SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
รากที่สอง (Square Roots)

บทนิยาม ให้ a เป็นจานวนจริง โดยที่ a  0 รากที่สองของ a หมายถึง จานวนที่ยกกาลังสองแล้วได้เท่ากับ a

       เช่น รากที่สองของ 25 คือ 5 และ -5
      เพราะว่า         52 = 25 และ (-5)2 = 25
                 รากที่สองของ 169 คือ 13 และ -13
       เพราะว่า           132 = 169 และ (-13)2 = 169
        รากที่สองที่เป็นบวกของ a จะเขียนแทนด้วย a
รากที่สองที่เป็นลบของ         a จะเขียนแทนด้วย - a

                                            แบบฝึกหัดทดสอบฝีมือ
จงหารากที่สองของจานวนต่อไปนี้

   1. 36                        2. 49                         3. 11                   4. 23
1. 36
        เพราะว่า 62 = 36 และ (-6)2 = 36 ดังนั้น รากที่สองของ 36 คือ 6 และ -6
2. 49
        เพราะว่า 72 = 49 และ (-7)2 = 49 ดังนั้น รากที่สองของ 49 คือ 7 และ -7
3. 11
        เพราะว่า ( 11)2 = 11 และ (- 11)2 = 11 ดังนั้น รากที่สองของ 11 คือ 11 และ - 11
4. 23
        เพราะว่า ( 23)2 = 23 และ (- 23)2 = 23 ดังนั้น รากที่สองของ 23 คือ 23 และ - 23

ข้อสังเกต
        1. เนื่องจากจานวนจริงใดๆ ยกกาลังสองจะได้ผลลัพธ์เป็นจานวนบวกหรือศูนย์เท่านั้น
           ดังนั้น รากที่สองของ a เมื่อ a < 0 จึงไม่มีในระบบจานวนจริง
        2. รากที่สองของจานวนจริงจะเป็นจานวนตรรกยะ หรือจานวนอตรรกยะอย่างใดอย่างหนึ่ง
จงหาค่าต่อไปนี้
1. - 64 = - 82 = -8            2. 625 = 252 = 25                     3. - −81
                                                               หาค่าไม่ได้ในระบบจานวนจริง
                                                               เพราะว่าไม่มีจานวนจริงที่ยกกาลังสองแล้วได้ -81
การบวก การลบ การคูณ การหาร
                                           จานวนที่อยู่ในรูปรากที่สอง

การบวกและการลบ
 จานวนที่อยู่ในรูปรากที่สองหรือจานวนที่ติดเครื่องหมาย                จะสามารถบวกหรือลบกันได้ เมื่อจานวนจริงที่อยู่
ภายในเครื่องหมาย           มีค่าเท่ากัน โดยใช้สมบัติการแจกแจงดังตัวอย่างต่อไปนี้
       1. 5 3 + 2 3 = (5+2) • 3 = 7 3
       2. 4 5 - 9 5 - 5 = (4-9-1) • 5 = -6 5

การคูณและการหาร
        การคูณและการหารจานวนที่อยู่ในรูปรากที่สองหรือจานวนที่ติดเครื่องหมาย           จะสามารถคูณหรือหารกันได้
เหมือนกับการคูณหรือการหารจานวนจริงทั่วๆ ไป ซึ่งมีสมบัติดังนี้
        1. a× b= a×b
              a      a
        2.      =        เมื่อ b ≠ 0
              b     b
แบบฝึกหัดทดสอบฝีมือ
จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้
                                                                          10        15 6
         1.        2× 3                    2.   5× 6× 2            3.          4.
                                                                          2         5 2




เฉลย
   1.         2× 3 = 2×3 = 6

    2.        5× 6× 2 = 5×6×2 = 60

              10           10
    3.             =            = 5
              2             2


         15 6          15       6
    4.             =                =3 3
          5 2          5        2
สมบัติของ a เมื่อ a  0

