SlideShare a Scribd company logo
1 of 87
Download to read offline
NETWORK ARCHITECTURE &
STRUCTURE
By Nawaporn Wisitpongphan
OUTLINE
 Intro to the Telecommunication Systems
 ระบบเครือข่ายแบบต่างๆ
 Local Area Network (LAN)
 Metropolitan Area Network (MAN)
 Wide Area Network (WAN)
 Wireless LAN (WLAN)
 Peer-To-Peer Network (Ad Hoc)
 การเชื่อมต่อของเครือข่ายแบบต่างๆ
 Protocol Stack
 OSI Model
 5-Layer Model
WHAT IS TELECOMMUNICATION?
 ระบบใดๆ ก็ตามที่ข้อมูลหรือข่าวสารสามารถถูกส่งผ่านสื่อประเภทต่างๆ ได้ เช่น
ผ่านสายโทรศัพท์ สายเคเบิล ผ่านทางอากาศ คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ
 Voice Communication
 การกระจายเสียงทางวิทยุ AM/FM
 WALKY TALKY
 โทรศัพท์บ้าน โทรศัพท์มือถือ
Notice any
differences?
Transmission Direction
Simplex
Half-Duplex
Full-Duplex
Data Communications & Network Technology 4
การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียวการส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว (S(SIMPLEXIMPLEX))
 เป็นการสื่อสารข้อมูลที่ผู้ส่งข้อมูลทาหน้าที่ส่งข้อมูลแต่เพียงอย่างเดียว
 ผู้รับข้อมูลก็ทาหน้าที่รับข้อมูลแต่เพียงอย่างเดียว
 ตัวอย่างเช่น
 การส่งสัญญาณของสถานีโทรทัศน์ หรือสถานีวิทยุ
Data Communications & Network Technology 5
การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกันการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน (H(HALFALF--
DDUPLEXUPLEX TRANSMISSIONTRANSMISSION))
 เป็นการสื่อสารข้อมูลโดยที่แต่ละฝ่ายสามารถเป็นได้ทั้งผู้รับและผู้ส่ง
 แต่ต้องสลับกันทาหน้าที่เป็นผู้ส่งข้อมูล ไม่สามารถเป็นผู้ส่งพร้อมๆ กันได้
 ตัวอย่างเช่น
 การสื่อสารโดยใช้วิทยุสื่อสาร (Walky-Talky)
Data Communications & Network Technology 6
การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกันการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน (F(FULLULL--
DDUPLEXUPLEX TRANSMISSIONTRANSMISSION))
 เป็นการสื่อสารข้อมูลโดยที่แต่ละฝ่ายสามารถเป็นได้ทั้งผู้รับและผู้ส่งในเวลาเดียวกัน
 สามารถส่งข้อมูลได้พร้อมๆ กันแบบสองทิศทาง
 ตัวอย่างเช่น
 การสื่อสารโดยใช้โทรศัพท์
WHAT IS TELECOMMUNICATION?
 ระบบใดๆ ก็ตามที่ข้อมูลหรือข่าวสารสามารถถูกส่งผ่านสื่อประเภทต่างๆ ได้ เช่น ผ่าน
สายโทรศัพท์ สายเคเบิล ผ่านทางอากาศ คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ
 Voice Communication
 การกระจายเสียงทางวิทยุ AM/FM
 WALKY TALKY
 โทรศัพท์บ้าน โทรศัพท์มือถือ
 Data Communication
 PAGER
 FAX
 E-MAIL
 Multimedia Communication (Voice/Data)
 Teleconference, etc.
Transmission Direction
Simplex
Half-Duplex
Full-Duplex
Transmission Media/Network
Wireless/Cellular Network
Twisted-Pair /Telephone Network
Both/ Computer Network
PROBLEM ????
 Which one sit on a higher frequency spectrum? อัน
ไหนใช้คลื่นความถี่สูงกว่า
 AM
 FM
 WiFi
 Which one has a greater range? อันไหนส่งได้ไกลกว่า
9
องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลองค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล
 ผู้ส่งข้อมูล (Sender) หรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล ทาหน้าที่ส่งข้อมูลไปยังจุดหมายที่
ต้องการ
 ผู้รับข้อมูล (Receiver) หรืออุปกรณ์รับข้อมูล ทาหน้าที่รับข้อมูลที่ถูกส่งมาให้
 ข้อมูล (Data) คือข้อมูลที่ถูกส่ง เช่น เสียง ข้อความ ภาพ และอื่นๆ
 สื่อนาข้อมูล (Media) ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการถ่ายโอนข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยัง
อีกจุดหนึ่ง
 โปรโตคอล (Protocol) คือกฎหรือระเบียบวิธีที่ถูกกาหนดขึ้นเพื่อการสื่อสาร
ข้อมูล ให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจตรงกัน
10
องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลองค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล
Sender Receiver
Media
Data
Protocol
NETWORK CLASSIFICATION:
BY TRANSMISSION TECHNIQUES
 Broadcast Networks
 Single Communication
Channel
 One Sender, Multiple
Receivers
 Exercise:
 Start->Run->cmd
 ping x.x.255.255 or x.x.x.255
 On Linux “ping –b”
 Point-to-Point Networks
 One Sender, One Receiver
 Sometimes call “Unicast”
 Exercise:
 ping [IP Address]
 ping www.google.com
 Multicast Networks
 One to Many (but not All)
PING EXAMPLE
NETWORK CLASSIFICATION:
BY NETWORK SIZE
14
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบ่งเป็น 3 ประเภทหลัก คือ
 เครือข่ายท้องถิ่น : LAN (Local Area Network)
 เครือข่ายระดับเมือง : MAN (Metropolitan Area Network)
 เครือข่ายระดับประเทศ : WAN (Wide Area Network)
15
LOCAL AREA NETWORKS : LAN
เครือข่ายระดับท้องถิ่น
เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ในระยะใกล้ เช่น ภายในห้องเดียวกัน
ชั้นเดียวกัน หรืออาคารเดียวกัน
ความเร็วในการแลกเปลี่ยนข้อมูลสูง
 Wired or Wireless
มักใช้ในองค์กร สานักงาน
16
LOCAL AREA NETWORKS : LAN
 Two broadcast networks
 (a) Bus
 (b) Ring
17
LOCAL AREA NETWORKS : LAN
18
METROPOLITAN AREA NETWORKS : MAN
เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่
อาจเป็นการนาเอาระบบ LAN มาเชื่อมต่อกันในระยะกลาง
สามารถครอบคลุมพื้นที่ในตาบล อาเภอ หรือจังหวัดเดียวกัน
19
METROPOLITAN AREA NETWORKS : MAN
20
เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่มาก
อาจเป็นการนาเอาระบบ LAN หรือ MAN มาเชื่อมต่อกันในระยะไกล
สามารถครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ หรือทั่วโลก
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
 Private Network เช่น เครือข่ายของบริษัท IBM
 Public Network เช่น เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
WIDE AREA NETWORKS : WAN
21
WIDE AREA NETWORKS : WAN
22
WIDE AREA NETWORKS : WAN
 Relation between hosts on LANs and the subnet.
23
 A stream of packets from sender to receiver.
WIDE AREA NETWORKS : WAN
PEER-TO-PEER NETWORKS (P2P)
 What is the size of P2P Networks?
(a) LAN
(b) MAN
(c) WAN
(d) WLAN
HOMEWORK !!!!
WHAT IS AN ETHERNET?
1. ให้นักเรียนอธิบายว่า Shared Ethernet คืออะไร และจัดเป็น
Network ขนาดไหน (LAN, MAN, หรือ WAN) (ให้วาดภาพ
Shared Ethernet ที่ประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ 12 ตัว)
2. ถ้าจะต่อ Shared Ethernet ตามข้อ 1 นั้น จะต้องใช้อุปกรณ์อะไรบ้าง
3. ให้นักเรียนอธิบายว่า Switched Ethernet คืออะไร (ให้วาดภาพ
Switched Ethernet ที่ประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ 12 ตัว)
4. ถ้าจะต่อ Switched Ethernet ตามข้อ 3 นั้น จะต้องใช้อุปกรณ์
อะไรบ้าง
5. ให้นักเรียนเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของ Shared Ethernet และ
Switched Ethernet ในรูปที่วาดในข้อ 1 และข้อ 3
** ส่งต้นชั่วโมงหน้า เขียนด้วยลายมือบรรจง และห้ามลอกเด็ดขาด
26
INTRANET VS. INTERNET
Intranet เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในองค์กร
โดยใช้ระบบ LAN
Internet เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ให้เป็นเครือข่ายขนาด
ใหญ่
Intranet และ Internet ต่างกันที่ขอบเขตการเชื่อมโยง
แต่มาตรฐานและวิธีการเชื่อมโยงเหมือนกัน
NETWORK MODELS
 OSI (Open Systems Interconnect)
 ตั้งขึ้นโดย International Standards Organization
(ISO) ในปี 1984
 มีทั้งหมด 7 layers
 Internet Model
 กาหนดขึ้นโดย Defense Advanced Research
Projects Agency (DARPA) ในช่วงปี 1970s
 มีทั้งหมด 5 layers
ARPANET (1969)
