิบตแล้ วไม่ได้ ผล
                             ัิ                                     ัิ                   ัิ
การตรวจสอบนีจะได้ สิงทีสําเร็ จตามแผน และสิงทีเป็ นข้ อบกพร่องทีต้ องแก้ ไข

                 4. การปรับปรุงแก้ ไข (Action – A) เป็ นขันของการนําข้ อบกพร่องมาวางแผนเพือการ
ปฏิบติการแก้ ไขข้ อบกพร่อง แล้ วลงมือแก้ ไข ซึงในขันนีอาจพบว่าประสบความสําเร็ จ หรื ออาจพบว่ามี
    ั
ข้ อบกพร่ องอีก ผู้วิจยหรื อผู้ทํางานก็ต้องตรวจสอบเนือหาเพือแก้ ไข แล้ วนําไปแก้ ไขอีกต่อไป งานของการ
                      ั
วิจยในชันเรี ยนจึงเป็ นการทําไปเรื อย ๆ ไม่มีวนหยุด การทําวิจยไปเรื อย ๆ เป็ นการพัฒนาให้ ดีขึนเรื อย ๆ
   ั                                          ั              ั
เป็ นการพัฒนาอย่างยังยืน

ซึงได้ นํามาใช้ ในการดําเนินการด้ วยเช่นกัน

        หลักการทําโครงงานทังหมดนี ไม่วาจะเป็ น 5W1H, กระบวนการเทคโนโลยี 7 ขันตอน และ
                                      ่
กระบวนการ PDCA ของDeming ทําให้ การทําโครงงานชินเป็ นไปอย่างเป็ นขันตอน มีหลักการทํางานทีมี
ประสิทธิภาพยิงขึน โดยเฉพาะการได้ รับความรู้จากใบงานต่างๆในวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ทําให้
คณะผู้จดทํามีแนวทางในการเขียน และจัดทําโครงงานทีถูกต้ อง เป็ นแบบแผน และมีประสิทธิภาพยิงขึน
       ั

        นอกจากนีคณะผู้จดทํายังได้ รับองค์ความรู้ใหม่ๆอีกหลายอย่าง เช่น การใช้ โปรแกรม Google
                       ั
sketch up เพราะว่าสมาชิกในกลุมไม่เคยมีใครได้ เคยใช้ โปรแกรมดังกล่าวเลย ดังนันทุกคนจึงต้ องช่วยกัน
                            ่
ศึกษา ขันตอนวิธีการใช้ โปรแกรม Google sketch up

        จนในทีสุดก็สามารถใช้ โปรแกรมนีมาออกแบบผลิตภัณฑ์ได้ ตามต้ องการ ซึงโปรแกรม Google
sketch up สามารถใช้ งานได้ มากกว่าการสเกตภาพธรรมดา คือสามารถเพิมเติมสีสนได้ ตามทีต้ องการ
                                                                       ั
รวมถึงการมองภาพในมุมมองต่างๆ ในรู ปแบบของภาพ 3 มิติ ทําให้ ชินงานทีออกแบบนี มีลกษณะ
                                                                               ั
ใกล้ เคียงกับของจริ งมากขึน และในระหว่างการค้ นคว้ าข้ อมูลเพือนํามาประกอบในโครงงาน ทําให้ คณะ
ผู้จดทําได้ ทราบข้ อมูลเกียวกับเซนเซอร์ มากขึน ว่ามีกีประเภท มีหลักการทํางานอย่างไร มีการต่อวงจรแบบ
    ั
ใด ซึงทําให้ ทราบว่าเซนเซอร์ แบบไหนจะเหมาะต่อการทํางานในสภาพไหนเป็ นต้ น

ข้ อเสนอแนะ

    1. ช่วงเวลาทีใช้ ในการทําโครงงาน เพราะสมาชิกในกลุมต่างมีภาระงานทีต้ องรับผิดชอบมาก และ
                                                                ่
       การทีจะหาเวลาสมาชิกในกลุมว่าง ตรงกันก็เป็ นการยาก ดังนันจึงทําให้ โครงงานนีได้ มีการเริ มทํา
                                      ่
       ค่อนข้ างล่าช้ า ถึงแม้ วาระยะเวลาทีให้ ทําโครงงานมีมากก็ตาม
                                ่
    2. การแบ่งงาน เนืองจากการแบ่งงานของสมาชิกในกลุม อาจแบ่งงานไม่เหมาะกับความถนัดของ
                                                              ่
       สมาชิกคนนันๆ ทําให้ งานทีได้ ออกมาไม่ดีเท่าทีควร จึงอาจจะต้ องเสียเวลามานังแก้ งานใหม่
    3. การค้ นคว้ าข้ อมูล ในการทําโครงงานสิงประดิษฐ์ ชินนี ในขันต้ น สมาชิกในกลุมมีความเห็นพ้ องกัน
                                                                                       ่
       ว่า ควรใส่เทคโนโลยีเข้ าไปเพือให้ หมวกมีความโดดเด่นขึน แต่พอถึงขันปฏิบตงานกลับพบ        ัิ
       ข้ อบกพร่ องคือ ไม่สามารถหาซือเซนเซอร์ วดอุณหภูมิมาติดได้ ซึงอาจเป็ นเพราะว่า ไม่ได้ ศกษา
                                                    ั                                             ึ
       ค้ นคว้ าข้ อมูลจากหลายแหล่งให้ ดีเท่าทีควร จึงทําให้ แนวคิดนีต้ องล้ มเลิกไปก็เป็ นได้
ซึงอยากจะให้ มีผ้ ทีสนใจมาต่อยอดโครงงานชินนี เพราะจากแนวคิดของผู้จดทําใน ขันแรกทีจะใส่เซ็นเซอร์
                  ู                                                          ั
วัดอุณหภูมิเข้ าไปเพือให้ หมวกปรับอุณหภูมิเองได้ ณ จุดนีจะเห็นได้ วา ถ้ าหากต่อยอดโครงงานสิงประดิษฐ์
                                                                   ่
ชินนี ได้ สําเร็ จ ผู้จดทําทุกคนหวังว่า จะมีหมวกลักษณะใหม่ทีไม่เคยมีใครผลิตมาก่อน ได้ ออกสู่ท้องตลาด
                       ั
เป็ นแน่
บรรณานุกรม


-ความรู้ เกียวกับโปรแกรม Google sketch up (2552).[ออนไลน์ ].เข้ าถึงได้
จาก :http://sketchup.google.com/
-ความรู้ เกียวกับเซนเซอร์ วัดอุณหภูมิและเซนเซอร์ วัดความดัน.[ออนไลน์ ].เข้ าถึงได้ จาก
: http://www.cpe.ku.ac.th/~yuen/204471/sensor/temp_pres/
http://www.tacap.co.th/makesys.html

-ความรู้ เกียวกับวิธีการทําหมวก.[ออนไลน์ ].เข้ าถึงได้ จาก
: http://www.tacap.co.th/makesys.html
-ความรู้ เกียวกับส่ วนประกอบของหมวก. [ออนไลน์ ].เข้ าถึงได้ จาก
: http://www.tacap.co.th/cap%20info3.html

Contenu connexe

Tendances

คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3Servamp Ash
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
สบู่จากกากกาแฟ
สบู่จากกากกาแฟสบู่จากกากกาแฟ
สบู่จากกากกาแฟnarumon intawong
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
กล่องนม
กล่องนมกล่องนม
กล่องนมNIng Bussara
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์Apinya Phuadsing
 
โครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบโครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบWatcharinz
 

Tendances (20)

คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
Fluid
FluidFluid
Fluid
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
สบู่จากกากกาแฟ
สบู่จากกากกาแฟสบู่จากกากกาแฟ
สบู่จากกากกาแฟ
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
กล่องนม
กล่องนมกล่องนม
กล่องนม
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
โครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบโครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบ
 

En vedette

โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
กระเป๋าถักเชือกร่ม
กระเป๋าถักเชือกร่มกระเป๋าถักเชือกร่ม
กระเป๋าถักเชือกร่มMnt 'pm
 
