SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  58
Télécharger pour lire hors ligne
การสร้างแบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธิ์
แบบทดสอบคือ ?
คือ เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลอย่างหนึ่งโดยการใช้
แบบทดสอบ เป็ นเครื่องมือเรียกว่า การทดสอบหรือการสอบ ผลที่ได้
คือตัวแทนความรู้
ความสามารถในเรื่องนั้น และถูกนามาตีค่าเป็ นตัวเลข คือ คะแนน
ประเภทของแบบทดสอบ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
แบบทดสอบมีอยู่ด้วยกันหลายประเภทขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการ
จาแนกดังนี้
จาแนกตามพฤติกรรมที่ต้องการวัด
จาแนกตามลักษณะของการใช้ประโยชน์
จาแนกตามระยะเวลาที่กาหนดให้ตอบ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เป็นเครื่องมือที่นิยมใช้กันมากสาหรับวัดพฤติกรรมพุทธิ
หรือวัดความรู้ความสามารถทางสมอง และทักษะที่เกิดขึ้นกับ
ในช่วงระยะเวลาหนึ่งที่เกิดจากผลการจัดการเรียนรู้
จาแนกตามพฤติกรรมที่ต้องการวัด
แบบทดสอบวัดความถนัด
คือ มุ่งวัดสมรรถภาพสูงสุดทางสมองของมนุษย์ เพื่อหา
ถนัด แบบทดสอบชนิดนี้ใช้เพื่อพยากรณ์ หรือทานายในอนาคตของ
ผู้เรียน โดยอาศัยข้อเท็จจริงในสภาพปัจจุบันเป็นรากฐาน โดย
แบบทดสอบนี้แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
แบบทดสอบวัดความถนัดทางการเรียน เช่น ภาษา การ
คานวณ เป็นต้น
แบบทดสอบวัดความถนัดพิเศษ หรือความถนัดเฉพาะอย่าง
เช่น ดนตรี ศิลปะ
จาแนกตามพฤติกรรมที่ต้องการวัด
แบบทดสอบวัดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสังคม
หรือ แบบวัดบุคคลกับสังคม เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวัด
ภายในตัวบุคคล โดยเก็บรวบรวมความรู้สึกที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น
ความสนใจ จริยธรรม เจตคติ บุคลิกภาพเป็นต้น
เครื่องมือที่ใช้วัดคุณลักษณะนี้ เรียกว่า แบบวัด เป็น
ของแบบวัดเชิงสถานการณ์หรือมาตราส่วนประมาณค่า เป็นต้น
จาแนกตามพฤติกรรมที่ต้องการวัด
1 แบบทดสอบเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เป็นเครื่องมือวัดความรู้ความสามารถ หลังจากที่จบการเรียนการ
2 แบบทดสอบเพื่อการวินิจฉัย
ใช้เพื่อหาจุดเด่น จุดด้อย ในการเรียน โดยมีจานวนข้อมาก
แบบทดสอบชนิดนี้มีประโยชน์มากโดยเฉพาะการแก้ปัญหาด้าน
เรียนให้กับผู้เรียน
จาแนกตามลักษณะของการใช้ประโยชน์
3 แบบทดสอบเพื่อวัดความพร้อม
เป็นแบบทดสอบเพื่อการวัดความพร้อมก่อนเรียน เช่น การวัดความ
พร้อมก่อนเข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที 1
4 แบบทดสอบเพื่อการทานาย
ใช้เพื่อทานายความสามารถเฉพาะ โดยเฉพาะความสามารถที่จะ
เกิดขึ้นภายหลัง ดังนั้นจึงมีการวิจัยว่าแบบทดสอบชนิดนี้เที่ยงตรง
หรือไม่ เช่นแบบทดสอบวัดความถนัดชนิดต่างๆ
จาแนกตามลักษณะของการใช้ประโยชน์
5 แบบทดสอบเพื่อวัดเชาว์ปัญญา
คือ แบบทดสอบที่ใช้วัดความสามารถทั่วๆ ไป เช่น วัดความสามารถในการ