: THE GRANDFATHER OF THE INTERNET
“Advanced Research Projects Agency created ARPAnet to protect
the flow of information between military installations.”
“A network of geographically separated computers that could
Exchange information via NCP (Network Control Protocol)”
The message was sent from the UCLA SDS Sigma 7 Host
computer to the SRI SDS 940 Host computer.”
The word "login." was sent..
The "l" and the "o" transmitted without problem but then the system crashed.
Hence, the first message on the ARPANET was "lo".
“They were able to do the full login about an hour later.”
OSI 7- LAYER MODEL I
 Physical Layer
 The physical devices
 Media
 Representation of Data (Bits)
 Data Link Layer
 Message Framing
 Error Control
 Media Access Control
 Flow Control
 Network Layer
 Addressing and Routing decision
 Transport Layer
 End-to-End flow and congestion control
7 Application
6 Presentation
5 Session
4. Transport
3. Network
2 Data Link
1. Physical
OSI 7-LAYER MODEL II
 Session Layer
 Initiate, maintain, and
terminate logical session
between sender/receiver
 Presentation Layer
 Format data from user for
transmission
 Format data received for user
 Provide data interfaces,
compression, translation
between different data
formats
 Application Layer
 Application Programming
Interface (API)
7 Application
6 Presentation
5 Session
4. Transport
3. Network
2 Data Link
1. Physical
INTERNET 5-LAYER MODEL
 Physical Layer
 Data Link Layer
 Network Layer
 Transport Layer
 Application Layer
 All functions between transport layer
and the application program
Same as in OSI Model
5 Application
4. Transport
3. Network
2 Data Link
1. Physical
LAYER MODEL COMPARISON
OSI Internet Layer Grouping
7. Application
5. Application
Application
Layer
6. Presentation
5. Session
4. Transport 4. Transport Internetwork
Layer3. Network 3. Network
2. Data Link 2. Data Link
Hardware layer
1. Physical 1. Physical
PHYSICAL LAYER : TRANSMISSION MEDIA
34
TRANSMISSION MEDIA
Transmission Media
Guided
(wired)
Guided
(wireless)
•Twisted Pair Cable
•
•
•Twisted Pair Cable
•Coaxial Cable
•Fiber Optic Cable
AIR
35
Un
36
GUIDED/WIRED MEDIA
สายเคเบิ้ล ถือเป็นสื่อพื้นฐานในการส่งข้อมูล
ราคา ขึ้นอยู่กับคุณภาพและกาลังส่งข้อมูล
ชนิดของสายเคเบิ้ล
 Twisted Pair Cable : สายคู่ตีเกลียว
 Coaxial Cable : สายโคแอกเชียล
 Optical Fiber Cable : สายใยแก้วนาแสง
37
GUIDED/WIRE MEDIA
38
TWISTED PAIR CABLE
 ประกอบด้วยสายทองแดง 2 เส้น หรือมากกว่า ถูกนามาพันกันเป็นเกลียว
เพื่อลดการรบกวนจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (Crosstalk) จากคู่สาย
ข้างเคียงภายในสายเคเบิ้ลเดียวกัน หรือจากภายนอก
 ส่งข้อมูลได้ทั้ง Analog และ Digital
 สาย 1 คู่ = 1 Channel
 ราคาถูก น้าหนักเบา ติดตั้งง่าย
 Bandwidth ขึ้นอยู่กับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของสาย
39
TWISTED PAIR CABLE
ประเภทของสายคู่ตีเกลียว
 Telephone Line
 STP (Shielded Twisted Pair)
 UTP (Unshielded Twisted Pair)
40
TELEPHONE LINE
ประกอบด้วยลวดทองแดง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
0.6 หรือ 0.8 มม. หุ้มด้วยฉนวน พันเป็นเกลียว
41
TELEPHONE LINE
การสื่อสารข้อมูลผ่านระบบโทรศัพท์
 แบบเช่าสาย (Leased Line)
 แบบหมุนหมายเลข (Dial Access)
42
TELEPHONE LINE
 แบบเช่าสาย (Leased Line)
 เป็นการเชื่อมต่อโดยตรงระหว่างผู้รับและผู้ส่ง โดยผ่านสายโทรศัพท์ที่
เช่าจากองค์การฯ
 สามารถรับ-ส่งข้อมูลได้ตลอดเวลาที่ต้องการ
 การับ-ส่งข้อมูลทาได้รวดเร็ว
 ค่าใช้จ่ายสูง
 แบบหมุนหมายเลข (Dial Access)
 ต้องหมุนหมายเลขทุกครั้งที่ต้องการส่งข้อมูล เหมือนการใช้โทรศัพท์
ธรรมดา
 สัญญาณรบกวนมาก
 เกิด Error ได้ง่าย
 ค่าใช้จ่ายต่ากว่า
43
TELEPHONE LINE
 บริการรับ-ส่งข้อมูลผ่านระบบโทรศัพท์
 Voice-grade Service
 ISDN (Integrated Services Digital Network)
 ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line) /
Cable Modem
44
TELEPHONE LINE
 Voice-grade Service
 เป็นการรับ-ส่งข้อมูลแบบ Analog ผ่านสายโทรศัพท์ (โดยใช้ Modem)
 Bandwidth : 56 Kbps.
 ISDN (Integrated Services Digital Network)
 บริการสื่อสารระบบดิจิตอลความเร็วสูงที่มีความเร็วตั้งแต่ 64 Kbps ถึง 128
Kbps (โดยใช้สายโทรศพท์ธรรมดา)
 ถ้าใช้สาย fiber optic จะสามารถบริการได้ถึง 2.048 Mbps
 ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line)
 สามารถใช้โทรศัพท์ (Voice) พร้อมกับการรับ-ส่งข้อมูล โดยใช้สายเส้น
เดียวกัน
 ความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลสูงกว่า Modem แบบ Analog ประมาณ 140
เท่า
 Always-on Access
SHIELDED VS. UNSHIELDED
45
46
STP (SHIELDED TWISTED PAIR) CABLE
 เป็นสายทองแดงพันกันตามมาตรฐาน Category 5
 มีฉนวนหุ้มที่เป็นโลหะ เพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน
 มีความเร็วในการส่งข้อมูล 10-100 Mbps.
 สามารถส่งข้อมูลที่ยอมรับได้ ในระยะทาง 100-300 เมตร
 มีคุณภาพดีกว่าสายแบบ UTP แต่ราคาแพงกว่า
 ใช้ในวงจากัด
47
UTP (UNSHIELDED TWISTED PAIR) CABLE
 เป็นสายทองแดงพันกันตามมาตรฐาน Category 5
 มีฉนวนเป็นเทฟล่อนหุ้มสายทองแดง
 มีความเร็วในการส่งข้อมูล 10-100 Mbps.
 สามารถส่งข้อมูลที่ยอมรับได้ ในระยะทาง 100 เมตร
 คุณภาพด้อยกว่าสายแบบ STP แต่ราคาถูกกว่า
 ใช้งานอย่างกว้างขวาง
48
49
COAXIAL CABLE
50
COAXIAL CABLE
 คุณภาพดีกว่า แต่ราคาแพงกว่าสายคู่ตีเกลียว
 ใช้ในการเชื่อมต่อแบบ Multidrop
 โค้งงอได้ง่าย
 รับ-ส่งข้อมูลได้ทั้งแบบ Baseband และ Broadband
51
COAXIAL CABLE
 Baseband Transmission (50 Ohm cable)
 ใช้ในการส่งสัญญาณแบบดิจิตอล
 การห่อหุ้มสายดีกว่าทาให้สัญญาณรบกวนน้อยกว่าสายคู่ตีเกลียว
 Bandwidth ขึ้นอยู่กับระยะส่งของสาย เช่น
 1-2 Gbps สาหรับสายส่ง 1 km. ส่งข้อมูลได้ในระยะทาง 2 km.
 ปัจจุบันถูกแทนที่ด้วย fiber optic แต่ก็ยังมีการนามาใช้ในการส่งข้อมูลใน LAN
 Broadband Transmission (75 Ohm cable)
 ใช้ในการส่งสัญญาณแบบแอนาล็อก
 ส่งข้อมูลได้ในระยะทางไกลกว่า Baseband ถึง 6 เท่า โดยไม่ต้องใช้เครื่องทวนหรือ
ขยายสัญญาณ (Repeater)
 ใช้ในการส่งสัญญาณ Cable TV
52
COAXIAL CABLE: 50 OHM
 Thicknet Coaxial
 10Base5
 มีขนาดใหญ่ หนา
 ความยืดหยุ่นต่า ติดตั้งยาก
 ทนทานต่อสัญญาณรบกวนภายนอกได้ดีกว่าแบบ Thinnet
 ราคาสูง
 นิยมติดตั้งภายนอกอาคาร
 ส่งข้อมูลได้ในระยะถึง 500 เมตร โดยไม่ต้องใช้เครื่องทวนหรือขยายสัญญาณ
 Thinnet Coaxial
 10Base2
 มีความอ่อนตัว โค้งงอได้ ง่ายต่อการติดตั้ง
 สามารถเชื่อมต่อกับ LAN Card ได้โดยตรง โดยใช้ T-
Connector
 ราคาถูก
 ส่งข้อมูลได้ในระยะถึง 185 เมตร โดยไม่ต้องใช้เครื่องทวนหรือขยายสัญญาณ
53
อุปกรณ์สาหรับเข้าหัวสายโคแอกเชียล
 BNC BAREL Connector : ใช้กรณีเชื่อมต่อสายให้ยาวขึ้น
54
อุปกรณ์สาหรับเข้าหัวสายโคแอกเชียล
 BNC Terminator : ใช้สาหรับปิดหัวและท้ายสาย
55
อุปกรณ์สาหรับเข้าหัวสายโคแอกเชียล
 BNC T-Connector : ใช้เชื่อมต่อระหว่างสายกับการ์ดแลน
56
57
OPTICAL FIBRE CABLE
57
58
OPTICAL FIBRE CABLE
 มีลักษณะเป็นท่อแก้วหรือซิลิกาหลอมละลาย(Fused Silica) ซึ่ง
ถูกหุ้มด้วยแก้วที่มีคุณสมบัติในการหักเหต่า
แกนนำแสง
ปลอกหุ้ม
แก้วหุ้ม
58
59
OPTICAL FIBRE CABLE
 หลักการทั่วไปของการรับ-ส่งข้อมูลผ่านสายใยแก้วนาแสง คือ การเปลี่ยน
สัญญาณข้อมูลจากไฟฟ้าให้เป็นคลื่นแสง
 พัลส์ของแสงที่ถูกส่งไปจะสะท้อนกลับไป-มาที่ผิวของสาย
(Cladding) จนถึงปลายทาง