เสื้อกันฝนจากถุงขนม
เสื้อกันฝนจากถุงขนมเสื้อกันฝนจากถุงขนม
เสื้อกันฝนจากถุงขนมMc P Nan'jirapron Jupjup
 
กระเป๋า
กระเป๋ากระเป๋า
กระเป๋าMnt 'pm
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดAraya Chiablaem
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
กระเป๋าเล็กกระเป๋าใหญ่
กระเป๋าเล็กกระเป๋าใหญ่กระเป๋าเล็กกระเป๋าใหญ่
กระเป๋าเล็กกระเป๋าใหญ่Narijeam Nari
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยpanadda kingkaew
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2Sircom Smarnbua
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
ความหมายขอบเขต
ความหมายขอบเขตความหมายขอบเขต
ความหมายขอบเขตmahasarakham university
 
งานโมบาย
งานโมบายงานโมบาย
งานโมบายPak Ubss
 
กระเป๋า
กระเป๋ากระเป๋า
กระเป๋าyinggoogle
 
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศนรายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศนcharinruarn
 

En vedette (20)

โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
กระเป๋าถักเชือกร่ม
กระเป๋าถักเชือกร่มกระเป๋าถักเชือกร่ม
กระเป๋าถักเชือกร่ม
 
เสื้อกันฝนจากถุงขนม
เสื้อกันฝนจากถุงขนมเสื้อกันฝนจากถุงขนม
เสื้อกันฝนจากถุงขนม
 
กระเป๋า
กระเป๋ากระเป๋า
กระเป๋า
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
กระเป๋าเล็กกระเป๋าใหญ่
กระเป๋าเล็กกระเป๋าใหญ่กระเป๋าเล็กกระเป๋าใหญ่
กระเป๋าเล็กกระเป๋าใหญ่
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
Flip album
Flip albumFlip album
Flip album
 
ความหมายขอบเขต
ความหมายขอบเขตความหมายขอบเขต
ความหมายขอบเขต
 
งานโมบาย
งานโมบายงานโมบาย
งานโมบาย
 
กระเป๋า
กระเป๋ากระเป๋า
กระเป๋า
 
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศนรายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
 
Pp
PpPp
Pp
 

Similaire à ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng

โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์Aungkana Na Na
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์Aungkana Na Na
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์Aungkana Na Na
 
โครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายโครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายratchadaphun
 
โครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล ปานกุล
โครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล  ปานกุลโครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล  ปานกุล
โครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล ปานกุลเม เป๋อ
 
โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3wipawanmmiiww
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีkorakate
 
ใบงานท 3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท  3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงานใบงานท  3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงานtaioddntw
 
comใบงานท 3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
comใบงานท  3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงานcomใบงานท  3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
comใบงานท 3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงานmayuree_jino
 

Similaire à ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng (20)

คอมมิ้น
คอมมิ้นคอมมิ้น
คอมมิ้น
 
คอมมิ้น
คอมมิ้นคอมมิ้น
คอมมิ้น
 
Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
 
โครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายโครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลาย
 
03
0303
03
 
โครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล ปานกุล
โครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล  ปานกุลโครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล  ปานกุล
โครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล ปานกุล
 
03
0303
03
 
03
0303
03
 
03
0303
03
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
K3
K3K3
K3
 
โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
'ko
'ko'ko
'ko
 
ใบงานท 3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท  3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงานใบงานท  3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
 
comใบงานท 3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
comใบงานท  3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงานcomใบงานท  3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
comใบงานท 3เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
 

Plus de Aungkana Na Na

ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋งใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋งAungkana Na Na
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์Aungkana Na Na
 
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์Aungkana Na Na
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)Aungkana Na Na
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานAungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาAungkana Na Na
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6Aungkana Na Na
 

Plus de Aungkana Na Na (20)

ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋งใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์
 
