SlideShare a Scribd company logo
1 of 64
การพยาบาลบุคคลที่มี
ปัญหา เกี่ยวกับการรับ
ประทานอาหารและนำำา


       ศรัญญา จุฬารี
Outline ความผิดปกติเกี่ยวกับ
การย่อยและดูดซึม
   GERD
   Gastritis
   Peptic ulcer
   Pancreatitis
   Cholecystitis
   Liver cirrhosis
   Liver abscess
   Hepatitis
Gastro-esophageal reflux
disease :GERD
       ภาวะกรดไหลย้อน
       อาการและอาการแสดง
        อาการร้อนทรวงอก มักจะเป็นผู้ใหญ่ที่ตัว
         ใหญ่และไม่ค่อยออกกำาลังกาย
        อาการเรอกลิ่นอาหารที่เพิ่งรับประทานเข้าไป
        ถ้าอาการใน ข้อ 1 และ 2 เป็นบ่อย ๆ อาจพบ
         อาการอ่อนเพลียนอนไม่หลับเพราะเจ็บและ
         อาจแน่นหน้าอก จนแยกไม่ออกว่ามันเป็นโรค
         ของเส้นเลือดหัวใจตีบ Coronary Heart
         Disease
พยาธิสภาพ
   GERD เกิดเมื่อ หูรูดบนหรือล่างหย่อนยานปิด
    ไม่มิด หลอดอาหารไม่บีบหรือรูดลงเพราะ
    ประสาทของหูรูดเสีย อันเกิดจากโรคบาง
    อย่าง หลอดอาหารแข็งตัวไม่ยดหยุน หรือจาก
                                 ื      ่
    การที่หลอดอาหารอักเสบบ่อยๆ เพราะอาหาร
    ในกระเพาะสำารอกขึำนมาผ่านหลอดอาหาร
   ทำาให้มีแผลเป็นๆ หายๆ อย่างนีำ เมื่อแผลหาย
    แล้วก็ทำาให้หลอดอาหารแข็ง เป็นแผลหลายๆ
    แห่ง อาจจะมีโอกาสแตกได้ เรียกว่า
    Barrett's Esophagus
   ถ้ากะบังลมเกิดหย่อนยาน หูรูดหลอดอาหารก็
การวินิจฉัย
   ประวัติอาการแสบร้อนบริเวณยอดอก การใช้ยา
    ประเภทแก้ปวดท้องหรือท้องเดินบ่อยๆ เพราะ
    พวกนี้ทำาให้หูรูดของหลอดอาหารหย่อนยาน
   การตรวจร่างกายพบอาการเจ็บหน้าอก ปวดแสบ
    ร้อนบริเวณทรวงถึงในปาก
   การตรวจทางห้องปฏิบติการ โดยการทำา
                         ั
    Barium Esophagography ให้กลืนสารทึบรังสี
    ลงไปในกระเพาะ แล้วถ่ายภาพขณะที่สารทึบ
    เคลือบหลอดอาหารและสารอยู่ในกระเพาะ
    อาหาร
การรักษา
   การรักษาทางอายุรกรรม ได้แก่
       H2 receptor antagonists พวกนีลดกรดได้
                                       ้
        นานถึง แปดชั่วโมง ได้แก่ Tagamet ,Zantag,
        Pepcid
       Proton pump inhibitor ช่วยลดกรด ได้แก่
        Prevacid, Prilosec, Nexium
   การรักษาทางศัลยกรรม โดยการผูกถุง
    กระเพาะอาหารส่วนต้นหรือที่หรูด ส่วน
                                 ู
    Hiatus Hernia ก็ต้องผ่าตัดดันเอากระเพาะ
    อาหารส่วนที่เลือนเข้าเหนือกระบังลมหรือใน
                   ่
การพยาบาล
   ดู Esophagitis
Gastritis
กระเพาะอาหารอักเสบ
(Gastritis)
 สาเหตุ
  ความเครียดทางร่างกาย

  พฤติกรรมสุขภาพ เช่น การดื่มสุรา ชา
    กาแฟ ยาแก้ปวด การรับประทานอาหาร
    ไม่เป็นเวลา
  ภูมิต้านทานตำ่าทำาให้ดแลสุขภาพตนเอง
                         ู
    ไม่เพียงพอ
  การติดเชือ เช่น เชื้อ Helicobacter
             ้
    pylori ซิฟิลส วัณโรค
                ิ
                                    Gastritis
อาการ
 ปวดท้อง   ปวดแสบบริเวณลิ้นปี่หรือ
  ยอดอก สัมพันธ์กับการรับประทาน
  อาหาร เช่น ปวดเวลาหิวจัด หรือหลัง
  ตื่นนอนกลางดึก
 เบื่ออาหาร (anorexia)

 อาหารไม่ย่อย แสบร้อนในอก (heart
   burn) ภายหลังรับประทานอาหาร
  และพบอาการเรอได้
 มีอาการคลื่นไส้อาเจียน โดยเฉพาะ Gastritis
การวินิจฉัย
 Hx   : อาการปวดท้อง ไข้
  ความเครียดทางร่างกายและจิตใจ
  การติดเชื้อในร่างกาย
 PE : ท้องอืด แน่นท้อง และกดเจ็บ
  บริเวณลิ้นปี่
 Lab
  ตรวจ CBC พบเม็ดเลือดขาวสูงขึน
                               ้
  การส่องกล้องเข้ากระเพาะอาหาร
   (Gastroscopy)                    Gastritis
gastritis
การรักษา
  Antacid : Alummilk
  H2 receptor antagonists :
   Cimetidine
  Antibiotic
  Operation
        Gastrectomy
          Gastroduodenostomy : Billroth I
          Gastrojejunostomy : Billroth II




                                             Gastritis
Total gastrectomy   Subtotal gastrectomy



                                    Gastritis
Gastrojejunostomy : Billroth II
                              Gastritis
 Operation
                            TV

                      SV
 (ต่อ)
 Vagotomy            PGV
  Truncal vagotomy
  Selective
   vagotomy
  Proximal gastric
   vagotomy
การพยาบาล
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดจุกเสียด แน่น
  ท้อง
 วัตถุประสงค์ ทุเลาอาการปวดท้อง
 กิจกรรม
   ประเมินความปวดจากท่าทาง คำาพูดบ่น
    หรือ Visual analog scale / Numeric
    scale โดยให้คะแนน 0 – 10 คะแนน
   ประเมินอาการทางหน้าท้อง โดยฟัง
    bowel sound
   ส่งเสริมให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สุขสบาย Gastritis
 แนะนำาการหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงให้เกิด
  ภาวะกระเพาะอาหารอักเสบ เช่นการ
  ลดการดื่มเหล้า การสูบบุหรี่ ชา
  กาแฟ ยาแก้ปวด เป็นต้น
 การช่วยเบี่ยงเบนความสนใจจากความ
  ปวด เช่น ทำากิจกรรมหย่อนใจที่ผู้ป่วย
  ชอบ
 การให้ยาแก้ปวด ยาลดกรดใน
การพยาบาล
 เสี่ยงต่อภาวะเสียสมดุลของสาร
  อาหารเนื่องจากการย่อยและการดูด
  ซึมบกพร่อง
 วัตถุประสงค์ ได้รับสารอาหารเพียงพอ