 ลาแสงผ่านได้ครั้งละหลายๆ ลาแสง ด้วยมุมที่ต่างกัน
59
60
OPTICAL FIBRE CABLE
 Bandwidth 3 GHz.
 อัตราเร็วในการส่งข้อมูล 1 Gbps.
 ระยะทางในการรับ-ส่งข้อมูล 100 กม. โดยไม่ต้องมีเครื่องทวน/ขยายสัญญาณ
 มีจานวน Channel ได้ 20,000 – 60,000 Ch.
 ความผิดพลาดในการส่งข้อมูลน้อยมาก คือประมาณ 1 ใน 10 ล้านบิต ต่อการ
ส่ง 1000 ครั้ง
 ป้องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอกได้โดยสิ้นเชิง
60
61
OPTICAL FIBRE CABLE
 องค์ประกอบสาคัญของการรับ-ส่งข้อมูลผ่านสายใยแก้วนาแสง คือ
 อุปกรณ์กาเนิดแสง : Diode
 สายใยแก้วนาแสง
 อุปกรณ์ตรวจจับแสง : Photodiode
61
62
อุปกรณ์กาเนิดแสง : DIODE
 สัญญาณข้อมูล (Analogue/Digital) ผ่าน Modulator
Modulated Signal
 Modulated Signal ผ่านไดโอด สัญญาณแสง
 สัญญาณแสงถูกส่งผ่านสายใยแก้วนาแสง
Modulator010101111110111111 Diode
62
63
อุปกรณ์กาเนิดแสง : DIODE
 ไดโอด มี 2 ชนิด คือ
 LED (Light Emitting Diode)
 ILD (Injection Laser Diode)
63
64
อุปกรณ์กาเนิดแสง : DIODE
คุณสมบัติคุณสมบัติ LEDLED ILDILD
อัตราส่งข้อมูล ต่า สูง
ระยะทาง สั้น ยาว
อายุการใช้งาน นาน สั้น
ความไวต่ออุณหภูมิ น้อย มากพอสมควร
อันตรายต่อคน น้อย อันตรายต่อสายตา
ราคา ไม่แพง แพง
โหมด มัลติโหมด มัลติโหมด/ซิงเกิลโหมด64
65
อุปกรณ์ตรวจจับแสง : PHOTODIODE
 สัญญาณแสงผ่าน PhotoDiode Modulated Signal
 Modulated Signal ผ่าน Demodulator สัญญาณข้อมูล
010101111110111111DeModulatorPhotoDiode
65
66
OPTICAL FIBRE CABLE
 ชนิดของสายใยแก้วนาแสง
 Multimode
 Step Index (แบบขั้นบันได)
 Graded Index (แบบต่อเนื่อง)
 Single Mode
66
67
OPTICAL FIBRE CABLE
67
68
MULTIMODE FIBER
 Multimode OFC มักใช้กับการรับ-ส่งข้อมูล ในระยะทางสั้นๆ
 Multimode - Step Index
 ใช้ LED เป็นตัวกาเนิดแสง
 ราคาถูกที่สุด
 เหมาะสมกับงานที่มีปริมาณข้อมูลน้อย
 Multimode - Graded Index
 ใช้ LED เป็นตัวกาเนิดแสง
 ราคาแพงกว่าแบบ Step Index
 การเคลื่อนที่ของลาแสงไปได้เร็วกว่าแบบ Step Index
68
69
SINGLE MODE FIBER
 Single Mode OFC มักใช้กับการรับ-ส่งข้อมูล ในระยะ
ทางไกลๆ
 ใช้ Laser Diode เป็นตัวกาเนิดแสง
 ทางเดินของแสงเป็นเส้นตรง
 เส้นผ่านศูนย์กลางเล็กมาก
 ราคาแพงที่สุด
 เหมาะสมกับงานที่มีปริมาณข้อมูลมาก
69
70
ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติของสายเคเบิ้ลแบบ
ต่างๆ
UTP / STPUTP / STP CoaxialCoaxial Optical FibreOptical Fibre
ค่าใช้จ่ายค่าใช้จ่าย Low Medium High
ระยะทางระยะทาง Short 500 m. 2 Km.
การติดตั้งการติดตั้ง ง่าย ไม่ยากนัก ยาก
เหมาะสมกับเหมาะสมกับ ข้อมูล เสียง/ภาพ/ข้อมูล Multimedia
การรบกวนของคลืนการรบกวนของคลืน รบกวน รบกวน เกือบเป็น 0
การดักจับสัญญาณการดักจับสัญญาณ ท่าได้ ท่าได้ ท่าไม่ได้
ความเร็วความเร็ว ปานกลาง ปานกลาง สูงมาก 70
71
UNGUIDED/WIRELESS MEDIA
 ชนิดของตัวกลางไร้สาย
 Microwave
 Radio Link
 Infrared
 Satellite
71
72
ตารางเปรียบเทียบความถี่วิทยุ
ความถี่ความถี่ ย่านความถี่ย่านความถี่ ตัวอย่างการใช้งานตัวอย่างการใช้งาน
VLF Very Low Freq. 3 – 30 KHz. การสือสารใต้น้่า
LF Low Freq. 30 – 300 KHz. สัญญาณน่าร่องในการ
เดินเรือ
MF Medium Freq. 300 KHz. – 3 MHz. วิทยุ AM
HF High Freq. 3 – 30 MHz. วิทยุสือสาร
VHF Very High Freq. 30 – 300 MHz. TV(5,7,9,11), วิทยุ FM,
วิทยุการบิน
UHF Ultra High Freq. 300 MHz. – 3 GHz. TV(3,itv), Mobile Tel.
SHF Super High Freq. 3 – 30 GHz. สัญญาณไมโครเวฟ
ภาคพื้นดิน, เรดาร์
EHF Extremely High
Freq.
30 – 300 GHz. สัญญาณไมโครเวฟผ่าน
ดาวเทียม, เรดาร์
72
73
MICROWAVE
สถานีรับสถานีรับ--ส่งสัญญาณส่งสัญญาณ
สถานีส่งสถานีส่ง สถานีรับสถานีรับ
30 ไมล์ 30 ไมล์
 การรับ-ส่งข้อมูลผ่านคลื่นไมโครเวฟ เป็นการรับ-ส่งแบบเป็นทอดๆ จาก
สถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่ง
73
74
MICROWAVE
 มักใช้ในกรณีที่การติดตั้งสายเคเบิ้ลไม่สะดวก เช่น ในป่า หรือ
ในเมืองใหญ่
 ความถี่ที่ใช้ในระบบไมโครเวฟ คือ 2-10 Ghz.
 ข้อเสียของระบบไมโครเวฟ คือ สัญญาณอาจถูกรบกวนจาก
สภาพภูมิอากาศ (อุณหภูมิ ลม ฝน)
74
75
RADIO LINK : ระบบสื่อสารวิทยุ
 เป็นระบบที่ส่งข้อมูลไปในอากาศ โดยผ่านสายอากาศของเครื่องส่ง ไปยังสายอากาศของ
เครื่องรับ
 ประสิทธิภาพของการรับ-ส่งข้อมูล ขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นๆ เช่น กาลังของเครื่องส่ง สภาพ
ภูมิอากาศ สภาพภูมิประเทศ และความถี่ที่ใช้ในการส่ง
75
76
 ประเภทของคลื่นวิทยุ
 คลื่นดิน (Ground Wave)
 คลื่นฟ้า (Sky Wave)
RADIO LINK : ระบบสื่อสารวิทยุ
76
77
RADIO LINK : ระบบสื่อสารวิทยุ
77
78
 ข้อดี
 ไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรับตัวกลาง
 สามารถรับ-ส่งข้อมูลขณะเคลื่อนที่ได้
 ข้อเสีย
 สัญญาณถูกลดทอนจากสภาพอากาศได้ง่าย
 คลื่นวิทยุที่ใช้กับ LAN มักใช้ย่านความถี่ต่า จึงส่งสัญญาณ
ไม่ดีเท่าที่ควร
RADIO LINK : ระบบสื่อสารวิทยุ
78
79
BLUETOOTH
 ใช้ความถี่สูง คือ 2.4 GHz.
 ใช้เชื่อมต่ออุปกรณ์ในระยะใกล้ๆ
 สามารถทางานในพื้นที่ที่มีสัญญาณรบกวนมากๆ ได้
 ลดความยุ่งยากในการต่อสายเคเบิ้ล
79
80
INFRARED
 ข้อดี
 ราคาถูก
 ใช้งานง่าย
 ปลอดภัยจากการดักจับสัญญาณ
 ข้อเสีย
 ระยะทางในการรับ-ส่งข้อมูลไม่ไกล
 ไม่สามารถผ่านสิ่งกีดขวางได้
80
81
SATELLITE : ระบบดาวเทียมสื่อสาร
สถานีส่ง สถานีรับ
2233,,300300 ไมล์ไมล์
ดาวเทียมก็คือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้าดาวเทียมก็คือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้า
Uplink Downlink
81
82
สถานีดาวเทียมค้างฟ้า (GEOSTATIONARY SATELLITE )
 เป็นดาวเทียมที่อยู่กับที่เมื่อเทียบกับโลกมีวงโคจรอยู่ในระนาบเดียวกันกับเส้นศูนย์
สูตร อยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 35,786 กม. วงโคจรพิเศษนี้เรียกว่า “ วงโคจรค้างฟ้า ” หรือ “
วงโคจรคลาร์ก ”
 รับ-ส่งสัญญาณข้อมูลกับสถานีดาวเทียมบนพื้นดิน
 มีอุปกรณ์ทบทวนสัญญาณที่เรียกว่า Transponder ทาหน้าที่ขยายและทวนสัญญาณ
ข้อมูล
 สถานีดาวเทียมดวงนึงมีได้ถึง 25 Transponder และสามารถครอบคลุม 1/3 ของ
พื้นผิวโลก
 ใช้สื่อสารระหว่างประเทศ และภายในประเทศ เช่น ไทยคม
 รับ-ส่งสัญญาณได้ทั้งแบบ Point-to-Point และ Broadcast
 การรับและส่งสัญญาณจะใช้ความถี่ต่างกัน
 C Band
 KU Band
SATELLITE : ระบบดาวเทียมสื่อสาร
82
83
 C Band
 ระยะห่างระหว่างดาวเทียม 4 องศา (วัดมุมเทียบกับจุดศูนย์กลางของโลก)
 ย่านความถี่ 4-6 GHz.
 Uplink : 5.925 – 6.425 GHz.
 Downlink : 3.7 – 4.2 GHz.
 KU Band
 ระยะห่างระหว่างดาวเทียม 3 องศา (วัดมุมเทียบกับจุดศูนย์กลางของโลก)
 ย่านความถี่ 12-14 GHz.
 Uplink : 14.0 – 14.5 GHz.
 Downlink : 11.7 – 12.2 GHz.
SATELLITE : ระบบดาวเทียมสื่อสาร
83
84
สถานีดาวเทียมภาคพื้นดิน
 ทาหน้าที่รับ-ส่งสัญญาณข้อมูลกับสถานีดาวเทียมค้างฟ้า
SATELLITE : ระบบดาวเทียมสื่อสาร
84
85
ข้อดี
 สามารถส่งข้อมูลในระยะทางไกลมากได้ ในเวลาอันรวดเร็ว
ข้อเสีย
 อาจถูกรบกวนจากสัญญาณภาคพื้นดินอื่นๆ
 Delay Time มาก เนื่องจากระยะทางขึ้น-ลง
 ลงทุนสูง ทาให้ค่าบริการสูงด้วย
SATELLITE : ระบบดาวเทียมสื่อสาร
85
86
ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติ MEDIA
MediaMedia ราคาราคา ความเร็วความเร็ว ระยะทางระยะทาง NoiseNoise SecuritySecurity
UTP ถูก 1 - 100 Mbps. ใกล้ สูง ต่า
STP ปานกลาง 1 - 150 Mbps. ใกล้ ปานกลาง ต่า
Coaxial ปานกลาง 1 M – 1 Gbps. ปานกลาง ปานกลาง ต่า
OFC สูง 10 M – 2 Gbps. ไกล ต่า สูง
Radio ปานกลาง 1 – 10 Mbps. ใกล้ - ไกล สูง ต่า
MW สูง 1 M – 10 Gbps. ไกล สูง ปานกลาง
Satellite สูง 1 M – 10 Gbps. ไกล สูง ปานกลาง
86
87
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาเลือก MEDIA
 ราคา
 ความเร็ว
 ระยะทาง
 สัญญาณรบกวน
 ความปลอดภัยของข้อมูล
87