11
1111
11
 
10
1010
10
 
9
99
9
 
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
 

ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng

  • 1. ชือโครงงาน หมวกกระเป๋ า วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดทําโดย นายสุ ทธิเดช ทิพจร ชั"นมัธยมศึกษาปี ที 6/13 เลขที 6 เสนอ ครู เขือนทอง มูลวรรณ ภาคเรียนที 2 ปี การศึกษา 2555 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
  • 2. บทที 1 : บทนํา ชือโครงงาน : หมวกกระเป๋ า คณะผู้จัดทําโครงงาน : นายสุทธิเดช ทิพจร เลขที 6 ชันมัธยมศึกษาปี ที 6/13 ครู ทีปรึกษาโครงงาน : คุณครูเขือนทอง มูลวรรณ ทีมาและความสําคัญของ “โครงงานหมวกกระเปา” ๋ ในปั จ จุบน ั สิ งของเครื องใช้ ม ากมายได้ ถูกมนุษย์ พ ยายามคิดค้ น และประดิษฐ์ ขึนมาเพื อ ตอบสนองความต้ องการของมนุษย์ โดยดูเหมือนว่าความต้ องการนันไม่สามารถจํากัดได้ เมือมีสิงหนึง แล้ วก็อยากได้ ทีดีกว่า สวยกว่ากันทังนัน ซึงมันก็ถือเป็ นเรื องธรรมชาติของมนุษย์ในยุคนีไปเสียแล้ ว จาก ความต้ องการทีไม่มีขีดจํากัดนี การสร้ างสิงประดิษฐ์ ทีมีประโยชน์ใช้ สอยอย่างหลากหลาย แถมยังต้ องมี รูปลักษณ์ทีสวยงาม น่าใช้ จึงเป็ นสิงสําคัญทีจะชักนํา หรื อหันเหความสนใจจากผู้บริ โภค หรื อบุคคลทัวไป แต่ถึงอย่างไรนัน สิงประดิษฐ์ หรื อของใช้ ทีถูกนําเสนอออกมาในยุคปั จจุบน ส่วนมากจะเป็ นการ ั ตอบสนองความต้ องการของกลุ่มคนกลุ่มใหญ่ หรื อองค์กรใหญ่ ๆ ที มีงบประมาณสูง แต่สําหรั บสิงของ เครื องใช้ ทีสามารถตอบสนองความต้ องการของบุคคลทัวไป ในการดําเนินชีวิตประจําวันดูเหมือนจะไม่ ค่อยได้ รับความสนใจจากนักประดิษฐ์ หรื อผู้คิดค้ นมากนัก ทํ าให้ คนทัวไปมี ความสะดวกสบายแต่ก็ไม่ เต็มที มากนัก ทางผู้จัดทํ าได้ เล็งเห็ นถึงความสํ าคัญของการตอบสนองความต้ องการของคนในการใช้ ชีวิตประจําวัน มีความสนใจและฉุกคิดถึงอุปกรณ์ หรื อสิงของทีคนธรรมดา สามัญสามารถใช้ ได้ และใช้ ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพมากทีสุด
  • 3. จากการต้ องการคิดค้ นสิงของทีจะทําประโยชน์แก่คนทัวไปได้ ผู้จดทําได้ สงเกตเห็นปั ญหาของคน ั ั ใกล้ ชิดคือการเป็ นคนทีมีนิสยขีลืม มักทําของหาย ลืมสิงทีต้ องทํา และปั ญหาต่างๆ อีกมากมายทีมาจาก ั การเป็ นคนขี ลื มนันเอง ผู้จัดทํ าจึงได้ คิดหาอุปกรณ์ ทีช่วยให้ คนพวกนันหมดปั ญหาที มีอยู่ไปได้ และได้ สรุ ปว่าจะทําหมวก ซึงหมวกทีคิดขึนนีจะช่วยในเรื องของการเก็บสิงของเล็ก น้ อยๆ ได้ ซึงก็คือมีช่องเก็บที ปลอดภัย มิดชิด และยังมีชองเอาไว้ หนีบกระดาษเตือนความจํา ทีสําคัญจะต้ องสะดวกต่อการใช้ งานอีก ่ ด้ วย อีกประการหนึงทีอาจเป็ นเหตุผลสําคัญทีจะทําให้ คนทัวไปเลือกใช้ หมวกใบนี นอกจากประโยชน์ใช้ สอยทีมากมายดังทีกล่าวมาข้ างต้ นแล้ วนัน การทีหมวกสามารถพับเก็บได้ คงเป็ นอีกปั จจัยสําคัญทีทําให้ หมวกใบนี ต่างจากหมวกธรรมดาใบอื นๆ ผู้ใช้ สามารถพับเก็ บหมวกเมื อไม่ต้องการใช้ เมื อใดก็ ตามที ต้ องการ ก็สามารถนําออกมาใช้ ได้ โดยง่าย โดยสามารถพับเก็บได้ ในรู ปของกระเป๋ าสะพายใบเล็กๆ ทีเมือ ไม่ต้องการใช้ เป็ นหมวกสําหรับสวมใส่ ก็ใช้ เป็ นกระเป๋ าสะพายคล้ องคอเล็กทีใช้ เก็บของกระจุกกระจิกหรื อ ของสําคัญต่างๆไว้ กบตัวได้ ั หมวกกระเป๋ าจึงถือเป็ นอีกทางเลือกหนึงทีน่าสนใจสําหรับผู้ทีตามหาสิงของเครื องใช้ ทีมีคณภาพ ุ และประโยชน์ใช้ สอยมากมายเช่นนี บวกกับรู ปลักษณ์ทีสวยงามแล้ วนันหากใครมีไว้ ในครอบครองก็คงจะ เป็ นทีน่ายินดี และน่าอิจฉา จุดมุ่งหมายของโครงงานหมวกพับได้ หมวกกระเป๋ าเป็ นสิ งอํ านวยความสะดวกแก่คนทุกวัย โดยเฉพาะวัยเด็กและวัยรุ่ นเนื องจากมี รูปลักษณ์ทีทันสมัย สีสนสดใส และมีความแปลกใหม่ สามารถใช้ สิงประดิษฐ์ นีใน หลายสถานทีและใส่ได้ ั ในทุก ๆโอกาส เช่น การเดินเล่นบริ เวณกลางแจ้ งทีมีอากาศร้ อน การสวมใส่เพือแฟชัน การเทียวพักผ่อน กับครอบครัว เป็ นต้ น หมวกใบนียัง ช่วยแก้ ปัญหาสําหรับผู้ทีไม่ชอบถือของพะรุงพะรัง หรื อมีนิสยขีลืม ซึง ั สามารถเก็บได้ ทงเศษเหรี ยญ ธนบัตร กระดาษโน้ ต ตัวรถ และของกระจุกกระจิกต่างๆหรื อแม้ กระทังสิงของ ั : สําคัญทีต้ องการเก็บไว้ กบตัว ซึงจะช่วยแก้ ปัญหาได้ อยูในระดับดีเลยทีเดียว ั ่
  • 4. นิยามศัพท์ เฉพาะ (Definition) โครงงาน “หมวกกระเปา” ได้ นิยามศัพท์ไว้ ว่า หมวกกระเปาในโครงงานนีซึงมีความหมายว่า ๋ ๋ หมวกทีสามารถใช้ แทนเป็ นกระเป๋ าได้ เพือตอบสนองความต้ องการของผู้ใช้ ได้ อย่างหลากหลาย อาทิเช่น สามารถเก็บเหรี ยญหรื อสิงเล็กๆ มีทีเสียบกระดาษโน้ ต และสามารถพับเก็ บได้ โดยง่ายโดยอยู่ในรู ปของ กระเป๋ าสะพายคล้ องคอใบเล็ก ซึงทางผู้จดทําได้ ออกแบบมา โดยคํานึงถึงความสวยงามและประโยชน์ใช้ ั สอยของหมวก จนออกมาเป็ นผลงานทีสําเร็ จเสร็ จสมบูรณ์ ประโยชน์ ทีคาดว่ าจะได้ รับ 1. เป็ นแนวทางสํ าหรั บผู้ทีสนใจการใช้ สิ งของเครื องใช้ ส่วนตัว ซึงในที นี ได้ นําเสนอในรู ปแบบ หมวก ซึงมีรูปลักษณ์อนสวยงาม และมีประโยชน์ใช้ สอยทีมากกว่าหมวกธรรมดาทัวไป นันก็ ั คือสามารถเก็ บเศษเหรี ยญ เสี ยบโน้ ตย่อได้ แถมยังสามารถพับเก็ บได้ ในรู ปของกระเป๋ า สะพาย เหมาะสําหรับการพกพาไม่เปลืองเนือที และไม่ซําใครอีกด้ วย 2. ช่วยแก้ ปัญหา ผู้ทีมักจะลืมหรื อทําสิงของเล็กๆ หาย สามารถเก็บไว้ ทีหมวกซึงจะไม่มีการสูญ หาย หรื อลืมทิงไว้ ทีอืน 3. ช่วยพัฒนากิจกรรมการเรี ยนการสอนทีเน้ นทักษะกระบวนการคิดสร้ างสรรค์ให้ มีประสิทธิภาพ มากยิงขึน 4. เป็ นแนวทางในการริ เริ มด้ านการใช้ ความคิดสร้ างสรรค์ สําหรับผู้ทีมีความสนใจ 5. ส่งเสริ มกระบวนการทํางานเป็ นทีม ซึงต้ องอาศัยทังความร่วมมือ ร่วมใจ การเสียสละ ยอมรับ ฟั งความคิดเห็นผู้อืน ซึงสามารถนําไปปรับใช้ โดยตรงในการใช้ ชีวิตประจําวันได้ เป็ นอย่างดี