คิด การเรียนรู้และประสบการณ์มาใช้กับสถานการณ์ เช่น การแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์
6 แบบทดสอบเพื่อวัดบุคลิกภาพ
เป็ นแบบทดสอบที่ใช้วัดบุคลิกภาพ หรือการปรับตนเองของบุคคลในสังคม
7 แบบทดสอบเพื่อวัดความสนใจในอาชีพ
ใช้วัดความสนใจในอาชีพ รวมถึงความสนใจที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน
ของคน
จาแนกตามลักษณะของการใช้ประโยชน์
1 แบบทดสอบที่ใช้วัดความเร็ว
แบบทดสอบนี้จะให้ตอบภายในเวลาที่กาหนด ข้อสอบค่อนข้างง่าย เช่น
การบวกเลข การใช้มือ เป็ นต้น
2 แบบทดสอบที่ใช้ความสามารถ
เป็ นแบบทดสอบที่ไม่กาหนดเวลา มุ่งวัดความสารถของบุคคล เช่น ผลงาน
การค้นคว้า เป้ นต้น
แบ่งตามระยะเวลาที่กาหนดให้ตอบ
คือเครื่องมือ ที่สามารถวัดได้ครอบคลุมพฤติกรรมทั้ง 6 ด้าน
คือ ด้านความรู้ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์
สังเคราะห์ และการประเมิน
แบบทดสอบชนิดนี้มีหลายประเภทขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ใน
จาแนก
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ?
1 แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้นเอง
แบบทดสอบที่ใช้ระหว่างการเรียน เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า
ของผู้เรียนและนาผลมาปรับปรุงการสอน
แบบทดสอบหลังสิ้นสุดการเรียน เพื่อนาผลการวัดไปใช้ใน
การสรุปรวบรวม หรือตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน
จาแนกตามลักษณะการสร้าง
2 แบบทดสอบมาตรฐาน
มาตรฐานในการสร้าง คือผ่านการตรวจสอบคุณภาพและพัฒนาแล้ว
จนเชื่อถือได้ มักออกข้อสอบเนื้อหาสาระกว้างๆ ที่สอนในหลักสูตรนั้น
มาตรฐานในการดาเนินการสอบ จะมีคู่มือในการสอบใครที่นาไป
ดาเนินการสอบก็จะมีผลเหมือนกัน
มาตรฐานในการให้คะแนนและแปลความหมายของคะแนน ไม่ว่าใคร
ให้คะแนนก็เหมือนกัน มีเกณฑ์ปกติ สาหรับแปลคะแนนของผู้เข้าสอบ
จาแนกตามลักษณะการสร้าง
• แบบทดสอบปากเปล่า อาศัยการถาม - ตอบ
• แบบทดสอบให้เขียน เช่น แบบจากัดคาตอบ และไม่จากัด
คาตอบ
• แบบทดสอบให้ปฏิบัติ เช่น การประดิษฐ์ งานบ้าน เป็ นต้น
จาแนกตามรูปแบบการตอบ
 แบบทดสอบปรนัย เป็ นแบบทดสอบที่มีกฎเกณฑ์ตายตัว มีการกาหนด
คาตอบมาล่วงหน้า ใครตรวจก็มีผลคะแนนเท่ากัน โดยวัดความสามารถ
เพียงเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพียงเรื่องเดียวกัน
 แบบทดสอบอัตนัย การตรวจให้คะแนนขึ้นอยู่กับความรู้สึก ความคิดเห็น
ของผู้ตรวจเป็ นสาคัญ เหมาะสาหรับวัดความสามารถทางสมองขั้นสูง
จาแนกตามลักษณะของการตรวจให้คะแนน
การสร้างแบบทดสอบปรนัย
แบบถูกผิด
ประกอบด้วยจ้อความหรือประโยคที่ต้องการให้ผู้ตอบตัดสินว่า
ถูก หรือ ผิด ใช่ หรือไม่ จริงหรือเท็จ
นาไปใช้ วัดการเรียนรู้ ขั้นความจา โดยเฉพาะในเรื่องของ
ความจริง นิยาม สามารถใช้วัดความสัมพันธ์ในเชิงเหตุผล ของสิ่งสอง
สิ่ง
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ชนิดต่างๆ
ข้อเสนอแนะ
 วัดเฉพาะแนวคิดหรือประเด็นสาคัญ