More Related Content

Viewers also liked

คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นคำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นRawitsada Intarabut
 
หน่วยที่ 4 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
หน่วยที่ 4  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายหน่วยที่ 4  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
หน่วยที่ 4 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายTa Khanittha
 
Mw frequency planning
Mw frequency planningMw frequency planning
Mw frequency planningFatmir Zeqiri
 
Information system security wk6-2
Information system security wk6-2Information system security wk6-2
Information system security wk6-2Bee Lalita
 
3a data link layer
3a data link layer 3a data link layer
3a data link layer kavish dani
 
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 1เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 1moneycoach4thai
 
2. ทฤษฎีสี
2. ทฤษฎีสี2. ทฤษฎีสี
2. ทฤษฎีสีPakornkrits
 
Session layer ppt
Session layer pptSession layer ppt
Session layer pptmatangi jha
 
Module15: Sliding Windows Protocol and Error Control
Module15: Sliding Windows Protocol and Error Control Module15: Sliding Windows Protocol and Error Control
Module15: Sliding Windows Protocol and Error Control gondwe Ben
 
Flow & Error Control
Flow & Error ControlFlow & Error Control
Flow & Error Controltameemyousaf
 
Design issues for the layers
Design issues for the layersDesign issues for the layers
Design issues for the layersjayaprakash
 

Viewers also liked (14)

คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นคำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
หน่วยที่ 4 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
หน่วยที่ 4  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายหน่วยที่ 4  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
หน่วยที่ 4 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
 
Firewall
FirewallFirewall
Firewall
 
Mw frequency planning
Mw frequency planningMw frequency planning
Mw frequency planning
 
Information system security wk6-2
Information system security wk6-2Information system security wk6-2
Information system security wk6-2
 
3a data link layer
3a data link layer 3a data link layer
3a data link layer
 
PHYSICALLAYER
PHYSICALLAYERPHYSICALLAYER
PHYSICALLAYER
 
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 1เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 1
 
L13 Presentation Layer Design
L13 Presentation Layer DesignL13 Presentation Layer Design
L13 Presentation Layer Design
 
2. ทฤษฎีสี
2. ทฤษฎีสี2. ทฤษฎีสี
2. ทฤษฎีสี
 
Session layer ppt
Session layer pptSession layer ppt
Session layer ppt
 
Module15: Sliding Windows Protocol and Error Control
Module15: Sliding Windows Protocol and Error Control Module15: Sliding Windows Protocol and Error Control
Module15: Sliding Windows Protocol and Error Control
 
Flow & Error Control
Flow & Error ControlFlow & Error Control
Flow & Error Control
 
Design issues for the layers
Design issues for the layersDesign issues for the layers
Design issues for the layers
 

Similar to NETWORKARCHITECTURE& STRUCTURE

การสื่อสาร อ.พรทิพย์
การสื่อสาร อ.พรทิพย์การสื่อสาร อ.พรทิพย์
การสื่อสาร อ.พรทิพย์Namfon Phenpit
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Aqilla Madaka
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารLesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารAqilla Madaka
 
Tu153 บทที่ 8 2/2560
Tu153 บทที่ 8 2/2560Tu153 บทที่ 8 2/2560
Tu153 บทที่ 8 2/2560Kasidit Chanchio
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์xsitezaa
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Obigo Cast Gaming
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 

Similar to NETWORKARCHITECTURE& STRUCTURE (20)

การสื่อสาร อ.พรทิพย์
การสื่อสาร อ.พรทิพย์การสื่อสาร อ.พรทิพย์
การสื่อสาร อ.พรทิพย์
 
Network System
Network SystemNetwork System
Network System
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารLesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Tu153 บทที่ 8 2/2560
Tu153 บทที่ 8 2/2560Tu153 บทที่ 8 2/2560
Tu153 บทที่ 8 2/2560
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
 
5630504218
56305042185630504218
5630504218
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 