 กิจกรรม

   NPO ตามแผนการรักษาและให้ IVF
    ชดเชยเพื่อลดการทำางานของกระเพาะ
    อาหาร ลดการหลั่งกรดและนำ้าย่อย
    จากกระเพาะอาหาร               Gastritis
 เมื่ออาการอักเสบเริ่มทุเลาให้เริ่มรับ
 ประทานอาหารเหลวจำาพวกนม นำ้าข้าว
 สลับกับยาลดกรดทุก 1-2 ชั่วโมง
 (sippy diet) ยกเว้นเวลาหลับ จากนั้น
 ค่อยๆ เปลี่ยนเป็นอาหารอ่อนย่อยง่าย
 รสไม่เผ็ดจัด รับประทานทีละน้อย
 และเพิ่มมื้อเป็น 6 – 8 มื้อ
การพยาบาล
       เสี่ยงต่อภาวะ Dumping
    syndrome เนื่องจาก การตัดกระเพาะ
    อาหารออก
   ภาวะ Dumping syndrome เป็นกลุมอาการ
                                      ่
    ที่ผู้ป่วยมีความผิดปกติภายหลังรับประทาน
    อาหาร พบภายหลังการผ่าตัดแบบ Billroth
    II มากกว่า Billroth I แบ่งเป็น
     Early Dumping syndrome

     Late Dumping syndrome

                                          Gastritis
   Early Dumping syndrome :
    แน่นท้องบริเวณลิ้นปี่ ใจสั่น
    เหงื่อออก ชีพจรเร็ว อาจมี
    อาเจียนหรือถ่ายอุจจาระ
     มีอาการของ hypovolumia

   Late Dumping syndrome
    สัมพันธ์กับการที่กลูโคสซึมเข้า
    สู่กระแสเลือดอย่างรวดเร็ว
    ทำาให้ BS↑ เป็นผลให้ร่างกาย
    หลั่งอินสุลินห กว่าปกติทำาให้
    BS↓
     มีอาการหลังจากรับประทาน
       อาหารประมาณ 2 – 3
       ชั่วโมง โดยจะมีอาการของ
                                     Gastritis
การพยาบาล
 วัตถุประสงค์   ปลอดภัยจากภาวะ
  Dumping syndrome
 กิจกรรม

   แนะนำาอาหารที่มีโปรตีนสูง ไขมันสูง
    แต่มีคาร์โบไฮเดรตตำ่า
   ควรรับประทานอาหารที่ค่อนข้างแห้ง
    และไม่ควรดื่มนำ้าปริมาณมากๆ พร้อม
    กับอาหาร ควรดื่มนำ้าระหว่างมื้อของ
    อาหาร                              Gastritis
 ให้นอนพักในท่าศีรษะสูง ภายหลังรับ
  ประทานอาหารประมาณ 20 – 30 นาที
 แก้ไขภาวะซีดและการขาดนำ้าและเกลือแร่

 กรณี Late Dumping syndrome การรับ
  ประทานนำ้าตาลหรืออาหารจะช่วยให้อาการ
  ดีขนึ้
 ผู้ปวยมักจะมีอาการอยูระยะหนึ่งแล้วจะ
         ่             ่
  ค่อยๆ ปรับตัวได้จนไม่มีอาการในที่สุด
Peptic ulcer
แผลในกระเพาะอาหารและลำาไส้ (peptic
ulcer)
   แผลเกิดขึ้นที่หลอดอาหาร
    (Esophagus), กระเพาะอาหาร
    (stomach) , Pyloric canal และ
    ลำาไส้เล็กส่วนต้น (Duodenum)
   ส่วนที่พบมากที่สุด คือ กระเพาะ
    อาหาร เรียกว่า Gastric ulcer และ
    ลำาไส้เล็กส่วนต้น เรียกว่า Duodenal
    ulcer
                                    peptic ulcer
   Gastric ulcer แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
    Acute กับ Chronic โดย
       Acute gastric ulcer เป็นแผลเล็ก ๆ ทัว ่
        ในชั้น Mucosa มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น
        รักษาให้หายได้ในระยะสั้น
       Chronic gastric ulcer เป็นแผลเรือรัง้
        และกินลึกถึงชั้นกล้ามเนือ แผลจะหายช้า
                                ้
        และมีโอกาสเป็นแผลเป็นได้
   Duodenal ulcer แผลมักจะกินลึกถึง
    ชัน Serous membrane เป็นเรือรัง
      ้                        ้
                                   peptic ulcer
    รักษาทางยาไม่หายขาด
Duodenal ulcer
สาเหตุ
 ร้อยละ 50 : อารมณ์ตึงเครียด
 การเปลียนแปลงของ Mucous membrane ที่
          ่
  ทำาหน้าที่หลังนำ้าย่อย และการทำางานมากเกิน
                 ่
  ไป
 ความต้านทานของเยือบุของกระเพาะอาหาร
                        ่
  หรือลำาไส้เล็กเปลียนไป เช่น จากการถูกระคาย
                     ่
  เคืองจากยาบางชนิด ได้แก่ Salicylic acid,
  Steroid
 กินไม่เป็นเวลา รสจัด เคี้ยวไม่ละเอียด ดืมสุรา
                                           ่
  มาก สูบบุหรีจัด
               ่                        peptic ulcer
อาการและอาการแสดง
 ปวดท้องบริเวณลิ้นปี่ลักษณะปวดไม่
  กว้าง สามารถชี้ด้วยนิ้วเดียว
 การที่แผลถูกสัมผัสกับกรดและนำ้าย่อย
  จะทำาให้มีอาการปวดแสบปวดร้อน
  บริเวณ Epigastrium
 ต่อไปจะปวดแบบตื้อๆ และแน่นท้อง


                                 peptic ulcer
อาการและอาการแสดง
   Gastric ulcer จะปวดเวลาที่หิว ถ้ารับ
    ประทานอาหารลงไปจะหายปวด เพราะนำ้าย่อย
    ในกระเพาะมีอาหารไปคลุกเคล้า หลังจากรับ
    ประทานอาหารเข้าไปประมาณ 1 ½ ชั่วโมง จะ
    มีอาการปวดอีกเพราะนำ้าย่อยเข้าไปสัมผัสกับ
    แผลโดยตรง
   Duodenal ulcer จะเกิดขึนภายหลังรับ
                              ้
    ประทานอาหารประมาณ 2-2 ½ ชั่วโมง เพราะ
    ระยะนี้กระเพาะอาหารและลำาไส้ว่าง นำ้าย่อย
    และกรดจึงถูกกับแผล เมื่อรับประทานอาหาร
    เข้าไปอาการเจ็บปวดจะหายไป อาการปวดมัก ulcer
                                           peptic
การรักษา
    พยายามระงับหรือควบคุมอาการ
     เจ็บปวด ช่วยให้แผลหายเร็วขึน อาจ
                                ้
     ทำาได้โดย
     ให้ยาระงับประสาท (Sedative) /
       ยากล่อมประสาท (Tranquilizer)
       Antacid
       H2 receptor antagonists

                                  peptic ulcer
 งดอาหาร   อาหารที่ควรจัดให้ผู้ป่วย
 คือ
  Sippy   diet คือ อาหารเหลวที่ย่อย
   ง่ายที่สดให้สลับกับยาพวกยาลดกรด
           ุ
   (Antacid) ทุก 1-2 ชัวโมง ให้ในราย
                        ่
   ที่มีอาการรุนแรง
  Bland diet คือ อาหารอ่อนย่อยง่าย
   รสจืดไม่ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อ
การรักษา
    การผ่าตัด จะกระทำาเมื่อการรักษา
    ทางยาไม่ได้ผล แผลเป็นเรื้อรัง
    อาการทั่วไปไม่ดีขึ้นมีภาวะแทรกซ้อน
    การผ่าตัดมี 2 วิธี คือ
     การผ่าตัดกระเพาะอาหาร :
      Gastrectomy โดยตัดบริเวณที่หลัง    ่
      กรดออกมา & บริเวณที่เป็นแผลด้วย
     การผ่าตัดเส้นประสาท : Vagotomy
       ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นให้เซลล์ของกระเพาะ ulcer
                                        peptic
การรักษา
 การสอนสุขศึกษา
  ให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับสุขนิสยในการบริโภค
                              ั
   อาหารที่ย่อยง่าย
  การรับประทานอาหารควรเป็นครังละน้อย
                                  ้
   ๆ แต่บ่อยครังเพือช่วยลดการทำางานของ
               ้    ่
   กระเพาะอาหารและลำาไส้ และป้องกันมิให้
   กรดทำาการระคายเคืองต่อเยื่อบุกระเพาะ
   อาหาร
  การรับประทานยาอย่างถูกต้องสมำ่าเสมอ
                                     peptic ulcer
การพยาบาล
  ดูการพยาบาล   Gastritis ค่ะ