  • 5. บทที 2 : การรวบรวมข้ อมูล ในการดําเนินงานโครงงานเทคโนโลยี “หมวกสารพัดนึก” ผู้จัดทํ าได้ รวบรวมข้ อมูล หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทีเกียวข้ องจากเอกสาร ตํารา บทความ สืบค้ นผ่านอินเตอร์ เน็ต ซึงประกอบด้ วย 1.หลักสูตรการศึกษาขึนพืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชันที 4 (ม.4-6) สาระการออกแบบและเทคโนโลยี 2.หลักการออกแบบ แผ่นฉนวนกันร้ อนจากท่อไอเสีย 3.ความรู้ เกียวกับอุปกรณ์ในการทําแผ่นฉนวนกันความร้ อน 4.ข้ อมูลอืนๆทีเกียวข้ อง หลักการออกแบบ หมวกกระเปา ๋ หมวกกระเป๋ า นี#มีรูปร่ าง ลักษณะทีคล้ายกับหมวกธรรมดา โดยทีตัวหมวกเป็ นรู ปครึ งวงกลมแต่ต่าง ที ปี กของหมวก จะเป็ นปี กอ่ อนที ทํา มาจากผ้า ที ไม่ แข็ง และมี ล ัก ษณะลวดลายที สวยงาม โดยมี ที หนี บ กระดาษรู ปร่ างเป็ นเส้นยาวๆเย็บพาดกับปี กหมวก ภายในตัวของหมวกจะถูกออกแบบเพือ ปรับอุ ณหภูมิ โดยมีแผ่นเปลียนอุณหภูมิเย็บติดอยู่ บริ เวณขอบของตัวหมวกมีซิปทีมีไว้สําหรับพับเก็บเป็ นกระเป๋ าสตางค์ ได้ สําหรั บกระบวนการทํางานของผลิ ตภัณฑ์น# ี คื อ มีไว้สําหรั บสวมในบริ เวณกลางแจ้ง หรื อทีแดดร้ อน เพราะสามารถปรับอุณหภูมิให้แก่ศีรษะมีความสบายมากยิงขึ#น หลังจากใช้เสร็ จอาจจะพับเก็บให้มีขนาดเล็ก ลงเพือใช้เป็ นกระเป๋ าสตางค์เก็บเศษเหรี ยญได้ตามต้องการ 3.ความรู้ เกียวกับโปรแกรม Google sketch up
  • 6. Google SketchUp เป็ นซอฟท์แวร์ สร้ างโมเดล 3มิตทีมีเครื องมือพืนฐานต่างๆเพียงพอกับการใช้ งาน ิ ของผู้ใช้ ระดับพืนๆทัวๆไป ทีต้ องการจะสร้ างแบบ 3มิตของโต๊ ะ, เก้ าอี, ตู้, เครื องใช้ ในบ้ านต่างๆ หรื อจะใช้ ิ สร้ างแบบในการต่อเติมบ้ าน และงานไม้ ตางๆก็ได้ ซึงก็จะมีรูปแบบของ texture แบบต่างๆให้ เลือกใช้ ได้ ครบ ่ แต่ถ้าต้ องการจะนําไปสร้ างโมเดลการ์ ตนเอนิเมชันต่างๆก็คงไม่พอ นอกจากจะใช้ เริ มหัดพืนฐานสร้ าง ู โมเดลต่างๆก็พอได้ Sketchup ถูกพัฒนาขึนโดยบริ ษัท @Last ในปี ค.ศ.1999 ซึงมีเปาหมายทีจะ ้ - พัฒนาโปรแกรมออกแบบ Model 3 มิติ โดยมี Interface ทีเรี ยบง่ายและใช้ งานสะดวก - ให้ ผ้ ใช้ งานสนุกกับการสร้ างและออกแบบ ู - ทําให้ ผ้ ออกแบบมีลกเล่นในส่วนของงานออกแบบและนําเสนอ โดยทีโปรแกรมอืนๆ ไม่สามารถทําได้ ู ู ต่อมา บริ ษัท Google ได้ เข้ าซือบริ ษัท @Last ตอนต้ นปี 2006 ทําให้ กลายเป็ นเวอร์ ชนใหม่คือ “Google ั Sketchup” ฟั งก์ชนทีน่าสนใจของ Google SketchUp คือสามารถเข้ าไปค้ นหาโมเดล 3มิตจากฐานข้ อมูลของ Google ั ิ หรื อจะโหลดไปเก็บไว้ ด้วยก็ได้ และถ้ าใช้ งานจนคล่องจะสร้ างโมเดลของสถานทีสําคัญๆ แล้ วเอาไปใส่ใน Google Earth ด้ วยก็ได้ จาก http://sketchup.google.com/ ข้ อมูลความรู้ เกียวกับหมวก เรื องสําคัญเกียวกับรู ปทรงของหมวก ถ้ าหากหมวกของท่านเปี ยก เมือหมวกแห้ ง รูปทรงของหมวกจะอยูในสภาพเดียวกันกับตอนทีมัน ่ เปี ยก ตัวหมวกจะเริ มคงรูปในขณะทีมนเริ มแห้ งและถ้ าท่านไม่ขยายไซส์ออก มันจะหดเล็กลงกว่าไซส์ปกติ ั ของมันและถ้ าหากท่านต้ องการให้ หมวกพอดีกบหัวของท่านได้ อย่างพอดีทานก็ต้องทําให้ หมวกแห้ งใน ั ่ ขณะทีกําลังสวมหมวกอยู่ และถ้ าคุณต้ องการให้ ทรงหมวกมี ลักษณะคล้ ายส้ มโอ ก็ขอให้ เอาส้ มโอยัดใส่ลง ไปก่อนทีหมวกจะแห้ ง วิธีการทําความสะอาดหมวก ห้ ามซักหมวกเด็ดขาด ! เนืองจากหมวกทํามาจากวัสดุเส้ นใยไม่วาจะเป็ นผ้ าฝายหรื อเส้ นใยสังเคราะห์ ่ ้
  • 7. เมือถูกซักโดยแรงจะทําให้ หมวกเสียทรงถาวรได้ ดงนันในการทําความสะอาดหน้ าหมวกใช้ ผ้าชุบนําเช็ด ั บริ เวณทีมีคราบสกปรก จากนันให้ ใช้ แปรงสีฟันอ่อนๆ ชุบนํายาทําความสะอาด แปรงบริ เวณทีเลอะคราบ เหงือ หรื อคราบสกปรกอืนๆ เบาๆ เมือหมวกของท่านสะอาดดีแล้ ว ให้ ใช้ นําล้ างบริ เวณทีซักออกและใช้ แปรงขัดเบาๆอีกครังหนึง แล้ วจึงปล่อยหมวกให้ แห้ งหลังจากนันหมวกของท่านจะดูเหมือนใหม่อีกครังหนึง คราบเหงือ อาจจะยังดูมีตดอยูบ้างเล็กน้ อย แต่ว่าอย่างน้ อยคราบสกปรกส่วนใหญ่จะหายไป ิ ่ - ส่ วนประกอบ 1. กระดุม ผ้ าด้ านนอก นําผ้ าจากวัสดุทีใช้ ทําตัวหมวก ให้ สีและลายผ้ าทีกลมกลืนกัน ส่วนวัสดุ ด้ านในทําจากพลาสติก เนือดี ทนทาน ไม่แตกหักง่าย นอกจากนันยังมีนําหนักเบา และไม่เป็ นอันตรายต่อ ศีรษะ เมือถูกกระแทกจากด้ านบน 