NETWORKARCHITECTURE& STRUCTURE

  • 1. NETWORK ARCHITECTURE & STRUCTURE By Nawaporn Wisitpongphan
  • 2. OUTLINE  Intro to the Telecommunication Systems  ระบบเครือข่ายแบบต่างๆ  Local Area Network (LAN)  Metropolitan Area Network (MAN)  Wide Area Network (WAN)  Wireless LAN (WLAN)  Peer-To-Peer Network (Ad Hoc)  การเชื่อมต่อของเครือข่ายแบบต่างๆ  Protocol Stack  OSI Model  5-Layer Model
  • 3. WHAT IS TELECOMMUNICATION?  ระบบใดๆ ก็ตามที่ข้อมูลหรือข่าวสารสามารถถูกส่งผ่านสื่อประเภทต่างๆ ได้ เช่น ผ่านสายโทรศัพท์ สายเคเบิล ผ่านทางอากาศ คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ  Voice Communication  การกระจายเสียงทางวิทยุ AM/FM  WALKY TALKY  โทรศัพท์บ้าน โทรศัพท์มือถือ Notice any differences? Transmission Direction Simplex Half-Duplex Full-Duplex
  • 4. Data Communications & Network Technology 4 การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียวการส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว (S(SIMPLEXIMPLEX))  เป็นการสื่อสารข้อมูลที่ผู้ส่งข้อมูลทาหน้าที่ส่งข้อมูลแต่เพียงอย่างเดียว  ผู้รับข้อมูลก็ทาหน้าที่รับข้อมูลแต่เพียงอย่างเดียว  ตัวอย่างเช่น  การส่งสัญญาณของสถานีโทรทัศน์ หรือสถานีวิทยุ
  • 5. Data Communications & Network Technology 5 การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกันการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน (H(HALFALF-- DDUPLEXUPLEX TRANSMISSIONTRANSMISSION))  เป็นการสื่อสารข้อมูลโดยที่แต่ละฝ่ายสามารถเป็นได้ทั้งผู้รับและผู้ส่ง  แต่ต้องสลับกันทาหน้าที่เป็นผู้ส่งข้อมูล ไม่สามารถเป็นผู้ส่งพร้อมๆ กันได้  ตัวอย่างเช่น  การสื่อสารโดยใช้วิทยุสื่อสาร (Walky-Talky)
  • 6. Data Communications & Network Technology 6 การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกันการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน (F(FULLULL-- DDUPLEXUPLEX TRANSMISSIONTRANSMISSION))  เป็นการสื่อสารข้อมูลโดยที่แต่ละฝ่ายสามารถเป็นได้ทั้งผู้รับและผู้ส่งในเวลาเดียวกัน  สามารถส่งข้อมูลได้พร้อมๆ กันแบบสองทิศทาง  ตัวอย่างเช่น  การสื่อสารโดยใช้โทรศัพท์
  • 7. WHAT IS TELECOMMUNICATION?  ระบบใดๆ ก็ตามที่ข้อมูลหรือข่าวสารสามารถถูกส่งผ่านสื่อประเภทต่างๆ ได้ เช่น ผ่าน สายโทรศัพท์ สายเคเบิล ผ่านทางอากาศ คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ  Voice Communication  การกระจายเสียงทางวิทยุ AM/FM  WALKY TALKY  โทรศัพท์บ้าน โทรศัพท์มือถือ  Data Communication  PAGER  FAX  E-MAIL  Multimedia Communication (Voice/Data)  Teleconference, etc. Transmission Direction Simplex Half-Duplex Full-Duplex Transmission Media/Network Wireless/Cellular Network Twisted-Pair /Telephone Network Both/ Computer Network
  • 8. PROBLEM ????  Which one sit on a higher frequency spectrum? อัน ไหนใช้คลื่นความถี่สูงกว่า  AM  FM  WiFi  Which one has a greater range? อันไหนส่งได้ไกลกว่า
  • 9. 9 องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลองค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล  ผู้ส่งข้อมูล (Sender) หรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล ทาหน้าที่ส่งข้อมูลไปยังจุดหมายที่ ต้องการ  ผู้รับข้อมูล (Receiver) หรืออุปกรณ์รับข้อมูล ทาหน้าที่รับข้อมูลที่ถูกส่งมาให้  ข้อมูล (Data) คือข้อมูลที่ถูกส่ง เช่น เสียง ข้อความ ภาพ และอื่นๆ  สื่อนาข้อมูล (Media) ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการถ่ายโอนข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยัง อีกจุดหนึ่ง  โปรโตคอล (Protocol) คือกฎหรือระเบียบวิธีที่ถูกกาหนดขึ้นเพื่อการสื่อสาร ข้อมูล ให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจตรงกัน
  • 11. NETWORK CLASSIFICATION: BY TRANSMISSION TECHNIQUES  Broadcast Networks  Single Communication Channel  One Sender, Multiple Receivers  Exercise:  Start->Run->cmd  ping x.x.255.255 or x.x.x.255  On Linux “ping –b”  Point-to-Point Networks  One Sender, One Receiver  Sometimes call “Unicast”  Exercise:  ping [IP Address]  ping www.google.com  Multicast Networks  One to Many (but not All)
  • 14. 14 ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 3 ประเภทหลัก คือ  เครือข่ายท้องถิ่น : LAN (Local Area Network)  เครือข่ายระดับเมือง : MAN (Metropolitan Area Network)  เครือข่ายระดับประเทศ : WAN (Wide Area Network)
  • 15. 15 LOCAL AREA NETWORKS : LAN เครือข่ายระดับท้องถิ่น เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ในระยะใกล้ เช่น ภายในห้องเดียวกัน ชั้นเดียวกัน หรืออาคารเดียวกัน ความเร็วในการแลกเปลี่ยนข้อมูลสูง  Wired or Wireless มักใช้ในองค์กร สานักงาน
  • 16. 16 LOCAL AREA NETWORKS : LAN  Two broadcast networks  (a) Bus  (b) Ring
  • 18. 18 METROPOLITAN AREA NETWORKS : MAN เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ อาจเป็นการนาเอาระบบ LAN มาเชื่อมต่อกันในระยะกลาง สามารถครอบคลุมพื้นที่ในตาบล อาเภอ หรือจังหวัดเดียวกัน
  • 20. 20 เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่มาก อาจเป็นการนาเอาระบบ LAN หรือ MAN มาเชื่อมต่อกันในระยะไกล สามารถครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ หรือทั่วโลก แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ  Private Network เช่น เครือข่ายของบริษัท IBM  Public Network เช่น เครือข่ายอินเตอร์เน็ต WIDE AREA NETWORKS : WAN
  • 22. 22 WIDE AREA NETWORKS : WAN  Relation between hosts on LANs and the subnet.
  • 23. 23  A stream of packets from sender to receiver. WIDE AREA NETWORKS : WAN
  • 24. PEER-TO-PEER NETWORKS (P2P)  What is the size of P2P Networks? (a) LAN (b) MAN (c) WAN (d) WLAN
  • 25. HOMEWORK !!!! WHAT IS AN ETHERNET? 1. ให้นักเรียนอธิบายว่า Shared Ethernet คืออะไร และจัดเป็น Network ขนาดไหน (LAN, MAN, หรือ WAN) (ให้วาดภาพ Shared Ethernet ที่ประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ 12 ตัว) 2. ถ้าจะต่อ Shared Ethernet ตามข้อ 1 นั้น จะต้องใช้อุปกรณ์อะไรบ้าง 3. ให้นักเรียนอธิบายว่า Switched Ethernet คืออะไร (ให้วาดภาพ Switched Ethernet ที่ประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ 12 ตัว) 4. ถ้าจะต่อ Switched Ethernet ตามข้อ 3 นั้น จะต้องใช้อุปกรณ์ อะไรบ้าง 5. ให้นักเรียนเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของ Shared Ethernet และ Switched Ethernet ในรูปที่วาดในข้อ 1 และข้อ 3 ** ส่งต้นชั่วโมงหน้า เขียนด้วยลายมือบรรจง และห้ามลอกเด็ดขาด
  • 26. 26 INTRANET VS. INTERNET Intranet เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในองค์กร โดยใช้ระบบ LAN Internet เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ให้เป็นเครือข่ายขนาด ใหญ่ Intranet และ Internet ต่างกันที่ขอบเขตการเชื่อมโยง แต่มาตรฐานและวิธีการเชื่อมโยงเหมือนกัน
  • 27. NETWORK MODELS  OSI (Open Systems Interconnect)  ตั้งขึ้นโดย International Standards Organization (ISO) ในปี 1984  มีทั้งหมด 7 layers  Internet Model  กาหนดขึ้นโดย Defense Advanced Research Projects Agency (DARPA) ในช่วงปี 1970s  มีทั้งหมด 5 layers