ให้ a และ b เป็นจานวนใดๆ ที่มากกว่าหรือเท่ากับ 0
             2
1.        a =a

2. a2 = a เมื่อ |a| แทนค่าสัมบูรณ์ของ a

2.       a× b= a×b

     a         a
4.
     b
       =       b
                   เมื่อ b ≠ 0

           1
5. a= a    2

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือTeraporn Thongsiri
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานsawed kodnara
 
พีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชันพีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชันY'Yuyee Raksaya
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfเอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfssusera0c3361
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลายInmylove Nupad
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามPiyanouch Suwong
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามพัน พัน
 
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
การแก้สมการพหุนามดีกรีสองการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
การแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรamnesiacbend
 

Tendances (20)

แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้งชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือ
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนาน
 
พีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชันพีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชัน
 
Gsp สำหรับมัธยม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับมัธยม Geometer's SketchpadGsp สำหรับมัธยม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับมัธยม Geometer's Sketchpad
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfเอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
การแก้สมการพหุนามดีกรีสองการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 

Similaire à Square Root

เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2Destiny Nooppynuchy
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1Jirathorn Buenglee
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสามSomporn Amornwech
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdfการแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdfrattapoomKruawang2
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1krutew Sudarat
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103พัน พัน
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomialsAon Narinchoti
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการkrusongkran
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559Tonson Lalitkanjanakul
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลังkrookay2012
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันAon Narinchoti
 

Similaire à Square Root (20)

Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2
 
การแก้อสมการเชิงเส้น1
การแก้อสมการเชิงเส้น1การแก้อสมการเชิงเส้น1
การแก้อสมการเชิงเส้น1
 
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdfการแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
 
Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Preliminary number theory
Preliminary number theoryPreliminary number theory
Preliminary number theory
 
Ans_TME54_jh1
Ans_TME54_jh1Ans_TME54_jh1
Ans_TME54_jh1
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากัน
 
Satit tue134008
Satit tue134008Satit tue134008
Satit tue134008
 

Plus de KruAm Maths

ปรับเงินเดือนย้อนหลัง 1 ม.ค. 55
ปรับเงินเดือนย้อนหลัง 1 ม.ค. 55ปรับเงินเดือนย้อนหลัง 1 ม.ค. 55
ปรับเงินเดือนย้อนหลัง 1 ม.ค. 55KruAm Maths
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นKruAm Maths
 
Begin with GSP (The Geometer's Sketchpad)
Begin with GSP (The Geometer's Sketchpad)Begin with GSP (The Geometer's Sketchpad)
Begin with GSP (The Geometer's Sketchpad)KruAm Maths
 
แนวข้อสอบPisa
แนวข้อสอบPisaแนวข้อสอบPisa
แนวข้อสอบPisaKruAm Maths
 

Plus de KruAm Maths (8)

กคศ.ว30
กคศ.ว30กคศ.ว30
กคศ.ว30
 
ปรับเงินเดือนย้อนหลัง 1 ม.ค. 55
ปรับเงินเดือนย้อนหลัง 1 ม.ค. 55ปรับเงินเดือนย้อนหลัง 1 ม.ค. 55
ปรับเงินเดือนย้อนหลัง 1 ม.ค. 55
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
Begin with GSP (The Geometer's Sketchpad)
Begin with GSP (The Geometer's Sketchpad)Begin with GSP (The Geometer's Sketchpad)
Begin with GSP (The Geometer's Sketchpad)
 