 หลีกเลี่ยงคาถามที่เป็นความคิดเห็น
 หลีกเลี่ยงคาถามที่มีข้อความปฏิเสธ หรือมีการเน้นที่ข้อความนั้น
 ใช้คาถามที่ชัดเจน
 ใช้ข้อสอบผิดมากกว่าถูกเพราะแนวโน้มผู้เรียนจะยอมรับมากกว่าปฏิเสธ
 จัดเรียงข้อสอบแบบสุ่ม
 หลีกเลี่ยงการใช้คาชี้แนะ เช่น ทั้งหมด เสมอๆ ทุกครั้ง เพราะคาเหล่านี้
ให้เป็นประโยคที่ผิด
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบถูกผิด
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบถูกผิด
ตัวอย่างการสร้างแบบทดสอบปรนัยแบบถูกผิด
คาชี้แจง โปรดพิจารณาว่าข้อความต่อไปนี้กล่าวถูกหรือกล่าวผิด โดยทา
✓ หน้าข้อความที่กล่าวถูกและทาเครื่องหมาย ✖ หน้าข้อความที่กล่าวผิด
............................ 1. เครื่องมือวัดที่มีความเที่ยงจะทาให้เครื่องมือวัด
ชนิด นั้นส่งผลต่อความตรงด้วย
............................ 2. ความตรงเป็นคุณภาพที่สาคัญที่สุดของเครื่องมือที่
ใช้ใน การวัดผล
 ข้อดี
 เหมาะสาหรับใช้วัดความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหา
 สร้างง่าย
 ถ้าผู้สร้างระมัดระวังในการสร้างและตรวจสอบดีแล้ว ข้อสอบนั้นจะมี
ความเที่ยงสูง และตรงเชิงเนื้อหา
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบถูกผิด
 ข้อจากัด
 ผู้สอบมีโอกาสสูงในการเดาข้อสอบให้ถูก
 มีแนวโน้มในการวัดเล็กๆน้อยๆ และวัดในเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องกับ
พฤติกรรมการเรียนรู้ที่สาคัญ
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบถูกผิด
• เป็นข้อสอบเลือกตอบประเภทหนึ่ง ประกอบด้วยสอง คอลัมภ์ ทาง
ซ้ายมือมักเป็นกลุ่มคา โดยมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับทางขวามือ
• เหมาะสาหรับวัดพฤติกรรมขั้น ความรู้ความจา เกี่ยวกับข้อเท็จจริง
เรื่องราวที่เกี่ยวข้องกัน
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบจับคู่
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบจับคู่
ข้อเสนอแนะ
 เนื้อหาที่นามาสร้างควรเป็ นเอกพันธ์คือเป้ นเรื่องราวเดียวกันหมด
 คาถามกับคาตอบควรเกี่ยวข้องกัน
 คาถามกับคาตอบควรมีจานวนไม่เท่ากัน
 ใช้ข้อความที่สั้นกะทัดรัด
 ในแต่ละตอนควรมีคาถามอย่างน้อย 6 ข้อ และไม่เกิน 12 ข้อ
 คอลัมภ์คาถามและคาตอบควรอยู่ในหน้าเดียวกัน
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบจับคู่
ข้อดี
 เหมาะสาหรับเนื้อหาที่ต้องการสร้างความจา
 สร้างง่ายและใช้สะดวก
 สร้างความสนใจให้ผู้สอบ
 ใช้เนื้อที่ในการสร้างน้อย เป็ นการประหยัดกระดาษ
 ผู้ตอบมีโอกาสเดาได้น้อย
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบจับคู่
ข้อจากัด
 มักนาไปใช้ได้ในเนื้อหาที่มีขอบเขตจากัด
 มักจะวัดพฤติกรรมการเรียนรู้ขั้นความรู้ ความจาส่วนใหญ่
 เนื้อหาที่นามาถาม ถ้าสร้างไม่ดีจะทาให้เดาได้ง่าย
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบจับคู่
 เป็ นข้อสอบที่มีคาตอบตายตัว ผู้สอบต้องคาและนาคาตอบสั้นๆ