  • 28. ARPANET (1969) : THE GRANDFATHER OF THE INTERNET “Advanced Research Projects Agency created ARPAnet to protect the flow of information between military installations.” “A network of geographically separated computers that could Exchange information via NCP (Network Control Protocol)” The message was sent from the UCLA SDS Sigma 7 Host computer to the SRI SDS 940 Host computer.” The word "login." was sent.. The "l" and the "o" transmitted without problem but then the system crashed. Hence, the first message on the ARPANET was "lo". “They were able to do the full login about an hour later.”
  • 29. OSI 7- LAYER MODEL I  Physical Layer  The physical devices  Media  Representation of Data (Bits)  Data Link Layer  Message Framing  Error Control  Media Access Control  Flow Control  Network Layer  Addressing and Routing decision  Transport Layer  End-to-End flow and congestion control 7 Application 6 Presentation 5 Session 4. Transport 3. Network 2 Data Link 1. Physical
  • 30. OSI 7-LAYER MODEL II  Session Layer  Initiate, maintain, and terminate logical session between sender/receiver  Presentation Layer  Format data from user for transmission  Format data received for user  Provide data interfaces, compression, translation between different data formats  Application Layer  Application Programming Interface (API) 7 Application 6 Presentation 5 Session 4. Transport 3. Network 2 Data Link 1. Physical
  • 31. INTERNET 5-LAYER MODEL  Physical Layer  Data Link Layer  Network Layer  Transport Layer  Application Layer  All functions between transport layer and the application program Same as in OSI Model 5 Application 4. Transport 3. Network 2 Data Link 1. Physical
  • 32.
  • 33. LAYER MODEL COMPARISON OSI Internet Layer Grouping 7. Application 5. Application Application Layer 6. Presentation 5. Session 4. Transport 4. Transport Internetwork Layer3. Network 3. Network 2. Data Link 2. Data Link Hardware layer 1. Physical 1. Physical
  • 34. PHYSICAL LAYER : TRANSMISSION MEDIA 34
  • 35. TRANSMISSION MEDIA Transmission Media Guided (wired) Guided (wireless) •Twisted Pair Cable • • •Twisted Pair Cable •Coaxial Cable •Fiber Optic Cable AIR 35 Un
  • 36. 36 GUIDED/WIRED MEDIA สายเคเบิ้ล ถือเป็นสื่อพื้นฐานในการส่งข้อมูล ราคา ขึ้นอยู่กับคุณภาพและกาลังส่งข้อมูล ชนิดของสายเคเบิ้ล  Twisted Pair Cable : สายคู่ตีเกลียว  Coaxial Cable : สายโคแอกเชียล  Optical Fiber Cable : สายใยแก้วนาแสง
  • 38. 38 TWISTED PAIR CABLE  ประกอบด้วยสายทองแดง 2 เส้น หรือมากกว่า ถูกนามาพันกันเป็นเกลียว เพื่อลดการรบกวนจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (Crosstalk) จากคู่สาย ข้างเคียงภายในสายเคเบิ้ลเดียวกัน หรือจากภายนอก  ส่งข้อมูลได้ทั้ง Analog และ Digital  สาย 1 คู่ = 1 Channel  ราคาถูก น้าหนักเบา ติดตั้งง่าย  Bandwidth ขึ้นอยู่กับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของสาย
  • 39. 39 TWISTED PAIR CABLE ประเภทของสายคู่ตีเกลียว  Telephone Line  STP (Shielded Twisted Pair)  UTP (Unshielded Twisted Pair)
  • 40. 40 TELEPHONE LINE ประกอบด้วยลวดทองแดง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.6 หรือ 0.8 มม. หุ้มด้วยฉนวน พันเป็นเกลียว
  • 42. 42 TELEPHONE LINE  แบบเช่าสาย (Leased Line)  เป็นการเชื่อมต่อโดยตรงระหว่างผู้รับและผู้ส่ง โดยผ่านสายโทรศัพท์ที่ เช่าจากองค์การฯ  สามารถรับ-ส่งข้อมูลได้ตลอดเวลาที่ต้องการ  การับ-ส่งข้อมูลทาได้รวดเร็ว  ค่าใช้จ่ายสูง  แบบหมุนหมายเลข (Dial Access)  ต้องหมุนหมายเลขทุกครั้งที่ต้องการส่งข้อมูล เหมือนการใช้โทรศัพท์ ธรรมดา  สัญญาณรบกวนมาก  เกิด Error ได้ง่าย  ค่าใช้จ่ายต่ากว่า
  • 43. 43 TELEPHONE LINE  บริการรับ-ส่งข้อมูลผ่านระบบโทรศัพท์  Voice-grade Service  ISDN (Integrated Services Digital Network)  ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line) / Cable Modem
  • 44. 44 TELEPHONE LINE  Voice-grade Service  เป็นการรับ-ส่งข้อมูลแบบ Analog ผ่านสายโทรศัพท์ (โดยใช้ Modem)  Bandwidth : 56 Kbps.  ISDN (Integrated Services Digital Network)  บริการสื่อสารระบบดิจิตอลความเร็วสูงที่มีความเร็วตั้งแต่ 64 Kbps ถึง 128 Kbps (โดยใช้สายโทรศพท์ธรรมดา)  ถ้าใช้สาย fiber optic จะสามารถบริการได้ถึง 2.048 Mbps  ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line)  สามารถใช้โทรศัพท์ (Voice) พร้อมกับการรับ-ส่งข้อมูล โดยใช้สายเส้น เดียวกัน  ความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลสูงกว่า Modem แบบ Analog ประมาณ 140 เท่า  Always-on Access
  • 46. 46 STP (SHIELDED TWISTED PAIR) CABLE  เป็นสายทองแดงพันกันตามมาตรฐาน Category 5  มีฉนวนหุ้มที่เป็นโลหะ เพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน  มีความเร็วในการส่งข้อมูล 10-100 Mbps.  สามารถส่งข้อมูลที่ยอมรับได้ ในระยะทาง 100-300 เมตร  มีคุณภาพดีกว่าสายแบบ UTP แต่ราคาแพงกว่า  ใช้ในวงจากัด
  • 47. 47 UTP (UNSHIELDED TWISTED PAIR) CABLE  เป็นสายทองแดงพันกันตามมาตรฐาน Category 5  มีฉนวนเป็นเทฟล่อนหุ้มสายทองแดง  มีความเร็วในการส่งข้อมูล 10-100 Mbps.  สามารถส่งข้อมูลที่ยอมรับได้ ในระยะทาง 100 เมตร  คุณภาพด้อยกว่าสายแบบ STP แต่ราคาถูกกว่า  ใช้งานอย่างกว้างขวาง
  • 48. 48
  • 50. 50 COAXIAL CABLE  คุณภาพดีกว่า แต่ราคาแพงกว่าสายคู่ตีเกลียว  ใช้ในการเชื่อมต่อแบบ Multidrop  โค้งงอได้ง่าย  รับ-ส่งข้อมูลได้ทั้งแบบ Baseband และ Broadband
  • 51. 51 COAXIAL CABLE  Baseband Transmission (50 Ohm cable)  ใช้ในการส่งสัญญาณแบบดิจิตอล  การห่อหุ้มสายดีกว่าทาให้สัญญาณรบกวนน้อยกว่าสายคู่ตีเกลียว  Bandwidth ขึ้นอยู่กับระยะส่งของสาย เช่น  1-2 Gbps สาหรับสายส่ง 1 km. ส่งข้อมูลได้ในระยะทาง 2 km.  ปัจจุบันถูกแทนที่ด้วย fiber optic แต่ก็ยังมีการนามาใช้ในการส่งข้อมูลใน LAN  Broadband Transmission (75 Ohm cable)  ใช้ในการส่งสัญญาณแบบแอนาล็อก  ส่งข้อมูลได้ในระยะทางไกลกว่า Baseband ถึง 6 เท่า โดยไม่ต้องใช้เครื่องทวนหรือ ขยายสัญญาณ (Repeater)  ใช้ในการส่งสัญญาณ Cable TV
  • 52. 52 COAXIAL CABLE: 50 OHM  Thicknet Coaxial  10Base5  มีขนาดใหญ่ หนา  ความยืดหยุ่นต่า ติดตั้งยาก  ทนทานต่อสัญญาณรบกวนภายนอกได้ดีกว่าแบบ Thinnet  ราคาสูง  นิยมติดตั้งภายนอกอาคาร  ส่งข้อมูลได้ในระยะถึง 500 เมตร โดยไม่ต้องใช้เครื่องทวนหรือขยายสัญญาณ  Thinnet Coaxial  10Base2  มีความอ่อนตัว โค้งงอได้ ง่ายต่อการติดตั้ง  สามารถเชื่อมต่อกับ LAN Card ได้โดยตรง โดยใช้ T- Connector  ราคาถูก  ส่งข้อมูลได้ในระยะถึง 185 เมตร โดยไม่ต้องใช้เครื่องทวนหรือขยายสัญญาณ
  • 53. 53 อุปกรณ์สาหรับเข้าหัวสายโคแอกเชียล  BNC BAREL Connector : ใช้กรณีเชื่อมต่อสายให้ยาวขึ้น
  • 54. 54 อุปกรณ์สาหรับเข้าหัวสายโคแอกเชียล  BNC Terminator : ใช้สาหรับปิดหัวและท้ายสาย
  • 55. 55 อุปกรณ์สาหรับเข้าหัวสายโคแอกเชียล  BNC T-Connector : ใช้เชื่อมต่อระหว่างสายกับการ์ดแลน
  • 56. 56
  • 58. 58 OPTICAL FIBRE CABLE  มีลักษณะเป็นท่อแก้วหรือซิลิกาหลอมละลาย(Fused Silica) ซึ่ง ถูกหุ้มด้วยแก้วที่มีคุณสมบัติในการหักเหต่า แกนนำแสง ปลอกหุ้ม แก้วหุ้ม 58
  • 59. 59 OPTICAL FIBRE CABLE  หลักการทั่วไปของการรับ-ส่งข้อมูลผ่านสายใยแก้วนาแสง คือ การเปลี่ยน สัญญาณข้อมูลจากไฟฟ้าให้เป็นคลื่นแสง  พัลส์ของแสงที่ถูกส่งไปจะสะท้อนกลับไป-มาที่ผิวของสาย (Cladding) จนถึงปลายทาง  ลาแสงผ่านได้ครั้งละหลายๆ ลาแสง ด้วยมุมที่ต่างกัน 59