2. ตาไก่ เจาะตาไก่เพือระบายและเพิมประสิทธิภาพของระบบไหลเวียนอากาศภาย ในหมวก หมุน ตาไก่โดยรอบถึง 57 ฝี เข็ม อันเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะของทางเรา ให้ ชินงานทีแน่นและดูสวยงาม 3. เทปสองเข็ม เปรี ยบเสมือนเป็ นกระดูกสันหลังของหมวก นอกจากจะช่วยยึดติดชิน ส่วนต่างๆเข้ า ด้ วยกันแล้ ว ยังช่วยเก็บงานให้ เรี ยบร้ อยและเพิมความแข็งแรงทนทานแก่ตวหมวกส่งผลให้ หมวกอยูทรง ั ่ รวมไปถึงการดึงชินงานปั กให้ ตงรูปอย่างสวยงาม เนืองจากโครงทีแข็งแรงและรังซึงกันและกันนีเอง ั 4. การประกบชิ นส่วนต่างๆ ทําด้ วยความประณีตและบรรจง แข็งแรงทนทานด้ วย ความละเอียดฝี เข็มสูง ทําให้ หมวกไม่เสียทรงง่ายเมือผ่านการใช้ งานเป็ นเวลานาน 5. บิ งกาวา แถบผ้ าทีคาดอยู่ด้านในตัวหมวกบริ เวณรอบขมับ ทําหน้ าทีคอยซับเหงือ ไม่ให้ ไหลลง มาขณะออกกําลังกายหรื อเล่นกีฬา นอกจากนันยังเป็ นส่วนสําคัญในการกําหนดขนาดหมวกขอบด้ านใน
  • 8. ของบิงกาวาจะประกอบด้ วยผ้ าวัสดุใยสังเคราะห์ ต่างชนิดกันหนึงหรื อสองเส้ น เพือรังทรงหมวกๆไม่ให้ ยืด ออกหรื อหดเล็กลง 6. คิ วหมวก เป็ นการเดินด้ ายเข็มเดียวเย็บยําลงไปเหนือบริ เวณรอยต่อระหว่างส่วนปี กกับส่วนหัว เล็กน้ อย บางกรณีจะเย็บเลยจนไปถึงข้ างหลังหมวกเพือเก็บชินงาน จุดประสงค์ในการคิวหมวกเพือตังหมวกให้ อยูทรงดูสวยงามและเพิมลวดลาย ่ บนตัวหมวก การคิวหมวกไม่ได้ เป็ นการทําเพิมความแข็งแรงให้ แก่หมวกแต่อย่างใด 7. ปี กหมวก เป็ นอีกส่วนหนึงทีสามารถเล่นลวดลายต่างๆได้ เป็ นอย่างดี ความยาวของ ปี กหมวกที ต่างกันจะทําให้ รูปแบบหมวกทีออกมาต่างกันด้ วย ดังนันการกะขนาด ความยาวของปี กหมวกกับตัวหมวก เป็ นปั จจัยสําคัญประการหนึงในการออกแบบ 8. เนื อผ้า ทีเราเลือกใช้ เป็ นวัสดุในการทําหมวก ล้ วนเป็ นเนือผ้ าคุณภาพดีทงสิน สีไม่ตกและทํา ั จากผ้ าฝายแท้ 100% ท่านจึงมันใจได้ วา หมวกของท่านทุกใบ มีคณภาพและได้ มาตรฐาน ้ ่ ุ 9. วนปี ก เป็ นการเย็บด้ ายเข็มเดียววนรอบปี กหมวกโดยเสมอกัน ระยะห่างระหว่าง ปี กหมวกกับกา รวนปี กรอบแรกอยูที 1.5 เซนติเมตร และเว้ นระยะเข้ ามาอีกทุกๆ 0.5เซนติเมตร ต่อการวนหนึงเส้ น นิยมวน ่ ปี กตังแต่ 2-4 เส้ น ข้ อดีของการวนปี กคือไม่ทําให้ ปีกหมวกโล่ง ในกรณีทีไม่มีการเล่นลวดลายลงบนปี ก นอกจากนันยังรังผ้ า เอาไว้ ไม่ให้ พองออก เมือเกิดการงอตัวของปี กพลาสติก 10. งานปั ก ถือว่าเป็ นหน้ าตาของหมวก และเป็ นสิงแรกทีผู้คนให้ ความสนใจ ดังนัน ถ้ าอยากให้ หมวกพูดได้ ก็ขอให้ ใส่ใจกับตําแหน่งและขนาดของงานปั กให้ ดี 11. บล๊ อคหมวก เป็ นตัวกําหนดขนาด, ความลึก, ความกว้ างและรู ปทรงหลักของ ตัวหมวก มีผล โดยตรงต่อความรู้สกเมือสวมใส่ การทําบล๊ อคจะทําโดยช่างทําบล๊ อค มืออาชีพเท่านัน ถือเป็ น ึ ส่วนสําคัญและเป็ นหัวใจของการทําหมวก หากต้ องการ ปรับเปลียนบล๊ อคหมวก โปรดปรึ กษาผู้เชียวชาญ โดยเฉพาะ 12. ผ้ากาว โดยปกติจะรี ดติดกับหน้ าหมวกทางด้ านใน เพือให้ ชินหมวกด้ านหน้ า อยู่ทรง รองรับงาน ปั ก ไม่ทําให้ งานปั กล้ ม ผ้ ากาวมีหลายชนิดขึนอยูกบจุดประสงค์ในการใช้ งาน แต่ก็มีหมวกบางชนิดทีไม่ ่ ั สามารถใส่ผ้ากาวได้ 13. หัวหมวก ประกอบจากผ้ า 6 ชิน แบ่งออกเป็ นคูๆ ได้ 3 คูและมีชือเรี ยกต่างกันดังนี "R1 ซ้ าย" ่ ่
  • 9. และ "R1 ขวา" คือชินหน้ าหมวกสองชิน "R2 ซ้ าย" และ "R2ขวา" คือชินผ้ าด้ านข้ างทังสองข้ าง "R3 ซ้ าย" และ "R3 ขวา" คือชินคูหลังสองชินรหัสต่างๆนีเป็ นชือเรี ยกเพืออ้ างถึงชินส่วนต่างๆบนหัวหมวก ่ หมายเหตุ : ด้ านซ้ าย-ขวา นับจากด้ านซ้ ายมือหรื อด้ านขวามือของตัวเองเป็ นสําคัญ
  • 10. บทที 3 ผลการปฏิบัตการโครงงาน ิ ผลการปฏิบตโครงงาน หมวกกระเป๋ า ผู้จดทําได้ ดําเนินการตามกระบวนการเทคโนโลยี 7 ขันตอน ัิ ั ของ สสวท. ดังนี ขันที 1 การกําหนดปั ญหา และความต้ องการ (Identification the problem, need or preference) 7 สภาพอากาศในประเทศไทยส่วนใหญ่จะค่อนข้ างร้ อน และในเวลาที แสงแดดค่อนข้ างแรง เมือ เราต้ องออกไปทําธุระข้ างนอก สิงทีมักจะนําติดตัวตัวออกไปด้ วยซึงส่วนใหญ่ก็จะเป็ นจะเป็ นร่ม เสือแขน ยาว หรื อไม่ก็หมวก แต่ถ้าหากเป็ นสิงทีใช้ ได้ กบทุกเพศทุกวัยแล้ วก็คงจะเป็ นหมวก แต่ในสังคมเมืองเป็ น ั สังคมทีรี บเร่ง ต้ องการความสะดวกและรวดเร็ ว ผู้คนต้ องการความคล่องตัวในการทํากิจกรรมต่างๆ ซึงสิงที จะนํามาช่วยสนองความต้ องการของผู้คนได้ ผลิตภัณฑ์ทีทําขึนนีจะต้ องเป็ นอุปกรณ์ทีสามารถใช้ ประโยชน์ ได้ หลายๆอย่าง ภายในผลิตภัณฑ์ชินเดียว ทีสําคัญต้ องพกพาสะดวกใช้ งานได้ ง่าย ผู้จดทําได้ เห็นถึง ั ปั ญหาดังกล่าว ขันที 2 รวบรวมข้ อมูลเพือแสวงหาวิธีการแก้ ปัญหาหรื อสนองความต้ องการ (Information) 7 เมือกําหนดปั ญหาหรื อความต้ องการเรี ยบร้ อยแล้ ว ทางคณะผู้จดทําได้ ทําการเก็บรวบรวมข้ อมูล ั และความรู้ทกด้ านทีเกียวข้ องกับปั ญหาหรื อความต้ องการดังกล่าว เพือหาวิธีการทีเหมาะสมสําหรับ ุ แก้ ปัญหา หรื อสนองความต้ องการทีกําหนดไว้ ได้ แก่ 1. สืบค้ นข้ อมูลจากเว็บไซต์ทีเกียวข้ อง 2. ทําการพิจารณาเลือกข้ อมูลทีมีความน่าสนใจและเป็ นประโยชน์ตอการจัดทําโครงงาน ่ ขันที 3 เลือกวิธีการแก้ ปัญหาหรื อสนองความต้ องการ (Selection of the best possible solution) 7 ในการตัดสินใจเลือกแนวคิดทีดีทีสุดสําหรับแก้ ปัญหา ผู้จดทําได้ นําข้ อมูล และความรู้ ทีรวบรวมได้ มา ั ประกอบกันจนได้ ข้อสรุ ปว่า จะเลือกวิธีการแก้ ปัญหาหรื อวิธีการสนองความต้ องการคือ จัดทําหมวกมีปีก ซึงตัง จุดมุงหมาย ให้ ผลิตภัณฑ์ทีได้ สามารถตอบสนองความต้ องการของผู้ใช้ ได้ หลายๆ ด้ าน ได้ แก่ การใช้ กําบังแดด ่
