SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  41
Télécharger pour lire hors ligne
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
1
ลาดับและอนุกรม
ลาดับและอนุกรมเป็นหัวข้อที่ออกในข้อสอบ PAT1 มากที่สุด ซึ่งในช่วงหลังข้อสอบมักจะออก
ค่อนข้างยากและพลิกแพลงทุกๆปี สาหรับในบทนี้ จะศึกษาหัวข้อหลักๆ 4 อย่าง คือ ลาดับจากัด อนุกรม
จากัด ลิมิตของลาดับอนันต์ และ ผลบวกของอนุกรมอนันต์ครับ
ลาดับและอนุกรม
1. ลาดับ
2. สัญลักษณ์แทนการบวก
3. อนุกรม
4. ลิมิตของลาดับอนันต์
6. คุณสมบัติบางประการเกี่ยวกับ
ลาดับอนันต์และอนุกรมอนันต์
5. ผลบวกของอนุกรมอนันต์
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
2
1. ลาดับ
ลาดับ (Sequence) คือ ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นจานวนเต็มบวก n ตัวแรก หรือ มีโดเมนเป็นจานวนนับ
(หรือ กล่าวง่ายๆว่าลาดับ คือ ตัวเลขที่เรียงกันอย่างมีแบบแผน) ซึ่งเรามักจะนิยมใช้ตัวแปร n แทนตัวแปร x
สาหรับพจน์ที่ 1 ของลาดับเราจะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ a1 และเขียนแทนพจน์ที่ n หรือ พจน์ทั่วไปของ
ลาดับด้วย an
การเขียนแสดงลาดับอาจเขียนได้ 3 วิธี คือ
- { (1 , a1) , (2 , a2) , (3 , a3) , ... , (n , an) }
- a1 , a2 , a3 , ... , an
- เขียนแสดงเฉพาะพจน์ทั่วไป เช่น an = sin(nπ)
เราสามารถแบ่งลาดับได้เป็น 2 ประเภท คือ
- ลาดับจากัด (finite sequence) คือ ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็น { 1 , 2 , 3 , 4 , ... , n } (มีจานวนพจน์
เป็นจานวนจากัด) เช่น ลาดับ 1 , 2 , 3 , 4 , 5 เป็นลาดับจากัดที่มี 5 พจน์ หรือ 2 , 4 , 8 , 16 , 32 , ... , 2n
เป็นลาดับจากัดที่มี n พจน์
- ลาดับอนันต์ (infinite sequence) คือ ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นจานวนนับ N (มีจานวนพจน์เป็น
อนันต์) เช่น ลาดับ 1 , 4 , 9 , ... , n2
, ...
ถ้าหากโจทย์กาหนดมาเฉพาะพจน์ทั่วไปของลาดับมาให้ และไม่ได้ระบุสมาชิกในโดเมน ให้ถือว่าลาดับ
นั้นเป็นลาดับอนันต์
ตัวอย่าง จงหา 5 พจน์แรก ของลาดับต่อไปนี้
(1) an = n2
+1 (2) an = (-1)n+1
sin
n
2
 
 
 
(3) an = (2n+2)(3n-1) (4) an =
n
(n 1) n n n 1  
(5) an+1 = 3an - 2an-1 เมื่อกาหนด a1 = 1 , a2 = 2
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
3
ตัวอย่าง จงหาพจน์ทั่วไปของลาดับต่อไปนี้
(1) 1 ,
1
2
,
1
3
,
1
4
(2) 5 , 7 , 9 , 11
(3) 13 , 35 , 57 , 79 (4) 4 , 8 , 16 , 32
(5) 2 , -8 , 18 , -32 (6) 3 , 33 , 333 , 3333
1.1 ลาดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลาดับเลขคณิต คือ ลาดับที่มีผลต่างที่เกิดจากการนาพจน์ที่ n+1 ลบกับพจน์ที่ n ได้เป็นค่าคงตัว และ
เรียกค่าคงตัวนี้ว่า ผลต่างร่วม (d : common difference)
n+1 nd = a - a n 1a = a +(n - 1)d
ตัวอย่าง กาหนด 2 , 5 , 8 , ... เป็นลาดับเลขคณิต จงหาพจน์ที่ 20 และ พจน์ทั่วไปของลาดับนี้
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
4
ตัวอย่าง ถ้า 3 พจน์แรกของลาดับเลขคณิต คือ 20 , 16 และ 12 ตามลาดับ แล้ว -96 เป็นพจน์ที่
เท่าไรของลาดับ
ตัวอย่าง ( 1) จงหาค่า x ที่ทาให้ลาดับ -1 , x , 7 เป็นลาดับเลขคณิต
(2) ลาดับ 11 , a , b , 18.5 เป็นลาดับเลขคณิต จงหาค่า a + b
PAT1 มี.ค.54 กาหนดให้ 4 พจน์แรกของลาดับเลขคณิต คือ 2a + 1 , 2b - 1 , 3b - a และ a + 3b เมื่อ a
และ b เป็นจานวนจริง พจน์ที่ 1000 ของลาดับเลขคณิตนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ข้อควรรู้ เทคนิคการหาพจน์ทั่วไปของลาดับเลขคณิตให้ไวๆ