  • 60. 60 OPTICAL FIBRE CABLE  Bandwidth 3 GHz.  อัตราเร็วในการส่งข้อมูล 1 Gbps.  ระยะทางในการรับ-ส่งข้อมูล 100 กม. โดยไม่ต้องมีเครื่องทวน/ขยายสัญญาณ  มีจานวน Channel ได้ 20,000 – 60,000 Ch.  ความผิดพลาดในการส่งข้อมูลน้อยมาก คือประมาณ 1 ใน 10 ล้านบิต ต่อการ ส่ง 1000 ครั้ง  ป้องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอกได้โดยสิ้นเชิง 60
  • 61. 61 OPTICAL FIBRE CABLE  องค์ประกอบสาคัญของการรับ-ส่งข้อมูลผ่านสายใยแก้วนาแสง คือ  อุปกรณ์กาเนิดแสง : Diode  สายใยแก้วนาแสง  อุปกรณ์ตรวจจับแสง : Photodiode 61
  • 62. 62 อุปกรณ์กาเนิดแสง : DIODE  สัญญาณข้อมูล (Analogue/Digital) ผ่าน Modulator Modulated Signal  Modulated Signal ผ่านไดโอด สัญญาณแสง  สัญญาณแสงถูกส่งผ่านสายใยแก้วนาแสง Modulator010101111110111111 Diode 62
  • 63. 63 อุปกรณ์กาเนิดแสง : DIODE  ไดโอด มี 2 ชนิด คือ  LED (Light Emitting Diode)  ILD (Injection Laser Diode) 63
  • 64. 64 อุปกรณ์กาเนิดแสง : DIODE คุณสมบัติคุณสมบัติ LEDLED ILDILD อัตราส่งข้อมูล ต่า สูง ระยะทาง สั้น ยาว อายุการใช้งาน นาน สั้น ความไวต่ออุณหภูมิ น้อย มากพอสมควร อันตรายต่อคน น้อย อันตรายต่อสายตา ราคา ไม่แพง แพง โหมด มัลติโหมด มัลติโหมด/ซิงเกิลโหมด64
  • 65. 65 อุปกรณ์ตรวจจับแสง : PHOTODIODE  สัญญาณแสงผ่าน PhotoDiode Modulated Signal  Modulated Signal ผ่าน Demodulator สัญญาณข้อมูล 010101111110111111DeModulatorPhotoDiode 65
  • 66. 66 OPTICAL FIBRE CABLE  ชนิดของสายใยแก้วนาแสง  Multimode  Step Index (แบบขั้นบันได)  Graded Index (แบบต่อเนื่อง)  Single Mode 66
  • 68. 68 MULTIMODE FIBER  Multimode OFC มักใช้กับการรับ-ส่งข้อมูล ในระยะทางสั้นๆ  Multimode - Step Index  ใช้ LED เป็นตัวกาเนิดแสง  ราคาถูกที่สุด  เหมาะสมกับงานที่มีปริมาณข้อมูลน้อย  Multimode - Graded Index  ใช้ LED เป็นตัวกาเนิดแสง  ราคาแพงกว่าแบบ Step Index  การเคลื่อนที่ของลาแสงไปได้เร็วกว่าแบบ Step Index 68
  • 69. 69 SINGLE MODE FIBER  Single Mode OFC มักใช้กับการรับ-ส่งข้อมูล ในระยะ ทางไกลๆ  ใช้ Laser Diode เป็นตัวกาเนิดแสง  ทางเดินของแสงเป็นเส้นตรง  เส้นผ่านศูนย์กลางเล็กมาก  ราคาแพงที่สุด  เหมาะสมกับงานที่มีปริมาณข้อมูลมาก 69
  • 70. 70 ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติของสายเคเบิ้ลแบบ ต่างๆ UTP / STPUTP / STP CoaxialCoaxial Optical FibreOptical Fibre ค่าใช้จ่ายค่าใช้จ่าย Low Medium High ระยะทางระยะทาง Short 500 m. 2 Km. การติดตั้งการติดตั้ง ง่าย ไม่ยากนัก ยาก เหมาะสมกับเหมาะสมกับ ข้อมูล เสียง/ภาพ/ข้อมูล Multimedia การรบกวนของคลืนการรบกวนของคลืน รบกวน รบกวน เกือบเป็น 0 การดักจับสัญญาณการดักจับสัญญาณ ท่าได้ ท่าได้ ท่าไม่ได้ ความเร็วความเร็ว ปานกลาง ปานกลาง สูงมาก 70
  • 72. 72 ตารางเปรียบเทียบความถี่วิทยุ ความถี่ความถี่ ย่านความถี่ย่านความถี่ ตัวอย่างการใช้งานตัวอย่างการใช้งาน VLF Very Low Freq. 3 – 30 KHz. การสือสารใต้น้่า LF Low Freq. 30 – 300 KHz. สัญญาณน่าร่องในการ เดินเรือ MF Medium Freq. 300 KHz. – 3 MHz. วิทยุ AM HF High Freq. 3 – 30 MHz. วิทยุสือสาร VHF Very High Freq. 30 – 300 MHz. TV(5,7,9,11), วิทยุ FM, วิทยุการบิน UHF Ultra High Freq. 300 MHz. – 3 GHz. TV(3,itv), Mobile Tel. SHF Super High Freq. 3 – 30 GHz. สัญญาณไมโครเวฟ ภาคพื้นดิน, เรดาร์ EHF Extremely High Freq. 30 – 300 GHz. สัญญาณไมโครเวฟผ่าน ดาวเทียม, เรดาร์ 72
  • 73. 73 MICROWAVE สถานีรับสถานีรับ--ส่งสัญญาณส่งสัญญาณ สถานีส่งสถานีส่ง สถานีรับสถานีรับ 30 ไมล์ 30 ไมล์  การรับ-ส่งข้อมูลผ่านคลื่นไมโครเวฟ เป็นการรับ-ส่งแบบเป็นทอดๆ จาก สถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่ง 73
  • 74. 74 MICROWAVE  มักใช้ในกรณีที่การติดตั้งสายเคเบิ้ลไม่สะดวก เช่น ในป่า หรือ ในเมืองใหญ่  ความถี่ที่ใช้ในระบบไมโครเวฟ คือ 2-10 Ghz.  ข้อเสียของระบบไมโครเวฟ คือ สัญญาณอาจถูกรบกวนจาก สภาพภูมิอากาศ (อุณหภูมิ ลม ฝน) 74
  • 75. 75 RADIO LINK : ระบบสื่อสารวิทยุ  เป็นระบบที่ส่งข้อมูลไปในอากาศ โดยผ่านสายอากาศของเครื่องส่ง ไปยังสายอากาศของ เครื่องรับ  ประสิทธิภาพของการรับ-ส่งข้อมูล ขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นๆ เช่น กาลังของเครื่องส่ง สภาพ ภูมิอากาศ สภาพภูมิประเทศ และความถี่ที่ใช้ในการส่ง 75
  • 76. 76  ประเภทของคลื่นวิทยุ  คลื่นดิน (Ground Wave)  คลื่นฟ้า (Sky Wave) RADIO LINK : ระบบสื่อสารวิทยุ 76
  • 77. 77 RADIO LINK : ระบบสื่อสารวิทยุ 77
  • 78. 78  ข้อดี  ไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรับตัวกลาง  สามารถรับ-ส่งข้อมูลขณะเคลื่อนที่ได้  ข้อเสีย  สัญญาณถูกลดทอนจากสภาพอากาศได้ง่าย  คลื่นวิทยุที่ใช้กับ LAN มักใช้ย่านความถี่ต่า จึงส่งสัญญาณ ไม่ดีเท่าที่ควร RADIO LINK : ระบบสื่อสารวิทยุ 78
  • 79. 79 BLUETOOTH  ใช้ความถี่สูง คือ 2.4 GHz.  ใช้เชื่อมต่ออุปกรณ์ในระยะใกล้ๆ  สามารถทางานในพื้นที่ที่มีสัญญาณรบกวนมากๆ ได้  ลดความยุ่งยากในการต่อสายเคเบิ้ล 79
  • 80. 80 INFRARED  ข้อดี  ราคาถูก  ใช้งานง่าย  ปลอดภัยจากการดักจับสัญญาณ  ข้อเสีย  ระยะทางในการรับ-ส่งข้อมูลไม่ไกล  ไม่สามารถผ่านสิ่งกีดขวางได้ 80
  • 81. 81 SATELLITE : ระบบดาวเทียมสื่อสาร สถานีส่ง สถานีรับ 2233,,300300 ไมล์ไมล์ ดาวเทียมก็คือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้าดาวเทียมก็คือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้า Uplink Downlink 81
  • 82. 82 สถานีดาวเทียมค้างฟ้า (GEOSTATIONARY SATELLITE )  เป็นดาวเทียมที่อยู่กับที่เมื่อเทียบกับโลกมีวงโคจรอยู่ในระนาบเดียวกันกับเส้นศูนย์ สูตร อยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 35,786 กม. วงโคจรพิเศษนี้เรียกว่า “ วงโคจรค้างฟ้า ” หรือ “ วงโคจรคลาร์ก ”  รับ-ส่งสัญญาณข้อมูลกับสถานีดาวเทียมบนพื้นดิน  มีอุปกรณ์ทบทวนสัญญาณที่เรียกว่า Transponder ทาหน้าที่ขยายและทวนสัญญาณ ข้อมูล  สถานีดาวเทียมดวงนึงมีได้ถึง 25 Transponder และสามารถครอบคลุม 1/3 ของ พื้นผิวโลก  ใช้สื่อสารระหว่างประเทศ และภายในประเทศ เช่น ไทยคม  รับ-ส่งสัญญาณได้ทั้งแบบ Point-to-Point และ Broadcast  การรับและส่งสัญญาณจะใช้ความถี่ต่างกัน  C Band  KU Band SATELLITE : ระบบดาวเทียมสื่อสาร 82
  • 83. 83  C Band  ระยะห่างระหว่างดาวเทียม 4 องศา (วัดมุมเทียบกับจุดศูนย์กลางของโลก)  ย่านความถี่ 4-6 GHz.  Uplink : 5.925 – 6.425 GHz.  Downlink : 3.7 – 4.2 GHz.  KU Band  ระยะห่างระหว่างดาวเทียม 3 องศา (วัดมุมเทียบกับจุดศูนย์กลางของโลก)  ย่านความถี่ 12-14 GHz.  Uplink : 14.0 – 14.5 GHz.  Downlink : 11.7 – 12.2 GHz. SATELLITE : ระบบดาวเทียมสื่อสาร 83
  • 85. 85 ข้อดี  สามารถส่งข้อมูลในระยะทางไกลมากได้ ในเวลาอันรวดเร็ว ข้อเสีย  อาจถูกรบกวนจากสัญญาณภาคพื้นดินอื่นๆ  Delay Time มาก เนื่องจากระยะทางขึ้น-ลง  ลงทุนสูง ทาให้ค่าบริการสูงด้วย SATELLITE : ระบบดาวเทียมสื่อสาร 85
  • 86. 86 ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติ MEDIA MediaMedia ราคาราคา ความเร็วความเร็ว ระยะทางระยะทาง NoiseNoise SecuritySecurity UTP ถูก 1 - 100 Mbps. ใกล้ สูง ต่า STP ปานกลาง 1 - 150 Mbps. ใกล้ ปานกลาง ต่า Coaxial ปานกลาง 1 M – 1 Gbps. ปานกลาง ปานกลาง ต่า OFC สูง 10 M – 2 Gbps. ไกล ต่า สูง Radio ปานกลาง 1 – 10 Mbps. ใกล้ - ไกล สูง ต่า MW สูง 1 M – 10 Gbps. ไกล สูง ปานกลาง Satellite สูง 1 M – 10 Gbps. ไกล สูง ปานกลาง 86
  • 87. 87 หลักเกณฑ์ในการพิจารณาเลือก MEDIA  ราคา  ความเร็ว  ระยะทาง  สัญญาณรบกวน  ความปลอดภัยของข้อมูล 87