                          peptic ulcer
Pancreatitis
ตับอ่อนอักเสบ (Pancreatitis)

 เกิดจากแบคทีเรียหรือไม่ใช่แบคทีเรีย
  เช่น การย่อยเนื้อเยื่อของ ตับอ่อนเอง
  (Autodigestion)
 อุบัติการณ์ พบในเพศชายมากกว่า
  เพศหญิง อายุ 30 – 40 ปี และมี
  ประวัติดื่มสุรามานาน

                                   Pancreatitis
สาเหตุ ตับอ่อนอักเสบ
    เฉียบพลัน
 โรคทางเดินนำ้าดี : นิ่วในทางเดินนำ้าดีและท่อ
  นำ้าดีรวม ทำาให้เพิมแรงดัน
         ่           ่           มีการไหลย้อน
  กลับของนำ้าดีเข้าสูตับอ่อน
                       ่
 แอลกอฮอล์
   กระตุ้นให้ HCl ↑ → Duodenum ปล่อย
     ฮอร์โมน Secretin เข้ากระแสเลือด กระตุ้น
     ให้ตับอ่อนขับหลังนำ้าและ HCO3- มากขึ้น
                         ่
   โปรตีนตกตะกอนไปอุดตันในภายท่อเล็กๆ
     ของตับอ่อน
                                       Pancreatitis
   ภาวะไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง
    (hypertriglyceridemia)
   ภาวะแคลเซียมในเลือดสูง (hypercalcemia)
   หลังผ่าตัดช่องท้อง ทำาให้ตบอ่อนกระทบ
                              ั
    กระเทือน บวม
   การได้รบบาดเจ็บที่ตับอ่อน
           ั
   ยาบางชนิดที่ทำาให้เกิดตับอ่อนอักเสบได้
    เช่น estrogen, furosemide เป็นต้น
   การติดเชือ เช่น mumps, measles,
             ้
    mycoplasma pneumoniae, tuberculosis
   พันธุกรรม ไม่ทราบสาเหตุ
สาเหตุ ตับอ่อนอักเสบ
เรืำอรัง
   สาเหตุจากพิษสุราเรื้อรัง เป็นสาเหตุ
    หลัก
   ภาวะแคลเซียมในเลือดสูง
   ปัจจัยด้านพันธุกรรม
   ภาวะทุพโภชนาการ
   ไม่ทราบสาเหตุ
การวินิจฉัย
 การซักประวัติ เกียวกับการดื่มสุรา โรค
                      ่
  ระบบทางเดินนำ้าดี อาการปวดท้องด้าน
  ขวาหรือบริเวณลินปี่ จะปวดตื้อๆ ลึกๆ
                    ้
  อาจมีร้าวไปที่สีขาง   ้
 การตรวจร่างกาย พบอาการอ่อนเพลีย
  กระสับกระส่าย ท้องอืด กดเจ็บบริเวณ
  ชายโครงหรือสีข้าง อาจพบ Grey
  Turner’s sign คือบริเวณใต้ชายโครง
  หรือสีข้างมีสเขียวคลำ้า หรือพบรอบๆ
               ี
  สะดือมีสนำ้าเงิน (Cullen’s sing) ถ้ามี Pancreatitis
           ี
การวินิจฉัย (ต่อ)
   การตรวจทางห้องปฏิบัตการ ดังนี้
                        ิ
       Serum amylase สูง หลังมีการอักเสบ 2 – 12
        ชั่วโมง นาน 72 ชั่วโมง ถ้านานกว่า 1 สัปดาห์
        แสดงถึงมีภาวะแทรกซ้อน (ค่าปกติ 10 – 180
        U)
       serum lipase และ alkaline phosphatase สูง
        ขึ้น
       WBC สูง
       Urine amylase ปกติถ้ามีการอักเสบจะสูง
        ประมาณ 72 – 96 ชั่วโมงหลังอักเสบ แล้วค่อยๆ
        ลดลง ภายใน 2 สัปดาห์ ถ้าตรวจ Urine
        amylase ใน 24 ชั่วโมง สูงกว่า 5,000 U ถือว่า
   Serum calcium ช่วยบอกความรุนแรง ถ้าตำ่ากว่า
    7 mg% พยากรณ์โรคไม่ดี ค่าจะตำ่าสุดในวันที่ 5 –
    7 หลังมีการอักเสบ
   สัดส่วน amylase : creatinin clearance สูงขึน
                                               ้
 serum calcium ลดตำ่าลง
 plasma glucose สูง

 Upper GI study มองเห็นมีการเคลือนที่
                                   ่
  ของตำาแหน่งกระเพาะอาหารและลำาไส้เล็ก
  ส่วน   ดูโอดีนัม ซึ่งเป็นผลจากถุงนำ้าในตับ
  อ่อน
 CxR พบมีนำ้าคังในช่องเยื่อหุ้มปอด (pleural
                ่
  effusions) โดยเฉพาะด้านซ้าย ซึ่งอาจมี หรือ
  ไม่มี amylase อยูในนำ้าช่องเยือหุ้มปอด
                    ่           ่
  นอกจากนี้อาจพบ Atelectasis , Pneumonit
  is)หรือในรายที่รุนแรงจะพบ pulmonary
  edema
 Plain film abdomen มองเห็น paralytic
  ileus เฉพาะที่พบได้บริเวณใต้ลนปี/ชายโครง
                                  ิ้ ่
  ซ้าย
 (Endoscopic retrograde cholangio-
  pancreatography : ERCP) เห็นท่อตับอ่อน
การรักษา
 เป็นการรักษาแบบประคับประคอง
 ยาแก้ปวด   กลุ่ม Pethidine ไม่นิยมให้
  Morphine เนื่องจากจะเพิ่มการหดเกร็ง
  ของ sphincter of Oddi และท่อตับ
  อ่อนทำาให้ปวดมากขึ้น
 ให้สารนำ้าและส่วนประกอบของเลือด
 งดนำ้าและอาหารจนกว่าอาการปวดจะทุเลา
  และใส่ NG tube c Gomco suction
 ให้ยาลดการหลั่งกรด
                                Pancreatitis
การพยาบาล
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดท้องจากการ
 อักเสบติดเชืำอ / การย่อยเนือเยื่อตับ
                            ำ
 อ่อนเอง
 วัตถุประสงค์ ทุเลาอาการปวดท้องและไม่สุข
  สบาย
 กิจกรรม
   ดูแลด้านจิตใจ ให้การเอาใจใส่ เปิดโอกาสให้
    ระบายความรูสกและรับฟังปัญหาด้วยท่าที
                ้ ึ
    จริงใจ
   fowler’s position เพือช่วยให้กล้ามเนือ
                         ่               ้
                                       Pancreatitis
 ดูแลให้งดนำ้าและอาหารและอธิบาย
  ความจำาเป็นเพื่อช่วยลดการกระตุ้นการ
  ทำางานของตับอ่อน
 ดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
  หลีกเลี่ยงการใช้ Morphine
 ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
การพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะเสียสมดุลของสารนำำา
และเกลือแร่จากการสูญเสีย
ทางอาเจียนและท่อระบาย
  วัตถุประสงค์
  กิจกรรม
     ดูแลให้สารนำ้าทางหลอดเลือดดำาตาม
      แผนการรักษา
     เมื่ออาการทุเลาและแพทย์ให้รับ
      ประทานอาหารได้ ดูแล mouth
      care ทุก 2 – 4 ชั่วโมง หรือN/V
      ช่วยเพิ่มความอยากอาหาร         Pancreatitis
 จัดสิ่งแวดล้อมขณะรับประทานอาหาร