  • 11. ลม ใช้ เก็บเหรี ยญหรื อสิงของเล็กๆ ได้ ใช้ เสียบการ์ ดหรื อกระดาษโน้ ต และสามารถพับเก็บได้ จึงพกพาสะดวก สอดคล้ องกับทรัพยากรทีหาได้ ง่าย จึงเป็ นปั จจัยส่งเสริ ม ในการตัดสินใจเลือกสิงดังกล่าว ขันที 4 ออกแบบและปฏิบัตการ (Design and making) โดยใช้ กระบวนการ PDCA ของ 7 ิ Deming ดังนี 7 ถ้ าจะออกแบบผลิตภัณฑ์ทีเกียวกับหมวกแล้ ว ก็ควรจะเพิมหน้ าทีใช้ สอยให้ มากขึนคือสามารถพับ เก็บได้ มีทีเก็บเหรี ยญ และ มีทีหนีบเศษกระดาษแผ่นเล็กๆ เช่น ตัวรถ นามบัตร เป็ นต้ น และต้ องมีฟังก์ชน : ั เพิมเติมเพือทําให้ แตกต่างจากหมวกทัวไป คือทําให้ หมวกธรรมดา ทีใช้ แค่สวมเพือปองกันแสงแดด ที ้ สําคัญผลิตภัณฑ์จะต้ องสะดวกต่อการใช้ งาน ส่วนกลุมเปาหมายก็สามารถใช้ ได้ กบคนทุกเพศทุกวัย ซึง ่ ้ ั จะต้ องมีการออกแบบลวดลายหลากหลายแบบเพือให้ เหมาะสําหรับผู้คนแต่ละวัย ซึงมีขนตอนทําดังนี ั 1. ออกแบบและวางแผนการทํา โดยแบ่งหน้ าทีแก้ สมาชิกในกลุมให้ รับผิดชอบส่วนต่างๆ ทีตนเอง ่ ถนัดและสามารถทําได้ 2. จัดเตรี ยมอุปกรณ์ทีจําเป็ นต้ องใช้ ให้ ครบถ้ วน 3. ร่ างแบบลงบนผ้ าทีจัดเตรี ยมเอาไว้ ให้ เป็ นส่วนต่างๆ ของตัวหมวก 4. ตัดผ้ าตามแบบร่าง 5. เย็บประกอบให้ เป็ นตัวหมวก 6. เพิมส่วนประกอบทีเป็ นตัวถุงใส่ของ ซิป ทีห้ อยกระดุม กระดุม และสายห้ อย
  • 13. 8. ประเมินผลการใช้ งานของผลิตภัณฑ์วาสามารถตอบสนองความต้ องการและแก้ ปัญหาตาม ่ จุดประสงค์ทีวางไว้ หรื อไม่
  • 14. ขันที 5 ทดสอบ (Testing to see if it works) 7 เมือนําสิงประดิษฐ์ มาทดลองใช้ พบว่า สามารถพับเก็บได้ ตามเปามายทีวางไว้ รวมถึงสามารถเก็บ ้ ของเล็กๆน้ อยๆได้ แต่ พบสิงทีมีปัญหาทีสุด คือ การนําเอาแผงปรับอุณหภูมิมาติดไว้ ตรงท้ ายหมวกได้ เนืองจาก แผงปรับอุณหภูมิเป็ นวัสดุทีมีราคาสูง ไม่สามารถหาซือได้ ตามท้ องตลาด มีวิธีการสลับซับซ้ อน ขันที 6 การปรั บปรุ งแก้ ไข (Modification and improvement) 7 หลังจากการทดสอบผลแล้ วพบว่า สิงประดิษฐ์ ทีสร้ างขึน มีข้อบกพร่ อง คือ ไม่สามารถนําแผงปรับ อุณหภูมิมาติดไว้ ทีหมวก ดังนัน จึงทําการปรับปรุงแก้ ไข โดยไม่ติดวัสดุดงกล่าวทีหมวก แต่อย่างไรก็ตาม ั หมวกทีสร้ างขึนนี ก็ยงเป็ น หมวกสารนึก ทีสามารถใช้ งานได้ สะดวก ประหยัดเนือทีในการเก็บ เหมือน ั ดังเดิม
  • 15. ขันที 7 ประเมินผล (Assessment) 7 หลังจากปรับปรุ งแก้ ไขจนใช้ งานได้ ดีตามวิธีการทีออกแบบแล้ ว ผู้จดทําได้ นําผลงานมาประเมินผลโดย ั พิจารณาดังนี - หมวกกระเป๋ า สามารถแก้ ปัญหาและสนองความต้ องการตรงตามเปาหมายทีวางไว้ ข้างต้ น ้ - หมวกกระเป๋ ามีความสวยงาม และดึงดูดใจผู้ใช้ เป็ นอย่างดี - หมวกกระเป๋ านันมีความทนทาน สะดวกต่อการใช้ งาน และพกพา - หมวกกระเป๋ า มีต้นทุนทีไม่สงมากนัก และให้ ประโยชน์สงสุดในการใช้ จึงถือว่าเป็ นผลิตภัณฑ์ ู ู ทีเหมาะสมต่อการใช้ งาน และตอบสนองความต้ องการแก่ผ้ ใช้ ได้ เป็ นอย่างดี ู
  • 16. บทที 4 สรุ ปผล อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ สรุ ปผลการดําเนินการ จากการริ เริ มทําโครงงานสิงประดิษฐ์ คือ หมวกกระเป๋ า ได้ มีการเริ มจากการคิดโครงงานเดียวของ สมาชิกในกลุม ซึงสมาชิกแต่ละคนก็ตางแยกย้ ายกันไปคิดโครงงานสิงประดิษฐ์ ของตน ่ ่ ซึงโครงงาน สิงประดิษฐ์ ทง 3 เรื องประกอบด้ วย โครงงานเรื อง เสือกักเก็บความร้ อน ทียกของเอนกประสงค์ และ เครื อง ั ปิ งหมูเอนกประสงค์ จากนันก็นกรวมกลุมสมาชิกเพือมาปรึกษาเรื องการเลือกทําโครงงาน ั ่ โดยเลือก โครงงานสิงประดิษฐ์ จาก 3 เรื องดังกล่าว เมือได้ ปรึกษากันเกียวกับข้ อดีข้อเสียของสิงประดิษฐ์ ของสมาชิก แต่ก็ได้ ข้อสรุ ปว่า จะประดิษฐ์ โครงงานสิงประดิษฐ์ เรื องอืนขึนใหม่ โดยช่วยกันระดมความคิดภายในกลุม ่ ซึงต้ องเริ มใหม่ตงแต่การกําหนดปั ญหาและความต้ องการ สืบเนืองจาก ปั ญหาโลกร้ อนในปั จจุบนทําให้ ั ั อุณหภูมิเฉลียทัวโลกสูง ขึนอย่างเห็นได้ ชด แต่ผ้ คนก็ยงคงต้ องทํากิจกรรมต่างเหมือนเดิมในอุณหภูมิที ั ู ั สูงขึน ดังนันสิงประดิษฐ์ ทีจะทําขึนจะต้ องเกียวกับปั ญหานีด้ วย จากการรวบรวมข้ อมูลต่างๆจากหลาย แหล่ง พบว่า สิงทีผู้คนมักสวมใส่ เวลาทีต้ องเผชิญกับแสงแดด มีอปกรณ์อยูไม่กีอย่างคือ หมวก ร่มกันแดด ุ ่ เสือแขนยาว แต่สิงทีสามารถพบเห็นได้ ตงแต่เด็กไปจนถึงผู้สงอายุก็คือ หมวก เพราะหมวกมีรูปร่างลักษณะ ั ู หลากหลายแบบให้ เลือก จึงสามารถสนองความต้ องการของผู้ใช้ ในทุกๆวัยได้ เช่น