มาตอบ เช่น และ หรือ และคาศัพท์ต่างๆ เป็ นต้น
 เหมาะสาหรับการวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยขั้นความรู้ ความจา
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบเติมคา หรือเติมคาตอบสั้น
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบเติมคา หรือเติมคาตอบสั้น
ข้อเสนอแนะ
 ควรใช้คาถามที่มุ่งให้คาตอบที่ตอบด้วยวลี กลุ่มคา เป็ นคาตอบสั้นๆ
ตายตัว
 ลีกเลี่ยงการใช้กลุ่มคาจากตารา
 ข้อคาถามควรวัดเฉพาะเนื้อหาที่สาคัญและวัดเพียงประเด็นเดียว
 คาถามที่ถามต้องชัดเจน
 ควรเว้นช่องว่างให้ตอบอย่างเพียงพอ
 หลีกเลี่ยงคาถามที่ชี้แนะคาตอบ
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบเติมคา หรือเติมคาตอบสั้น
ข้อดี
 ลดการเดาได้
 สร้างง่ายและรวดเร็ว
 สามารถสร้างได้ครอบคลุมเนื้อหา
 เหมาะสาหรับวัดการแก้ปัญหาในวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบเติมคา หรือเติมคาตอบสั้น
ข้อจากัด
 วัดพฤติกรรมการเรียนรู้ในขอบเขตที่จากัด ไม่เหมาะสาหรับการวัด
พฤติกรรมการเรียนรู้ที่ซับซ้อน
 หากคาถามไม่ชัดเจนจะทาให้คาตอบเป็ นไปได้หลายทาง
 มีความเป็ นปรนัยในการตรวจให้คะแนนน้อยกว่าข้อสอบปรนัยแบบ
อื่นๆ
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบเติมคา หรือเติมคาตอบสั้น
 โดยมีการกาหนดให้มีส่วนสาคัญสองส่วนคือ ตัวคาถาม และส่วนที่
เป็ นคาตอบหรือตัวเลือก โดยคาตอบจะเพียงตาเลือกเดียว ส่วนที่
เหลือจะเป็ นตัวเลือกที่ผิด หรือตัวลวง ซึ่งมีมากกว่าหนึ่งคาตอบ
 สามารถวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยในระดับต่างๆ ตั้งแต่ง่ายจนถึงขั้น
ซับซ้อน
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ
 แบบคาถามเดี่ยว
 แบบให้เลือกคาตอบถูก
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ
 แบบให้ เลือกคาตอบผิด
ตัวอย่างเช่น ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ก. เมาส์ ข. หน้าจอ
ค.แป้ นพิมพ์ ( ง.) แผ่นรองเมาส์
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ
 แบบให้เลือกคาตอบที่ดีที่สุด
 ตัวอย่างเช่น ข้อใดคือสิ่งที่สาคัญที่สุดในการดารงชีวิตของมนุษย์
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ
ตัวอย่างการสร้างแบบทดสอบปรนัยแบบเลือกตอบ แบบให้เลือกคาตอบที่ดีที่สด
คาชี้แจง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สด
1. ข้อใดเป็นคณภาพที่สาคัญที่สดของเครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล
(ก.) ความตรง ข. ความเที่ยง
ค. ความยากง่าย ง. อานาจจาแนก
จ. ความเป็นปรนัย
 แบบให้เรียงลาดับคาตอบ
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ
 แบบให้เลือกคาตอบเปรียบเทียบ
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ
 แบบให้เลือกคาตอบรวม
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ
 2 แบบคาถามเป็ นชุดแต่ตัวเลือกคงที่
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ
 3 คาถามแบบบทความหรือสถานการณ์
การสร้างแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ
ข้อที่ คนตอบถูกในกลุ่มสูง คนตอบถูกในกลุ่มต่ำ ควำมยำกง่ำย อำนำจจำแยก
1 30 15 ...................
.
...................
..
2 10 2 ...................
.
...................
..
ข้อเสนอแนะในการสร้างข้อสอบแบบเลือกตอบ กรณีการเขียนข้อความ
 รูปแบบคาถามต้องเป็ นประโยคที่สมบูรณ์ มีใจความในตัวประโยค
 ใช้คาที่มีความหมายชัดเจน
 ไม่ควรใช้ประโยคปฏิเสธในตัวคาถาม หรือไม่ก็ควรเน้นให้ชัดเจน
 ใช้ภาษาที่เหมาะสมกับระดับผู้ตอบ
 ไม่ใช้คาถามที่แนะนาคาตอบ
 กรณีที่คาถามมีคาตอบที่ถูกหลายคาตอบ ให้ผู้ตอบเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด
 อย่าให้ข้อสอบข้อหนึ่งชี้แนะคาตอบในข้ออื่นๆ
 ไม่ลอกประโยคจากตารามาเขียนเป็ นข้อสอบแต่ควรเรียงใหม่
รูปแบบคาถามของข้อสอบแบบเลือกตอบ
คาถามแบบบทความหรือสถานการณ์
ข้อเสนอแนะในการสร้างข้อสอบแบบเลือกตอบ กรณีการเขียนตัวเลือก
 ควรมีคาตอบถูกเพียงคาตอบเดียว และผู้เชี่ยวชาญในวิชานั้นเห็นชอบเป็นเอกฉันท์
 ตัวเลือกทุกตัวต้องมีความเป็นไปได้ที่จะเป็นคาตอบถูกต้องสมเหตุสมผล
 ข้อความในตัวเลือกทุกตัว ควรมีอิสระจากกัน
 ตัวเลือกใช้คาซ้ากันควรนามาไว้ในคาถาม
 ใช้ตัวเลือกปลายเปิดให้เหมาะสม เช่น ถูกทุกข้อ เพราะจะทาให้ง่ายต่อการค้นหา
จริง
 ตาแหน่งของตัวถูกควรมีจานวนเท่าๆ กัน และไม่ควรจัดเรียงเป็นระบบ
 พยายามเขียนตัวเลือกให้ยาวพอๆกัน
รูปแบบคาถามของข้อสอบแบบเลือกตอบ
คาถามแบบบทความหรือสถานการณ์
ข้อดีของข้อสอบแบบเลือกตอบ
 วัดความสามารถ หรือพฤติกรรมของผู้เรียนได้อย่างกว้างขวาง
 สามารถวัดได้ ครอบคลุมเนื้อหาที่ต้องการวัด
 แบบทดสอบจะมีความตรงเชิงเนื้อหาได้ดี
 มีความเป็นปรนัยในการตรวจให้คะแนน
 ใช้เวลาในการตรวจข้อสอบน้อย
 เหมาะสาหรับการสอบที่มีผู้สอบจานวนมาก
 คะแนนที่ได้ในการสอบจะมีความเที่ยงตรง
รูปแบบคาถามของข้อสอบแบบเลือกตอบ
คาถามแบบบทความหรือสถานการณ์
ข้อจากัดของข้อสอบแบบเลือกตอบ
 เปิ ดโอกาสให้ผู้สอบเดาคาตอบได้
 ข้อสอบออกยากและเสียเวลาในการออกข้อสอบมาก
 ผู้ออกข้อสอบควรมีความรู้ความสามารถในการออกข้อสอบ
 ผู้ออกข้อสอบต้องมีความรู้ในเนื้อหานั้นๆ
 ไม่เหมาะสาหรับการวัดความคิดสร้างสรรค์ หรือการวักการปฏิบัติต่างๆ
 สิ้นเปลืองงบประมาณมากกว่าข้อสอบชนิดอื่นๆ
รูปแบบคาถามของข้อสอบแบบเลือกตอบ
คาถามแบบบทความหรือสถานการณ์
เป็ นข้อสอบที่ให้ผู้ตอบได้แสดงความคิดเห็น จึงเหมาะสาหรับ
วัดความรู้ขั้นสูงกว่าความจา และความเข้าใจ
ข้อสอบแบบเขียนตอบ แบ่งได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ
แบบไม่จากัดคาตอบ
แบบจากัดคาตอบ
การสร้างแบบทดสอบอัตนัย
ตัวอย่างการสร้างแบบทดสอบอัตนัย
คาชี้แจง จงตอบคำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. จงสรุปประเด็นสำคัญของเป้ ำหมำยกำรจัดกำรเรียนรู้
2. จงวิเครำะห์ข้อดีของข้อสอบปรนัย
3. จงแสดงควำมคิดเห็นที่มีต่อแบบทดสอบที่ดี ว่ำท่ำนมีเห็นด้วยหรือไม่