 สังเกตอาการที่ผิดปกติจากการขาด
  K , Na , Ca หากพบรายงานแพทย์
  เพื่อให้ได้รับการแก้ไข
 ส่งตรวจเลือด E’lyte เพื่อติดตามความ
  ก้าวหน้าของการสูญเสียเกลือแร่ตาม
  แผนการรักษา
การพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนของระบบทาง
  เดินหายใจ เนื่องจากมีสารเหลวจากตับ
  อ่อนเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
 วัตถุประสงค์ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
  ระบบทางเดินหายใจ
 กิจกรรม

   ตรวจวัดสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง

   ประเมิน Breath sound ทุกเวรหากพบ
     เสียงแทรกให้รายงานแพทย์     Pancreatitis
 สอนการหายใจที่มีประสิทธิภาพ

 ดูแลให้พักผ่อนทั้งด้านร่างกายและ
  จิตใจ และจัดสิ่งแวดล้อมไม่รบกวนผู้
  ป่วย
 ถ้ามีนำ้าในช่องเยื่อหุ้มปอดและต้องใส่
  ท่อระบาย ดูแลให้ท่อระบายอยู่ใน
  ระบบปิด และไม่มการอุดตัน การเลือน
                      ี              ่
  หลุด และท่านอนที่สุขสบาย
Cholecystitis
การอักเสบของถุงนำำาดีและ
 นิ่วในถุงนำำาดี (Cholecystitis and Gall
 stone)

 นิ่วในถุงนำ้าดีพบได้ประมาณ   ร้อยละ 10
  ของจำานวนประชากร
 มักพบในผู้ป่วยที่มีอายุ 40 ปีขนไป
                                  ึ้
 ส่วนมากมีกำาเนิดอยู่ในถุงนำ้าดี แต่อาจ
  พบได้ในส่วนอื่นของท่อทางเดินนำ้าดี
  โดยเฉพาะท่อนำ้าดีร่วม(Common Bile
  Duct : CBD )
                                    Cholecystitis
ปัจจัยที่ทำาให้เกิดนิ่ว
   Metabolic factors :
    Cholesteral, Calcium
    bilirunate, mix
   infection:
    streptococci coliform /
    typhoid
   Stasis




                              Cholecystitis
การวินิจฉัย
 Hx :
   ปวดท้องหลังรับประทานอาหารมื้อหนัก
    บริเวณEpigastrium อาจจะร้าวไปที่สะบัก
    ขวาหรือไหล่ขวาและในบางรายอาการจะ
    เหมือนกับ angina pectoris อาจมี
    อาการปวดเป็นพัก ๆ ในระยะเวลา 30-60
    นาที
   ปวดจนตัวงอบิดไปมา (colicky pain)

 PE : มีไข้ ตัวเหลืองถ้ามีนิ่วในท่อนำ้าดีรวม
                                           ่
  ด้วย เมือกดหน้าท้อง พบ Murphy’s sign
          ่
                                        Cholecystitis
   Lab :
     CBC พบ PMN สูงผิดปกติ

     Liver Function Teste : LFT พบ
      alkaline phosphatase สูงกว่าปกติ
     plain abdomen ถ้าเป็นนิ่วที่มีแคลเซียมอยู่
      ด้วยจะเห็นเป็นเงาของนิ่ว
     ultrasound ซึ่งวินจฉัยได้แม่นยำาและสะดวก
                        ิ
      มาก
การรักษา
   ระยะปวดท้อง NPO โดยเฉพาะลดอาหารมัน ซึ่ง
    กระตุนให้มีการบีบตัวของ ถุงนำ้าดี
         ้
   ใส่ N.G. Tube เพื่อดูดกรด ลม และนำ้าออกให้
    ลำาไส้ได้พัก
   ยาแก้ปวด :
       Baralgan ฉีด q 4 hr
       Pethidine 50 mg IM หรือ IV q 6 hr
       ไม่ควรฉีด Morphine เพราะไปเพิ่ม sphincter tone ที่
        sphineter of oddi ทำาให้มีอาการปวดท้องมากขึ้น และ
        อาจทำาให้เกิดอาการ Pancreatitis
   มีอาการปวดมาก และไข้สูง ควรนึกถึง gangrene
    ของ gall bladder ควรให้ยาปฏิชีวนะ
   การผ่าตัด จะทำาเมื่อมีการอักเสบลดลง
                                                  Cholecystitis
การพยาบาล
 เสียงต่อการติดเชือเนืองจากการอุดกันของท่อ
     ่              ้   ่             ้
  ระบายรูปตัวที (T-tube)
 วัตถุประสงค์ ไม่มีการติดเชือ ้
 กิจกรรม

   สังเกตลักษณะ สี และบันทึกปริมาณนำ้าดีที่
    ระบายออกมา รายงานแพทย์เมื่อนำ้าดีออกมา
    จำานวนมากผิดปกติ หรือมีลกษณะที่เปลียน
                                 ั            ่
    จากนำ้าดีเป็นสีเลือด หรือหนอง
   ถ้านำ้าดีไม่ระบายออกมากอาจมีการรัวซึมเข้าไป
                                        ่
    ในช่องท้อง (ระยะหลังผ่าตัดนำ้าดีระบาย Cholecystitis
 ดูแลไม่ให้มีการไหลย้อนกลับของนำ้าดี
  ทางท่อระบาย โดยแขวนถุงรองรับให้
  อยู่ตำ่ากว่าเอวเสมอ และไม่ให้สายหัก
  พับ งอ และอยู่ในระบบปิด
 ประเมินอาการแสดงว่าท่อระบายอุด
  ตัน เช่น ปวดบริเวณชายโครงขวามาก
  ขึ้น มีนำ้าดีรั่วซึมออกมารอบๆ ท่อ
  คลื่นไส้ ตัวและตาเหลืองมากขึ้น
การพยาบาล
 ปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องเนื่องจากขาดความรู้
  เกี่ยวกับการดูแลตนเองหลังผ่าตัด
 วัตถุประสงค์ มีความรู้ ความเข้าใจและ
  สามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม
 กิจกรรม
  อธิบายเกียวกับการเกิดโรค สาเหตุ และ
            ่
   แนวทางการรักษา
  เปิดโอกาสให้ผู้ปวยซักถาม
                   ่
                                    Cholecystitis
   แนะนำาเกียวกับการรับประทานอาหาร
             ่
     หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง   ในระยะ 4 – 6
      สัปดาห์แรก
     อาจเพิมขึ้นทีละน้อยหากไม่มีอาการท้องอืด
            ่
      และไม่ควรรับประทานไขมันมากเกินไป
   แนะนำาให้สังเกตอาการผิดปกติ เช่น
     ตัวและตาเหลืองเพิมขึ้น
                       ่
     คันตามผิวหนังมากขึ้น
     อุจจาระสีซีด
     ปัสสาวะสีเหลืองเข้ม
     ท้องอืด
            หรือมีนำ้าดีรั่วออกมารอบๆ ท่อ
     ระบายเป็นสีเขียวหรือนำ้าตาลเข้ม หรือมี

More Related Content

What's hot

กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Utai Sukviwatsirikul
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceLoveis1able Khumpuangdee
 
9789740330783
97897403307839789740330783
9789740330783CUPress
 
Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Prachaya Sriswang
 
Common problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyCommon problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyKrongdai Unhasuta
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ใช้เครื่องช่วยหายใจSusheewa Mulmuang
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Icxise RevenClaw
 

What's hot (20)

กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
 
DENGUE
DENGUE DENGUE
DENGUE
 
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
9789740330783
97897403307839789740330783
9789740330783
 
Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1
 
Common problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyCommon problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderly
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
 

Similar to การปฐมพยาบาล

โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)Wan Ngamwongwan
 
อาการ
อาการอาการ
อาการSuthisa Sa
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงtechno UCH
 