เด็กอาจจะมีความไม่ สะดวกต่อการพกพาร่มกันแดด เวลาออกไปทํากิจกรรมต่างๆนอกบ้ านได้ แต่ถ้าหากเป็ นหมวก ซึง ผู้ปกครองสวมไว้ บนศีรษะของเด็ก ก็จะทําให้ สามารถปองกันแสงแดด ได้ โดยไม่ต้องพกร่มให้ เกะกะ หรื อ ้ บางทีเด็กอาจทําหายก็เป็ นได้ และอีกตัวอย่างคือผู้สงอายุ ซึงส่วนใหญ่แล้ ว ผู้สงอายุสวนใหญ่มกไม่ชอบ ู ู ่ ั ออกไปทํากิจกรรมต่างๆนอกบ้ าน แต่ถ้าจําเป็ นต้ องออกไปทําธุระ หรื อออกไปเทียวกับครอบครัว ส่วนใหญ่ นันมักชอบสวมหมวกมากกว่ากางร่ม เพราะหมวกมีขนากเบา พกพาได้ สะดวก รวมถึงมีรูปร่างลักษณะ สวยงาม สามารถเลือกได้ ตามความต้ องการของผู้ซือ ดังนันสมาชิกในกลุมจึงตักสินใจเลือกทําโครงงาน ่ สิงประดิษฐ์ ทีเกียวกับหมวก หลังจากระดมความคิดกันกลุมแล้ วได้ ข้อสรุ ปว่า จะเลือกทําโครงงานสิงประดิษฐ์ เรื อง “หมวก ่ กระเป๋ า” ซึงหมวกสารพัดนีได้ พฒนามาจากหมวกปกติคือ สามารถพับเก็บได้ ซึงทําให้ สะดวกต่อการใช้ ั งาน คือ สามารถพกพาได้ ง่าย ประหยัดเนือทีในการเก็บมากขึน นอกจากนีบนหมวกยังมีการติดซิปไว้ บน ตัวหมวก แลมีการติดยางยืด ไว้ บนปี กหมวก ไว้ เพือสามารถเก็บของกระจุกกระจิกไว้ ได้ เช่น เก็บเศษ เหรี ยญเวลาขึนรถเมล์ แทนทีจะหยิบกระเป๋ าสตางค์ขนมาให้ เสียเวลา และสามารถเก็บเศษกระดาษแผ่น ึ
  • 17. เล็กๆไว้ ได้ เช่น ตัวรถ เบอร์ โทรศัพท์ เป็ นต้ น รวมถึงใส่แผงปรับอุณหภูมิ เพือทําให้ หมวกเย็นขึน ซึงเป็ นให้ ผ้ ู : สวมใส่ร้ ูสกเย็นไปด้ วย ึ เมือสเกต รูปแบบของหมวกโดยใช้ การวาดภาพด้ วยดินสอแล้ วจากนันก็นํารูปแบบของหมวกมา ออกแบบโดยใช้ ซอฟต์แวร์ ในทีนีสมาชิกกลุมเลือกทีจะออกแบบโดยใช้ โปรแกรมGoogle sketch up รวมถึง ่ ใช้ โปรแกรมเสริ ม คือ Photo scape มาใช้ ในการตกแต่ง ซึงรู ปแบบของหมวกทีจะนํามาทําโครงงาน สิงประดิษฐ์ คือ ลักษณะของหมวกเก็ป ซึงลักษณะของหมวกแบบนีสามารถสวมใส่ได้ ทกเพศทุกวัย ซึงเมือ ุ ออกแบบคร่ าวๆรวมถึงเขียน โครงงาน โดยใช้ หลักการ 5W1H เสร็ จแล้ ว ก็นําโครงงานไปนําเสนอหน้ าชัน เรี ยน และได้ นําโครงงานมาปรับปรุงแก้ ไขเพิมเติม โดยการนําไปออกแบบด้ วยซอฟต์แวร์ อีกครังเพือให้ ชินงานมีความสมบูรณ์ขนกว่าเดิม ึ ขันตอนของการลงมือปฏิบติงาน โดยทําตามลักษณะทีได้ ออกแบบไว้ เมือทําสิงประดิษฐ์ เสร็ จแล้ ว ั ได้ นํามา ทดสอบการทํางานซึงพบว่า ไม่สามารถใส่เซ็นเซอร์ ปรับอุณหภูมิลงไปในสิงประดิษฐ์ เพราะ เซ็นเซอร์ มีหลักการทํางานทีซับซ้ อน รวมถึงไม่สามารถหาซือได้ ง่ายตามท้ องตลาดทัวไปดังนันจึงนําไปสู่ กระบวนการปรับปรุงแก้ ไข คือไม่ต้องติดแผงเซ็นเซอร์ วดอุณหภูมิลงไปในตัวหมวก หลังจากผ่าน ั กระบวนการทังหมดแล้ ว จึงทําให้ ได้ สิงประดิษฐ์ คือ “หมวกกระเป๋ า” ออกมา ซึงถึงแม้ วาสิงประดิษฐ์ นีจะ ่ ไม่มีเทคโนโลยีทีทันสมัย แต่ก็สามารถใช้ ประโยชน์ได้ หลายอย่างเช่นกัน การประเมินผลโครงงานโดยการทําใบประเมินผลโดยให้ ผ้ ปกครอง และเพือนๆเป็ นผู้ประเมิน แล้ ว ู นําผลทีได้ มาทําเป็ นกราฟรูปแท่ง ซึงผลทีออกมาก็อยูในเกณฑ์ดี ่
  • 18. อภิปรายผล จากการทําโครงงานชินนีทําให้ ผ้ จดทําได้ รับความรู้มากมาย ซึงเริ มตังแต่ขนตอนแรกในการ ูั ั ออกแบบผลิตภัณฑ์ คือต้ องอาศัยหลักการ 5W1H เพือวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ทีจะออกแบบ ว่าในการ ออกแบบผลิตภัณฑ์นนสิงแรกทีจะต้ องคํานึงคือ ต้ องการสนองความต้ องการอะไร(What ), จะต้ องสนอง ั ความต้ องการทีไหน(where), จะต้ องสนองความต้ องการเมือไร (when),ทําไมจึงต้ องสนองความต้ องการ (Why) และต้ องสนองความต้ องการอย่างไร (How) หลักการทังหมดนีใช้ เพือหาปั จจัยทีจะนํามาพิจารณา ในการออกแบบ ซึงสิงนีคณะผู้จดทําเห็นว่าจะช่วยพัฒนาทักษะการคิดสร้ างสรรค์ให้ มีประสิทธิภาพยิงขึน ั ซึงในระหว่างการทําจัดทําโครงงานสิงประดิษฐ์ นี คณะผู้จดทําได้ รับความรู้เกียว กระบวนการเทคโนโลยี7 ั ขันตอน ของ สสวท.และได้ นํามาเป็ นแนวทางในการดําเนินงาน ซึงทัง 7 ขันตอนนีประกอบไปด้ วย ตังแต่ การกําหนดปั ญหาและความต้ องการ(Identification the problem, need or preference),รวบรวมข้ อมูลเพือ แสวงหาวิธีการแก้ ปัญหาหรื อสนองความต้ องการ (Information),เลือกวิธีการแก้ ปัญหาหรื อสนองความ ต้ องการ (Selection of the best possible solution),ออกแบบและปฏิบตการ (Design and making) ,ทดสอบ ัิ (Testing to see if it works),การปรับปรุงแก้ ไข (Modification and improvement)และขันตอนสุดท้ ายคือการ ปรับปรุงแก้ ไข (Modification and improvement) กระบวนการทัง 7 ขันตอนนีการดําเนินงานเป็ นไปอย่างมีขนตอน เป็ นระเบียบแบบแผน ั ซึงภายในกระบวนการ 7 ขันตอนนี คณะผู้จดทํายังได้ รับความรู้เกียวกับเรื อง ของ หลักการ ั PDCA ของDeming หลักการ PDCA คือ วงจรพัฒนาคุณภาพงาน เป็ นวงจรพัฒนาพืนฐานหลักของการ พัฒนาคุณภาพทังระบบ (Total Quality Management: TQM) ผู้ทีคิดค้ นกระบวนการหรื อวงจรพัฒนา คุณภาพ PDCA คือ Shewhart นักวิทยาศาสตร์ ชาวอเมริ กน แต่ Deming ได้ นําไปเผยแพร่ทีประเทศญี ปุ่ นจน ั ประสบความสําเร็ จ จนผลักดันให้ ญีปุ่ นเป็ นประเทศมหาอํานาจของโลก คนทัวไปจึงรู้ จกวงจร PDCA จาก ั การเผยแพร่ของ Deming จึงเรี ยกว่า “วงจร Deming” วงจร PDCA ประกอบด้ วยขันตอนดังต่อไปนี 1. วางแผน (Plan – P) คือ การทํางานใด ๆ ต้ องมีขนการวางแผน เพราะทําให้ มีความ ั มันใจว่าทํางานได้ สําเร็ จ เช่น วางแผนการสอน วางแผนการวิจย หัวข้ อทีใช้ ในการวางแผน คือ วางแผนใน ั หัวข้ อต่อไปนี 1) ทําทําไม 2) ทําอะไร 3) ใครทํา ทํากับกลุ่มเปาหมายใด 4) ทําเวลาใด 5) ทําทีไหน 6) ทํา ้