หรือไม่ อย่ำงไร
การสร้างแบบทดสอบอัตนัย
เป็ นข้อสอบที่เปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนมีอิสระในการตอบ
เหมาะสาหรับใช้วัดความรู้ความสามารถทางสมองชั้นสูง วัด
ความสามารถของผู้เรียนทั้งในแง่ของความรู้ ความสามารถในการ
ประเมินความรู้ ความสัมพันธ์ด้านต่างๆ และความสามารถในการ
ถ่ายทอดแนวคิดเชิงเหตุผล
การสร้างแบบทดสอบอัตนัย แบบไม่จากัดคาตอบ
เป็ นข้อสอบที่มีการกาจัดเนื้อหาและความยาวของคาตอบ
คาตอบจึงสั้นและแคบกว่าข้อสอบอัตนัยแบบไม่จากัดคาตอบ
เหมาะสาหรับใช้วัดความรู้ความสามารถในการอธิบายถึง
ความสัมพันธ์ในเชิงเหตุและผล
การสร้างแบบทดสอบอัตนัย แบบจากัดคาตอบ
เป็ นข้อสอบที่มีการกาจัดเนื้อหาและความยาวของคาตอบ
คาตอบจึงสั้นและแคบกว่าข้อสอบอัตนัยแบบไม่จากัดคาตอบ
เหมาะสาหรับใช้วัดความรู้ความสามารถในการอธิบายถึง
ความสัมพันธ์ในเชิงเหตุและผล
การสร้างแบบทดสอบอัตนัย แบบจากัดคาตอบ
ข้อเสนอแนะในการสร้างข้อสอบอัตนัย
 ไม่ใช้คาถามกว้างเกินไปและไม่เกี่ยวกับการเรียนรู้
 คาถามสามารถล้วงพฤติกรรมที่ต้องการวัดในตัวผู้เรียนได้ ชัดเจนว่าต้องการให้
อะไร
 จากัดของเขตของการตอบในตัวคาถามให้ชัดเจน
 ใช้คาที่มองเห็นแนวทางในการตอบที่ชัดเจน
 ไม่ควรใช้คาถามที่เริ่มด้วย ใคร อะไร ที่ไหน เป็นต้น
 ออกข้อสอบให้คาตอบสั้น จานวนข้อมาก
 กาหนดคะแนนและเวลาให้เหมาะสมในการตอบคาถามของแต่ละข้อ
 ไม่ควรให้ผู้เรียนเลือกทาข้อสอบเพียงบางข้อ จะทาให้ข้อสรุปแต่ละข้อมีความ
เท่ากัน
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยแบบจากัดคาตอบ
ข้อเสนอแนะในการสร้างข้อสอบอัตนัย (ต่อ)
เตรียมเฉลยและเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินไว้ล่วงหน้า
กาหนดความซับซ้อนของคาถามหรือแนวการตอบให้เหมาะสมกับ
ระดับความรู้ของผู้เรียน
การสร้างแบบทดสอบอัตนัย
แบบจากัดคาตอบ
ข้อเสนอแนะในการตรวจข้อสอบอัตนัย
 กาหนดของเขตของคาตอบไว้ล่วงหน้า
 อ่านคาตอบของนักเรียนเพื่อกาหนดเกณฑ์การให้คะแนนที่
 ปิดชื่อนักเรียน เพื่อไม่ให้เกิดอัคติต่อการให้คะแนน
 ตรวจข้อสอบทีละข้อ และให้เสร็จในคราวเดียว
 ใช้วิธีการตรวจให้คะแนนที่เหมาะสมที่สุด คือตรวจแบบวิเคราะห์
แบบสรุปรวม
การสร้างแบบทดสอบอัตนัย แบบจากัดคาตอบ
ข้อดีของข้อสอบอัตนัย
 ใช้วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยขั้นสูงได้ดี
 เหมาะสาหรับใช้วัดความสามรถในการคิดกระบวนการต่างๆ ได้ดี
 เหมาะสาหรับวัดผลการเรียนรู้
 ให้สิทธิเสรีภาพแก่ผู้เรียนในการตอบ
 ใช้เวลาในการตรวจข้อสอบน้อย
 ลดการคาดเดาข้อสอบของผู้ทาแบบทดสอบได้
การสร้างแบบทดสอบอัตนัย แบบจากัดคาตอบ
ข้อจากัดของข้อสอบอัตนัย
 ความตรงของแบบทดสอบต่ากว่าข้อสอบชนิดอื่น
 ขาดความเที่ยงตรงในการตรวจให้คะแนน
 เสียเวลาในการตรวจให้คะแนน
การสร้างแบบทดสอบอัตนัย แบบจากัดคาตอบ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีลาดับขั้นตอนของการสร้าง ดังนี้
 การกาหนดจุดมุ่งหมายในการทดสอบ
 กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
 กาหนดเนื้อหาหรือสาระการเรียนรู้ที่ต้องการวัด
 ทาตารางวิเคราะห์หลักสูตรหรือตารางวิเคราะห์เนื้อหา
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ทาตารางวิเคราะห์หลักสูตรหรือตารางวิเคราะห์เนื้อหา
 การกาหนดรูปแบบของข้อคาถาม
 เขียนข้อสอบ
 ตรวจสอบคุณภาพของข้อสอบและปรับปรุงแก้ไข
 จัดพิมพ์เป็ นฉบับสมบูรณ์และจัดทาคู่มือการนาไปใช้
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
จัดทาโดย
นางสาวอลิศา รักญาติ
รหัสนักศึกษา 5581135054 คณะครุศาสตร์ สาขา
คอมพิวเตอร์
จบการนาเสนอ

Contenu connexe

Tendances

ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนssuser66968f
 
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟตปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟตkanokwun131
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพสื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพBeerza Kub
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้Chainarong Maharak
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1มาณวิกา นาคนอก
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างsomdetpittayakom school
 

Tendances (20)

ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
 
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟตปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพสื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 

Similaire à การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา รักญาติ น้องเอื้อย

บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8josodaza
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้aumkpru45
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลUltraman Taro
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8honeylamon
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบNona Khet
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้ืnattakamon thongprung
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงคุณครูพี่อั๋น
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2ben_za
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้onnichabee
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้tuphung
 

Similaire à การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา รักญาติ น้องเอื้อย (20)

1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
แนวคิด
แนวคิดแนวคิด
แนวคิด
 
นาว1
นาว1นาว1
นาว1
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
ppt
pptppt
ppt
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 

การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา รักญาติ น้องเอื้อย