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nursetaem
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
โรคเบาหวาน Help Time M1/16
โรคเบาหวาน Help Time M1/16โรคเบาหวาน Help Time M1/16
โรคเบาหวาน Help Time M1/16Narada_merry
 
Review of the drug treatment of binge eating disorder.pdf
Review of the drug treatment of binge eating disorder.pdfReview of the drug treatment of binge eating disorder.pdf
Review of the drug treatment of binge eating disorder.pdfssuser7a65a6
 

Similar to การปฐมพยาบาล (20)

โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 
GERD
GERDGERD
GERD
 
Liver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับLiver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับ
 
อาการ
อาการอาการ
อาการ
 
Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
 
Management of patient with asthma
Management of patient with asthmaManagement of patient with asthma
Management of patient with asthma
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
Symptoms management2
Symptoms management2Symptoms management2
Symptoms management2
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
โรคเบาหวาน Help Time M1/16
โรคเบาหวาน Help Time M1/16โรคเบาหวาน Help Time M1/16
โรคเบาหวาน Help Time M1/16
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
Review of the drug treatment of binge eating disorder.pdf
Review of the drug treatment of binge eating disorder.pdfReview of the drug treatment of binge eating disorder.pdf
Review of the drug treatment of binge eating disorder.pdf
 

More from an1030

ว่าที่ ร.ต.วิทยา คุ้มภัย 1
ว่าที่ ร.ต.วิทยา  คุ้มภัย 1ว่าที่ ร.ต.วิทยา  คุ้มภัย 1
ว่าที่ ร.ต.วิทยา คุ้มภัย 1an1030
 
ว่าที่ ร.ต.วิทยา คุ้มภัย
ว่าที่ ร.ต.วิทยา  คุ้มภัยว่าที่ ร.ต.วิทยา  คุ้มภัย
ว่าที่ ร.ต.วิทยา คุ้มภัยan1030
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาan1030
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่an1030
 
เรื่องฟัน
เรื่องฟันเรื่องฟัน
เรื่องฟันan1030
 
เรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟันเรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟันan1030
 

More from an1030 (7)

ว่าที่ ร.ต.วิทยา คุ้มภัย 1
ว่าที่ ร.ต.วิทยา  คุ้มภัย 1ว่าที่ ร.ต.วิทยา  คุ้มภัย 1
ว่าที่ ร.ต.วิทยา คุ้มภัย 1
 
ว่าที่ ร.ต.วิทยา คุ้มภัย
ว่าที่ ร.ต.วิทยา  คุ้มภัยว่าที่ ร.ต.วิทยา  คุ้มภัย
ว่าที่ ร.ต.วิทยา คุ้มภัย
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่
 
เรื่องฟัน
เรื่องฟันเรื่องฟัน
เรื่องฟัน
 
เรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟันเรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟัน
 