  • 19. อย่างไร 7) ใช้ งบประมาณเท่าไร การวางแผนวิจยในชันเรี ยนเป็ นการวางแผนตามคําถามต่อไปนี why what ั และ how 2. การปฏิบติ (Do – D) เป็ นขันของการลงมือปฏิบติตามแผนทีวางไว้ การปฏิบตวิจย ั ั ัิ ั ในชันเรี ยนตามแผนการวิจย คือ การลงมือเก็บรวบรวมข้ อมูลเพือตอบปั ญหาการวิจยทีตังไว้ ในแผน ั ั 3. ตรวจสอบ (Check – C) เป็ นขันของการประเมินการทํางานว่าเป็ นไปตามแผนทีวาง ไว้ หรื อไม่ มีเรื องอะไรปฏิบตได้ ตามแผน มีเรื องอะไรทีไม่สามารถปฏิบตได้ ตามแผน หรื อปฏิบตแล้ วไม่ได้ ผล ัิ ัิ ัิ การตรวจสอบนีจะได้ สิงทีสําเร็ จตามแผน และสิงทีเป็ นข้ อบกพร่องทีต้ องแก้ ไข 4. การปรับปรุงแก้ ไข (Action – A) เป็ นขันของการนําข้ อบกพร่องมาวางแผนเพือการ ปฏิบติการแก้ ไขข้ อบกพร่อง แล้ วลงมือแก้ ไข ซึงในขันนีอาจพบว่าประสบความสําเร็ จ หรื ออาจพบว่ามี ั ข้ อบกพร่ องอีก ผู้วิจยหรื อผู้ทํางานก็ต้องตรวจสอบเนือหาเพือแก้ ไข แล้ วนําไปแก้ ไขอีกต่อไป งานของการ ั วิจยในชันเรี ยนจึงเป็ นการทําไปเรื อย ๆ ไม่มีวนหยุด การทําวิจยไปเรื อย ๆ เป็ นการพัฒนาให้ ดีขึนเรื อย ๆ ั ั ั เป็ นการพัฒนาอย่างยังยืน ซึงได้ นํามาใช้ ในการดําเนินการด้ วยเช่นกัน หลักการทําโครงงานทังหมดนี ไม่วาจะเป็ น 5W1H, กระบวนการเทคโนโลยี 7 ขันตอน และ ่ กระบวนการ PDCA ของDeming ทําให้ การทําโครงงานชินเป็ นไปอย่างเป็ นขันตอน มีหลักการทํางานทีมี ประสิทธิภาพยิงขึน โดยเฉพาะการได้ รับความรู้จากใบงานต่างๆในวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ทําให้ คณะผู้จดทํามีแนวทางในการเขียน และจัดทําโครงงานทีถูกต้ อง เป็ นแบบแผน และมีประสิทธิภาพยิงขึน ั นอกจากนีคณะผู้จดทํายังได้ รับองค์ความรู้ใหม่ๆอีกหลายอย่าง เช่น การใช้ โปรแกรม Google ั sketch up เพราะว่าสมาชิกในกลุมไม่เคยมีใครได้ เคยใช้ โปรแกรมดังกล่าวเลย ดังนันทุกคนจึงต้ องช่วยกัน ่ ศึกษา ขันตอนวิธีการใช้ โปรแกรม Google sketch up จนในทีสุดก็สามารถใช้ โปรแกรมนีมาออกแบบผลิตภัณฑ์ได้ ตามต้ องการ ซึงโปรแกรม Google sketch up สามารถใช้ งานได้ มากกว่าการสเกตภาพธรรมดา คือสามารถเพิมเติมสีสนได้ ตามทีต้ องการ ั รวมถึงการมองภาพในมุมมองต่างๆ ในรู ปแบบของภาพ 3 มิติ ทําให้ ชินงานทีออกแบบนี มีลกษณะ ั ใกล้ เคียงกับของจริ งมากขึน และในระหว่างการค้ นคว้ าข้ อมูลเพือนํามาประกอบในโครงงาน ทําให้ คณะ
  • 20. ผู้จดทําได้ ทราบข้ อมูลเกียวกับเซนเซอร์ มากขึน ว่ามีกีประเภท มีหลักการทํางานอย่างไร มีการต่อวงจรแบบ ั ใด ซึงทําให้ ทราบว่าเซนเซอร์ แบบไหนจะเหมาะต่อการทํางานในสภาพไหนเป็ นต้ น ข้ อเสนอแนะ 1. ช่วงเวลาทีใช้ ในการทําโครงงาน เพราะสมาชิกในกลุมต่างมีภาระงานทีต้ องรับผิดชอบมาก และ ่ การทีจะหาเวลาสมาชิกในกลุมว่าง ตรงกันก็เป็ นการยาก ดังนันจึงทําให้ โครงงานนีได้ มีการเริ มทํา ่ ค่อนข้ างล่าช้ า ถึงแม้ วาระยะเวลาทีให้ ทําโครงงานมีมากก็ตาม ่ 2. การแบ่งงาน เนืองจากการแบ่งงานของสมาชิกในกลุม อาจแบ่งงานไม่เหมาะกับความถนัดของ ่ สมาชิกคนนันๆ ทําให้ งานทีได้ ออกมาไม่ดีเท่าทีควร จึงอาจจะต้ องเสียเวลามานังแก้ งานใหม่ 3. การค้ นคว้ าข้ อมูล ในการทําโครงงานสิงประดิษฐ์ ชินนี ในขันต้ น สมาชิกในกลุมมีความเห็นพ้ องกัน ่ ว่า ควรใส่เทคโนโลยีเข้ าไปเพือให้ หมวกมีความโดดเด่นขึน แต่พอถึงขันปฏิบตงานกลับพบ ัิ ข้ อบกพร่ องคือ ไม่สามารถหาซือเซนเซอร์ วดอุณหภูมิมาติดได้ ซึงอาจเป็ นเพราะว่า ไม่ได้ ศกษา ั ึ ค้ นคว้ าข้ อมูลจากหลายแหล่งให้ ดีเท่าทีควร จึงทําให้ แนวคิดนีต้ องล้ มเลิกไปก็เป็ นได้ ซึงอยากจะให้ มีผ้ ทีสนใจมาต่อยอดโครงงานชินนี เพราะจากแนวคิดของผู้จดทําใน ขันแรกทีจะใส่เซ็นเซอร์ ู ั วัดอุณหภูมิเข้ าไปเพือให้ หมวกปรับอุณหภูมิเองได้ ณ จุดนีจะเห็นได้ วา ถ้ าหากต่อยอดโครงงานสิงประดิษฐ์ ่ ชินนี ได้ สําเร็ จ ผู้จดทําทุกคนหวังว่า จะมีหมวกลักษณะใหม่ทีไม่เคยมีใครผลิตมาก่อน ได้ ออกสู่ท้องตลาด ั เป็ นแน่
  • 21. บรรณานุกรม -ความรู้ เกียวกับโปรแกรม Google sketch up (2552).[ออนไลน์ ].เข้ าถึงได้ จาก :http://sketchup.google.com/ -ความรู้ เกียวกับเซนเซอร์ วัดอุณหภูมิและเซนเซอร์ วัดความดัน.[ออนไลน์ ].เข้ าถึงได้ จาก : http://www.cpe.ku.ac.th/~yuen/204471/sensor/temp_pres/ http://www.tacap.co.th/makesys.html -ความรู้ เกียวกับวิธีการทําหมวก.[ออนไลน์ ].เข้ าถึงได้ จาก : http://www.tacap.co.th/makesys.html -ความรู้ เกียวกับส่ วนประกอบของหมวก. [ออนไลน์ ].เข้ าถึงได้ จาก : http://www.tacap.co.th/cap%20info3.html