Geometry
GeometryGeometry
Geometry
 
Numbers
NumbersNumbers
Numbers
 
แนวข้อสอบPisa
แนวข้อสอบPisaแนวข้อสอบPisa
แนวข้อสอบPisa
 
Pytagorus
PytagorusPytagorus
Pytagorus
 

Square Root

  • 1. รากที่สอง (Square Roots) บทนิยาม ให้ a เป็นจานวนจริง โดยที่ a  0 รากที่สองของ a หมายถึง จานวนที่ยกกาลังสองแล้วได้เท่ากับ a เช่น รากที่สองของ 25 คือ 5 และ -5 เพราะว่า 52 = 25 และ (-5)2 = 25 รากที่สองของ 169 คือ 13 และ -13 เพราะว่า 132 = 169 และ (-13)2 = 169 รากที่สองที่เป็นบวกของ a จะเขียนแทนด้วย a รากที่สองที่เป็นลบของ a จะเขียนแทนด้วย - a แบบฝึกหัดทดสอบฝีมือ จงหารากที่สองของจานวนต่อไปนี้ 1. 36 2. 49 3. 11 4. 23
  • 2. 1. 36 เพราะว่า 62 = 36 และ (-6)2 = 36 ดังนั้น รากที่สองของ 36 คือ 6 และ -6 2. 49 เพราะว่า 72 = 49 และ (-7)2 = 49 ดังนั้น รากที่สองของ 49 คือ 7 และ -7 3. 11 เพราะว่า ( 11)2 = 11 และ (- 11)2 = 11 ดังนั้น รากที่สองของ 11 คือ 11 และ - 11 4. 23 เพราะว่า ( 23)2 = 23 และ (- 23)2 = 23 ดังนั้น รากที่สองของ 23 คือ 23 และ - 23 ข้อสังเกต 1. เนื่องจากจานวนจริงใดๆ ยกกาลังสองจะได้ผลลัพธ์เป็นจานวนบวกหรือศูนย์เท่านั้น ดังนั้น รากที่สองของ a เมื่อ a < 0 จึงไม่มีในระบบจานวนจริง 2. รากที่สองของจานวนจริงจะเป็นจานวนตรรกยะ หรือจานวนอตรรกยะอย่างใดอย่างหนึ่ง จงหาค่าต่อไปนี้ 1. - 64 = - 82 = -8 2. 625 = 252 = 25 3. - −81 หาค่าไม่ได้ในระบบจานวนจริง เพราะว่าไม่มีจานวนจริงที่ยกกาลังสองแล้วได้ -81
  • 3. การบวก การลบ การคูณ การหาร จานวนที่อยู่ในรูปรากที่สอง การบวกและการลบ จานวนที่อยู่ในรูปรากที่สองหรือจานวนที่ติดเครื่องหมาย จะสามารถบวกหรือลบกันได้ เมื่อจานวนจริงที่อยู่ ภายในเครื่องหมาย มีค่าเท่ากัน โดยใช้สมบัติการแจกแจงดังตัวอย่างต่อไปนี้ 1. 5 3 + 2 3 = (5+2) • 3 = 7 3 2. 4 5 - 9 5 - 5 = (4-9-1) • 5 = -6 5 การคูณและการหาร การคูณและการหารจานวนที่อยู่ในรูปรากที่สองหรือจานวนที่ติดเครื่องหมาย จะสามารถคูณหรือหารกันได้ เหมือนกับการคูณหรือการหารจานวนจริงทั่วๆ ไป ซึ่งมีสมบัติดังนี้ 1. a× b= a×b a a 2. = เมื่อ b ≠ 0 b b
  • 4. แบบฝึกหัดทดสอบฝีมือ จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้ 10 15 6 1. 2× 3 2. 5× 6× 2 3. 4. 2 5 2 เฉลย 1. 2× 3 = 2×3 = 6 2. 5× 6× 2 = 5×6×2 = 60 10 10 3. = = 5 2 2 15 6 15 6 4. = =3 3 5 2 5 2
  • 5. สมบัติของ a เมื่อ a  0 ให้ a และ b เป็นจานวนใดๆ ที่มากกว่าหรือเท่ากับ 0 2 1. a =a 2. a2 = a เมื่อ |a| แทนค่าสัมบูรณ์ของ a 2. a× b= a×b a a 4. b = b เมื่อ b ≠ 0 1 5. a= a 2