การปฐมพยาบาล

  • 2. Outline ความผิดปกติเกี่ยวกับ การย่อยและดูดซึม  GERD  Gastritis  Peptic ulcer  Pancreatitis  Cholecystitis  Liver cirrhosis  Liver abscess  Hepatitis
  • 3. Gastro-esophageal reflux disease :GERD  ภาวะกรดไหลย้อน  อาการและอาการแสดง  อาการร้อนทรวงอก มักจะเป็นผู้ใหญ่ที่ตัว ใหญ่และไม่ค่อยออกกำาลังกาย  อาการเรอกลิ่นอาหารที่เพิ่งรับประทานเข้าไป  ถ้าอาการใน ข้อ 1 และ 2 เป็นบ่อย ๆ อาจพบ อาการอ่อนเพลียนอนไม่หลับเพราะเจ็บและ อาจแน่นหน้าอก จนแยกไม่ออกว่ามันเป็นโรค ของเส้นเลือดหัวใจตีบ Coronary Heart Disease
  • 4. พยาธิสภาพ  GERD เกิดเมื่อ หูรูดบนหรือล่างหย่อนยานปิด ไม่มิด หลอดอาหารไม่บีบหรือรูดลงเพราะ ประสาทของหูรูดเสีย อันเกิดจากโรคบาง อย่าง หลอดอาหารแข็งตัวไม่ยดหยุน หรือจาก ื ่ การที่หลอดอาหารอักเสบบ่อยๆ เพราะอาหาร ในกระเพาะสำารอกขึำนมาผ่านหลอดอาหาร  ทำาให้มีแผลเป็นๆ หายๆ อย่างนีำ เมื่อแผลหาย แล้วก็ทำาให้หลอดอาหารแข็ง เป็นแผลหลายๆ แห่ง อาจจะมีโอกาสแตกได้ เรียกว่า Barrett's Esophagus  ถ้ากะบังลมเกิดหย่อนยาน หูรูดหลอดอาหารก็
  • 5.
  • 6.
  • 7. การวินิจฉัย  ประวัติอาการแสบร้อนบริเวณยอดอก การใช้ยา ประเภทแก้ปวดท้องหรือท้องเดินบ่อยๆ เพราะ พวกนี้ทำาให้หูรูดของหลอดอาหารหย่อนยาน  การตรวจร่างกายพบอาการเจ็บหน้าอก ปวดแสบ ร้อนบริเวณทรวงถึงในปาก  การตรวจทางห้องปฏิบติการ โดยการทำา ั Barium Esophagography ให้กลืนสารทึบรังสี ลงไปในกระเพาะ แล้วถ่ายภาพขณะที่สารทึบ เคลือบหลอดอาหารและสารอยู่ในกระเพาะ อาหาร
  • 8. การรักษา  การรักษาทางอายุรกรรม ได้แก่  H2 receptor antagonists พวกนีลดกรดได้ ้ นานถึง แปดชั่วโมง ได้แก่ Tagamet ,Zantag, Pepcid  Proton pump inhibitor ช่วยลดกรด ได้แก่ Prevacid, Prilosec, Nexium  การรักษาทางศัลยกรรม โดยการผูกถุง กระเพาะอาหารส่วนต้นหรือที่หรูด ส่วน ู Hiatus Hernia ก็ต้องผ่าตัดดันเอากระเพาะ อาหารส่วนที่เลือนเข้าเหนือกระบังลมหรือใน ่
  • 9. การพยาบาล  ดู Esophagitis
  • 11. กระเพาะอาหารอักเสบ (Gastritis) สาเหตุ  ความเครียดทางร่างกาย  พฤติกรรมสุขภาพ เช่น การดื่มสุรา ชา กาแฟ ยาแก้ปวด การรับประทานอาหาร ไม่เป็นเวลา  ภูมิต้านทานตำ่าทำาให้ดแลสุขภาพตนเอง ู ไม่เพียงพอ  การติดเชือ เช่น เชื้อ Helicobacter ้ pylori ซิฟิลส วัณโรค ิ Gastritis
  • 12. อาการ  ปวดท้อง ปวดแสบบริเวณลิ้นปี่หรือ ยอดอก สัมพันธ์กับการรับประทาน อาหาร เช่น ปวดเวลาหิวจัด หรือหลัง ตื่นนอนกลางดึก  เบื่ออาหาร (anorexia)  อาหารไม่ย่อย แสบร้อนในอก (heart burn) ภายหลังรับประทานอาหาร และพบอาการเรอได้  มีอาการคลื่นไส้อาเจียน โดยเฉพาะ Gastritis
  • 13. การวินิจฉัย  Hx : อาการปวดท้อง ไข้ ความเครียดทางร่างกายและจิตใจ การติดเชื้อในร่างกาย  PE : ท้องอืด แน่นท้อง และกดเจ็บ บริเวณลิ้นปี่  Lab  ตรวจ CBC พบเม็ดเลือดขาวสูงขึน ้  การส่องกล้องเข้ากระเพาะอาหาร (Gastroscopy) Gastritis
  • 15. การรักษา  Antacid : Alummilk  H2 receptor antagonists : Cimetidine  Antibiotic  Operation  Gastrectomy  Gastroduodenostomy : Billroth I  Gastrojejunostomy : Billroth II Gastritis
  • 16. Total gastrectomy Subtotal gastrectomy Gastritis
  • 18.  Operation TV SV (ต่อ)  Vagotomy PGV  Truncal vagotomy  Selective vagotomy  Proximal gastric vagotomy
  • 19. การพยาบาล ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดจุกเสียด แน่น ท้อง  วัตถุประสงค์ ทุเลาอาการปวดท้อง  กิจกรรม  ประเมินความปวดจากท่าทาง คำาพูดบ่น หรือ Visual analog scale / Numeric scale โดยให้คะแนน 0 – 10 คะแนน  ประเมินอาการทางหน้าท้อง โดยฟัง bowel sound  ส่งเสริมให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สุขสบาย Gastritis
  • 20.  แนะนำาการหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงให้เกิด ภาวะกระเพาะอาหารอักเสบ เช่นการ ลดการดื่มเหล้า การสูบบุหรี่ ชา กาแฟ ยาแก้ปวด เป็นต้น  การช่วยเบี่ยงเบนความสนใจจากความ ปวด เช่น ทำากิจกรรมหย่อนใจที่ผู้ป่วย ชอบ  การให้ยาแก้ปวด ยาลดกรดใน
  • 21. การพยาบาล  เสี่ยงต่อภาวะเสียสมดุลของสาร อาหารเนื่องจากการย่อยและการดูด ซึมบกพร่อง  วัตถุประสงค์ ได้รับสารอาหารเพียงพอ  กิจกรรม  NPO ตามแผนการรักษาและให้ IVF ชดเชยเพื่อลดการทำางานของกระเพาะ อาหาร ลดการหลั่งกรดและนำ้าย่อย จากกระเพาะอาหาร Gastritis
  • 22.  เมื่ออาการอักเสบเริ่มทุเลาให้เริ่มรับ ประทานอาหารเหลวจำาพวกนม นำ้าข้าว สลับกับยาลดกรดทุก 1-2 ชั่วโมง (sippy diet) ยกเว้นเวลาหลับ จากนั้น ค่อยๆ เปลี่ยนเป็นอาหารอ่อนย่อยง่าย รสไม่เผ็ดจัด รับประทานทีละน้อย และเพิ่มมื้อเป็น 6 – 8 มื้อ
  • 23. การพยาบาล เสี่ยงต่อภาวะ Dumping syndrome เนื่องจาก การตัดกระเพาะ อาหารออก  ภาวะ Dumping syndrome เป็นกลุมอาการ ่ ที่ผู้ป่วยมีความผิดปกติภายหลังรับประทาน อาหาร พบภายหลังการผ่าตัดแบบ Billroth II มากกว่า Billroth I แบ่งเป็น  Early Dumping syndrome  Late Dumping syndrome Gastritis
  • 24. Early Dumping syndrome : แน่นท้องบริเวณลิ้นปี่ ใจสั่น เหงื่อออก ชีพจรเร็ว อาจมี อาเจียนหรือถ่ายอุจจาระ  มีอาการของ hypovolumia  Late Dumping syndrome สัมพันธ์กับการที่กลูโคสซึมเข้า สู่กระแสเลือดอย่างรวดเร็ว ทำาให้ BS↑ เป็นผลให้ร่างกาย หลั่งอินสุลินห กว่าปกติทำาให้ BS↓  มีอาการหลังจากรับประทาน อาหารประมาณ 2 – 3 ชั่วโมง โดยจะมีอาการของ Gastritis
  • 25. การพยาบาล  วัตถุประสงค์ ปลอดภัยจากภาวะ Dumping syndrome  กิจกรรม  แนะนำาอาหารที่มีโปรตีนสูง ไขมันสูง แต่มีคาร์โบไฮเดรตตำ่า  ควรรับประทานอาหารที่ค่อนข้างแห้ง และไม่ควรดื่มนำ้าปริมาณมากๆ พร้อม กับอาหาร ควรดื่มนำ้าระหว่างมื้อของ อาหาร Gastritis
  • 26.  ให้นอนพักในท่าศีรษะสูง ภายหลังรับ ประทานอาหารประมาณ 20 – 30 นาที  แก้ไขภาวะซีดและการขาดนำ้าและเกลือแร่  กรณี Late Dumping syndrome การรับ ประทานนำ้าตาลหรืออาหารจะช่วยให้อาการ ดีขนึ้  ผู้ปวยมักจะมีอาการอยูระยะหนึ่งแล้วจะ ่ ่ ค่อยๆ ปรับตัวได้จนไม่มีอาการในที่สุด
  • 28. แผลในกระเพาะอาหารและลำาไส้ (peptic ulcer)  แผลเกิดขึ้นที่หลอดอาหาร (Esophagus), กระเพาะอาหาร (stomach) , Pyloric canal และ ลำาไส้เล็กส่วนต้น (Duodenum)  ส่วนที่พบมากที่สุด คือ กระเพาะ อาหาร เรียกว่า Gastric ulcer และ ลำาไส้เล็กส่วนต้น เรียกว่า Duodenal ulcer peptic ulcer
  • 29. Gastric ulcer แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ Acute กับ Chronic โดย  Acute gastric ulcer เป็นแผลเล็ก ๆ ทัว ่ ในชั้น Mucosa มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น รักษาให้หายได้ในระยะสั้น  Chronic gastric ulcer เป็นแผลเรือรัง้ และกินลึกถึงชั้นกล้ามเนือ แผลจะหายช้า ้ และมีโอกาสเป็นแผลเป็นได้  Duodenal ulcer แผลมักจะกินลึกถึง ชัน Serous membrane เป็นเรือรัง ้ ้ peptic ulcer รักษาทางยาไม่หายขาด
  • 31. สาเหตุ  ร้อยละ 50 : อารมณ์ตึงเครียด  การเปลียนแปลงของ Mucous membrane ที่ ่ ทำาหน้าที่หลังนำ้าย่อย และการทำางานมากเกิน ่ ไป  ความต้านทานของเยือบุของกระเพาะอาหาร ่ หรือลำาไส้เล็กเปลียนไป เช่น จากการถูกระคาย ่ เคืองจากยาบางชนิด ได้แก่ Salicylic acid, Steroid  กินไม่เป็นเวลา รสจัด เคี้ยวไม่ละเอียด ดืมสุรา ่ มาก สูบบุหรีจัด ่ peptic ulcer
  • 32. อาการและอาการแสดง  ปวดท้องบริเวณลิ้นปี่ลักษณะปวดไม่ กว้าง สามารถชี้ด้วยนิ้วเดียว  การที่แผลถูกสัมผัสกับกรดและนำ้าย่อย จะทำาให้มีอาการปวดแสบปวดร้อน บริเวณ Epigastrium  ต่อไปจะปวดแบบตื้อๆ และแน่นท้อง peptic ulcer
  • 33. อาการและอาการแสดง  Gastric ulcer จะปวดเวลาที่หิว ถ้ารับ ประทานอาหารลงไปจะหายปวด เพราะนำ้าย่อย ในกระเพาะมีอาหารไปคลุกเคล้า หลังจากรับ ประทานอาหารเข้าไปประมาณ 1 ½ ชั่วโมง จะ มีอาการปวดอีกเพราะนำ้าย่อยเข้าไปสัมผัสกับ แผลโดยตรง  Duodenal ulcer จะเกิดขึนภายหลังรับ ้ ประทานอาหารประมาณ 2-2 ½ ชั่วโมง เพราะ ระยะนี้กระเพาะอาหารและลำาไส้ว่าง นำ้าย่อย และกรดจึงถูกกับแผล เมื่อรับประทานอาหาร เข้าไปอาการเจ็บปวดจะหายไป อาการปวดมัก ulcer peptic
  • 34. การรักษา  พยายามระงับหรือควบคุมอาการ เจ็บปวด ช่วยให้แผลหายเร็วขึน อาจ ้ ทำาได้โดย  ให้ยาระงับประสาท (Sedative) / ยากล่อมประสาท (Tranquilizer)  Antacid  H2 receptor antagonists peptic ulcer
  • 35.  งดอาหาร อาหารที่ควรจัดให้ผู้ป่วย คือ  Sippy diet คือ อาหารเหลวที่ย่อย ง่ายที่สดให้สลับกับยาพวกยาลดกรด ุ (Antacid) ทุก 1-2 ชัวโมง ให้ในราย ่ ที่มีอาการรุนแรง  Bland diet คือ อาหารอ่อนย่อยง่าย รสจืดไม่ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อ
  • 36. การรักษา  การผ่าตัด จะกระทำาเมื่อการรักษา ทางยาไม่ได้ผล แผลเป็นเรื้อรัง อาการทั่วไปไม่ดีขึ้นมีภาวะแทรกซ้อน การผ่าตัดมี 2 วิธี คือ  การผ่าตัดกระเพาะอาหาร : Gastrectomy โดยตัดบริเวณที่หลัง ่ กรดออกมา & บริเวณที่เป็นแผลด้วย  การผ่าตัดเส้นประสาท : Vagotomy ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นให้เซลล์ของกระเพาะ ulcer peptic
  • 37. การรักษา  การสอนสุขศึกษา  ให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับสุขนิสยในการบริโภค ั อาหารที่ย่อยง่าย  การรับประทานอาหารควรเป็นครังละน้อย ้ ๆ แต่บ่อยครังเพือช่วยลดการทำางานของ ้ ่ กระเพาะอาหารและลำาไส้ และป้องกันมิให้ กรดทำาการระคายเคืองต่อเยื่อบุกระเพาะ อาหาร  การรับประทานยาอย่างถูกต้องสมำ่าเสมอ peptic ulcer
  • 40. ตับอ่อนอักเสบ (Pancreatitis)  เกิดจากแบคทีเรียหรือไม่ใช่แบคทีเรีย เช่น การย่อยเนื้อเยื่อของ ตับอ่อนเอง (Autodigestion)  อุบัติการณ์ พบในเพศชายมากกว่า เพศหญิง อายุ 30 – 40 ปี และมี ประวัติดื่มสุรามานาน Pancreatitis
  • 41. สาเหตุ ตับอ่อนอักเสบ เฉียบพลัน  โรคทางเดินนำ้าดี : นิ่วในทางเดินนำ้าดีและท่อ นำ้าดีรวม ทำาให้เพิมแรงดัน ่ ่ มีการไหลย้อน กลับของนำ้าดีเข้าสูตับอ่อน ่  แอลกอฮอล์  กระตุ้นให้ HCl ↑ → Duodenum ปล่อย ฮอร์โมน Secretin เข้ากระแสเลือด กระตุ้น ให้ตับอ่อนขับหลังนำ้าและ HCO3- มากขึ้น ่  โปรตีนตกตะกอนไปอุดตันในภายท่อเล็กๆ ของตับอ่อน  Pancreatitis
  • 42. ภาวะไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง (hypertriglyceridemia)  ภาวะแคลเซียมในเลือดสูง (hypercalcemia)  หลังผ่าตัดช่องท้อง ทำาให้ตบอ่อนกระทบ ั กระเทือน บวม  การได้รบบาดเจ็บที่ตับอ่อน ั  ยาบางชนิดที่ทำาให้เกิดตับอ่อนอักเสบได้ เช่น estrogen, furosemide เป็นต้น  การติดเชือ เช่น mumps, measles, ้ mycoplasma pneumoniae, tuberculosis  พันธุกรรม ไม่ทราบสาเหตุ
  • 43. สาเหตุ ตับอ่อนอักเสบ เรืำอรัง  สาเหตุจากพิษสุราเรื้อรัง เป็นสาเหตุ หลัก  ภาวะแคลเซียมในเลือดสูง  ปัจจัยด้านพันธุกรรม  ภาวะทุพโภชนาการ  ไม่ทราบสาเหตุ
  • 44. การวินิจฉัย  การซักประวัติ เกียวกับการดื่มสุรา โรค ่ ระบบทางเดินนำ้าดี อาการปวดท้องด้าน ขวาหรือบริเวณลินปี่ จะปวดตื้อๆ ลึกๆ ้ อาจมีร้าวไปที่สีขาง ้  การตรวจร่างกาย พบอาการอ่อนเพลีย กระสับกระส่าย ท้องอืด กดเจ็บบริเวณ ชายโครงหรือสีข้าง อาจพบ Grey Turner’s sign คือบริเวณใต้ชายโครง หรือสีข้างมีสเขียวคลำ้า หรือพบรอบๆ ี สะดือมีสนำ้าเงิน (Cullen’s sing) ถ้ามี Pancreatitis ี
  • 45. การวินิจฉัย (ต่อ)  การตรวจทางห้องปฏิบัตการ ดังนี้ ิ  Serum amylase สูง หลังมีการอักเสบ 2 – 12 ชั่วโมง นาน 72 ชั่วโมง ถ้านานกว่า 1 สัปดาห์ แสดงถึงมีภาวะแทรกซ้อน (ค่าปกติ 10 – 180 U)  serum lipase และ alkaline phosphatase สูง ขึ้น  WBC สูง  Urine amylase ปกติถ้ามีการอักเสบจะสูง ประมาณ 72 – 96 ชั่วโมงหลังอักเสบ แล้วค่อยๆ ลดลง ภายใน 2 สัปดาห์ ถ้าตรวจ Urine amylase ใน 24 ชั่วโมง สูงกว่า 5,000 U ถือว่า
  • 46. Serum calcium ช่วยบอกความรุนแรง ถ้าตำ่ากว่า 7 mg% พยากรณ์โรคไม่ดี ค่าจะตำ่าสุดในวันที่ 5 – 7 หลังมีการอักเสบ  สัดส่วน amylase : creatinin clearance สูงขึน ้  serum calcium ลดตำ่าลง  plasma glucose สูง  Upper GI study มองเห็นมีการเคลือนที่ ่ ของตำาแหน่งกระเพาะอาหารและลำาไส้เล็ก ส่วน ดูโอดีนัม ซึ่งเป็นผลจากถุงนำ้าในตับ อ่อน
  • 47.  CxR พบมีนำ้าคังในช่องเยื่อหุ้มปอด (pleural ่ effusions) โดยเฉพาะด้านซ้าย ซึ่งอาจมี หรือ ไม่มี amylase อยูในนำ้าช่องเยือหุ้มปอด ่ ่ นอกจากนี้อาจพบ Atelectasis , Pneumonit is)หรือในรายที่รุนแรงจะพบ pulmonary edema  Plain film abdomen มองเห็น paralytic ileus เฉพาะที่พบได้บริเวณใต้ลนปี/ชายโครง ิ้ ่ ซ้าย  (Endoscopic retrograde cholangio- pancreatography : ERCP) เห็นท่อตับอ่อน
  • 48. การรักษา  เป็นการรักษาแบบประคับประคอง  ยาแก้ปวด กลุ่ม Pethidine ไม่นิยมให้ Morphine เนื่องจากจะเพิ่มการหดเกร็ง ของ sphincter of Oddi และท่อตับ อ่อนทำาให้ปวดมากขึ้น  ให้สารนำ้าและส่วนประกอบของเลือด  งดนำ้าและอาหารจนกว่าอาการปวดจะทุเลา และใส่ NG tube c Gomco suction  ให้ยาลดการหลั่งกรด  Pancreatitis
  • 49. การพยาบาล ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดท้องจากการ อักเสบติดเชืำอ / การย่อยเนือเยื่อตับ ำ อ่อนเอง  วัตถุประสงค์ ทุเลาอาการปวดท้องและไม่สุข สบาย  กิจกรรม  ดูแลด้านจิตใจ ให้การเอาใจใส่ เปิดโอกาสให้ ระบายความรูสกและรับฟังปัญหาด้วยท่าที ้ ึ จริงใจ  fowler’s position เพือช่วยให้กล้ามเนือ ่ ้ Pancreatitis
  • 50.  ดูแลให้งดนำ้าและอาหารและอธิบาย ความจำาเป็นเพื่อช่วยลดการกระตุ้นการ ทำางานของตับอ่อน  ดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา หลีกเลี่ยงการใช้ Morphine  ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
  • 51. การพยาบาล เสี่ยงต่อภาวะเสียสมดุลของสารนำำา และเกลือแร่จากการสูญเสีย ทางอาเจียนและท่อระบาย  วัตถุประสงค์  กิจกรรม  ดูแลให้สารนำ้าทางหลอดเลือดดำาตาม แผนการรักษา  เมื่ออาการทุเลาและแพทย์ให้รับ ประทานอาหารได้ ดูแล mouth care ทุก 2 – 4 ชั่วโมง หรือN/V ช่วยเพิ่มความอยากอาหาร Pancreatitis
  • 52.  จัดสิ่งแวดล้อมขณะรับประทานอาหาร  สังเกตอาการที่ผิดปกติจากการขาด K , Na , Ca หากพบรายงานแพทย์ เพื่อให้ได้รับการแก้ไข  ส่งตรวจเลือด E’lyte เพื่อติดตามความ ก้าวหน้าของการสูญเสียเกลือแร่ตาม แผนการรักษา
  • 53. การพยาบาล เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนของระบบทาง เดินหายใจ เนื่องจากมีสารเหลวจากตับ อ่อนเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด  วัตถุประสงค์ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน ระบบทางเดินหายใจ  กิจกรรม  ตรวจวัดสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง  ประเมิน Breath sound ทุกเวรหากพบ เสียงแทรกให้รายงานแพทย์ Pancreatitis
  • 54.  สอนการหายใจที่มีประสิทธิภาพ  ดูแลให้พักผ่อนทั้งด้านร่างกายและ จิตใจ และจัดสิ่งแวดล้อมไม่รบกวนผู้ ป่วย  ถ้ามีนำ้าในช่องเยื่อหุ้มปอดและต้องใส่ ท่อระบาย ดูแลให้ท่อระบายอยู่ใน ระบบปิด และไม่มการอุดตัน การเลือน ี ่ หลุด และท่านอนที่สุขสบาย
  • 56. การอักเสบของถุงนำำาดีและ นิ่วในถุงนำำาดี (Cholecystitis and Gall stone)  นิ่วในถุงนำ้าดีพบได้ประมาณ ร้อยละ 10 ของจำานวนประชากร  มักพบในผู้ป่วยที่มีอายุ 40 ปีขนไป ึ้  ส่วนมากมีกำาเนิดอยู่ในถุงนำ้าดี แต่อาจ พบได้ในส่วนอื่นของท่อทางเดินนำ้าดี โดยเฉพาะท่อนำ้าดีร่วม(Common Bile Duct : CBD ) Cholecystitis
  • 57. ปัจจัยที่ทำาให้เกิดนิ่ว  Metabolic factors : Cholesteral, Calcium bilirunate, mix  infection: streptococci coliform / typhoid  Stasis Cholecystitis
  • 58. การวินิจฉัย  Hx :  ปวดท้องหลังรับประทานอาหารมื้อหนัก บริเวณEpigastrium อาจจะร้าวไปที่สะบัก ขวาหรือไหล่ขวาและในบางรายอาการจะ เหมือนกับ angina pectoris อาจมี อาการปวดเป็นพัก ๆ ในระยะเวลา 30-60 นาที  ปวดจนตัวงอบิดไปมา (colicky pain)  PE : มีไข้ ตัวเหลืองถ้ามีนิ่วในท่อนำ้าดีรวม ่ ด้วย เมือกดหน้าท้อง พบ Murphy’s sign ่ Cholecystitis
  • 59. Lab :  CBC พบ PMN สูงผิดปกติ  Liver Function Teste : LFT พบ alkaline phosphatase สูงกว่าปกติ  plain abdomen ถ้าเป็นนิ่วที่มีแคลเซียมอยู่ ด้วยจะเห็นเป็นเงาของนิ่ว  ultrasound ซึ่งวินจฉัยได้แม่นยำาและสะดวก ิ มาก
  • 60. การรักษา  ระยะปวดท้อง NPO โดยเฉพาะลดอาหารมัน ซึ่ง กระตุนให้มีการบีบตัวของ ถุงนำ้าดี ้  ใส่ N.G. Tube เพื่อดูดกรด ลม และนำ้าออกให้ ลำาไส้ได้พัก  ยาแก้ปวด :  Baralgan ฉีด q 4 hr  Pethidine 50 mg IM หรือ IV q 6 hr  ไม่ควรฉีด Morphine เพราะไปเพิ่ม sphincter tone ที่ sphineter of oddi ทำาให้มีอาการปวดท้องมากขึ้น และ อาจทำาให้เกิดอาการ Pancreatitis  มีอาการปวดมาก และไข้สูง ควรนึกถึง gangrene ของ gall bladder ควรให้ยาปฏิชีวนะ  การผ่าตัด จะทำาเมื่อมีการอักเสบลดลง Cholecystitis
  • 61. การพยาบาล  เสียงต่อการติดเชือเนืองจากการอุดกันของท่อ ่ ้ ่ ้ ระบายรูปตัวที (T-tube)  วัตถุประสงค์ ไม่มีการติดเชือ ้  กิจกรรม  สังเกตลักษณะ สี และบันทึกปริมาณนำ้าดีที่ ระบายออกมา รายงานแพทย์เมื่อนำ้าดีออกมา จำานวนมากผิดปกติ หรือมีลกษณะที่เปลียน ั ่ จากนำ้าดีเป็นสีเลือด หรือหนอง  ถ้านำ้าดีไม่ระบายออกมากอาจมีการรัวซึมเข้าไป ่ ในช่องท้อง (ระยะหลังผ่าตัดนำ้าดีระบาย Cholecystitis
  • 62.  ดูแลไม่ให้มีการไหลย้อนกลับของนำ้าดี ทางท่อระบาย โดยแขวนถุงรองรับให้ อยู่ตำ่ากว่าเอวเสมอ และไม่ให้สายหัก พับ งอ และอยู่ในระบบปิด  ประเมินอาการแสดงว่าท่อระบายอุด ตัน เช่น ปวดบริเวณชายโครงขวามาก ขึ้น มีนำ้าดีรั่วซึมออกมารอบๆ ท่อ คลื่นไส้ ตัวและตาเหลืองมากขึ้น
  • 63. การพยาบาล  ปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องเนื่องจากขาดความรู้ เกี่ยวกับการดูแลตนเองหลังผ่าตัด  วัตถุประสงค์ มีความรู้ ความเข้าใจและ สามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม  กิจกรรม  อธิบายเกียวกับการเกิดโรค สาเหตุ และ ่ แนวทางการรักษา  เปิดโอกาสให้ผู้ปวยซักถาม ่ Cholecystitis
  • 64. แนะนำาเกียวกับการรับประทานอาหาร ่  หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง ในระยะ 4 – 6 สัปดาห์แรก  อาจเพิมขึ้นทีละน้อยหากไม่มีอาการท้องอืด ่ และไม่ควรรับประทานไขมันมากเกินไป  แนะนำาให้สังเกตอาการผิดปกติ เช่น  ตัวและตาเหลืองเพิมขึ้น ่  คันตามผิวหนังมากขึ้น  อุจจาระสีซีด  ปัสสาวะสีเหลืองเข้ม  ท้องอืด หรือมีนำ้าดีรั่วออกมารอบๆ ท่อ ระบายเป็นสีเขียวหรือนำ้าตาลเข้ม หรือมี