ข้อควรรู้ สูตรพจน์กลางของลาดับเลขคณิต
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
5
ENT’40 พจน์แรกที่เป็นจานวนเต็มลบของลาดับเลขคณิต 200 , 182 , 164 , 146 , ... มีค่าต่างจาก
พจน์ที่ 10 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ตัวอย่าง (1) มีจานวนเต็มกี่จานวนตั้งแต่ 1 ถึง 200 ที่หารด้วย 4 และ 6 ลงตัว
( 2) มีจานวนเต็มกี่จานวนตั้งแต่ 1 ถึง 200 ที่หารด้วย 4 หรือ 6 ลงตัว
( 3) มีจานวนเต็มกี่จานวนตั้งแต่ 100 ถึง 200 ที่หารด้วย 4 หรือ 6 ลงตัว
( 4) มีจานวนเต็มกี่จานวนตั้งแต่ 1 ถึง 200 ที่ 4 หารลงตัว แต่ 6 หารไม่ลงตัว
ตัวอย่าง ในลาดับเลขคณิตชุดหนึ่ง กาหนดให้ an+3 – an = 9 เสมอ จงหาว่า a13 – a1 มีค่าเท่าใด
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
6
ตัวอย่าง บริษัทรถยนต์รับซื้อรถยนต์คืนจากผู้ซื้อในอัตราดังนี้ รถยนต์ที่ใช้แล้ว 1 ปี จะซื้อในราคาต่า
กว่าราคาที่ซื้อในบริษัท 100,000 บาท และหลังจากนั้น ราคาของการซื้อคืนจะลดลงปีละ 70,000 บาท ถ้าซื้อ
รถยนต์จากบริษัทนี้ในราคา 1,000,000 บาท จงหาราคาที่บริษัทรับซื้อคืนเมื่อใช้ไปแล้ว 5 ปี
1.2 ลาดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลาดับเรขาคณิต คือ ลาดับที่มีอัตราส่วนที่เกิดจากการนาพจน์ที่ n+1 หารด้วยพจน์ที่ n ได้เป็นค่าคง
ตัว และเรียกค่าคงตัวนี้ว่า อัตราส่วนร่วม (r : common ratio)
n+1
n
a
r =
a
n-1
n 1a = a r
ตัวอย่าง กาหนด 2 , 4 , 8 , ... เป็นลาดับเลขคณิต จงหาพจน์ที่ 8 และ พจน์ทั่วไปของลาดับนี้
ตัวอย่าง ถ้า 3 พจน์แรกของลาดับเรขาคณิต คือ
1
6
,
1
-
2
และ
6
-
2
ตามลาดับ แล้ว
27 2
2
เป็นพจน์ที่เท่าไรของลาดับ
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
7
ตัวอย่าง (1) จงหาค่า x ที่ทาให้ลาดับ 5 , x , 20 เป็นลาดับเรขาคณิต
(2) ลาดับ
27
8
, m , n ,
8
27
เป็นลาดับเรขาคณิต จงหาค่า mn
ตัวอย่าง ก , ข และ ค มีอายุ 5 , 13 และ 29 ปี ตามลาดับ อีกกี่ปี อายุของ ก , ข และ ค จะมีลักษณะ
เรียงกันเป็นลาดับเรขาคณิต
PAT1 ต.ค.53 ถ้าผลคูณของลาดับเรขาคณิต 3 จานวนที่เรียงติดกันเท่ากับ 343 และผลบวกของทั้งสาม
จานวนนี้เท่ากับ 57 แล้วค่ามากที่สุดในบรรดา 3 จานวนนี้เท่ากับเท่าใด
ENT’41 ให้ x , y , z , w เป็นพจน์ 4 พจน์เรียงกันในลาดับเรขาคณิต โดยที่ x เป็นพจน์แรก ถ้า
y + z = 6 และ z + w = -12 จงหาค่าสัมบูรณ์ของพจน์ที่ 5 ของลาดับนี้
ข้อควรรู้ สูตรพจน์กลางของลาดับเรขาคณิต
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
8
ตัวอย่าง ผลรวมของ 2 พจน์แรกของลาดับเรขาคณิตเป็น 7 และผลรวม 6 พจน์แรกของลาดับนี้มีค่า
เป็น 91 จงหาผลรวม 4 พจน์แรกของลาดับนี้
PAT1 มี.ค.54 ให้ a , b , c เป็นจานวนจริง โดยที่ 2a , 3b , 4c เป็นลาดับเรขาคณิต และ
1 1 1
, ,
a b c
เป็น
ลาดับเลขคณิต ค่าของ
a c
+
c a
เท่ากับเท่าใด
ENT’44 มี.ค. กาหนด a , b , c เป็น 3 พจน์เรียงติดกันในลาดับเรขาคณิต และมีผลคูณเป็น 27 ถ้า
a , b + 3 , c + 2 เป็น 3 พจน์เรียงติดกันในลาดับเลขคณิตแล้ว a + b + c มีค่าเท่ากับเท่าใด
ตัวอย่าง ปล่อยลูกบอลจากที่สูง 10 เมตร ในแต่ละครั้งที่ลูกบอลกระดอนขึ้นจะกระดอนขึ้นมาสูงเป็น
7
10
ของครั้งก่อนเสมอ จงหาว่าหลังจากที่ลูกบอลกระทบพื้นครั้งที่ 5 ลูกบอลจะกระดอนขึ้นมาได้สูงสุดเท่าใด
(กาหนด 5
(0.7) 0.17)
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
9
1.3 ลาดับอื่นๆที่น่าสนใจ
1. ลาดับฮาร์โมนิค (harmonic sequence) คือ ลาดับที่แต่ละพจน์เป็นส่วนกลับของลาดับเลขคณิต
นั่นคือ ถ้ากาหนดให้ an เป็นลาดับเลขคณิต แล้วจะได้ว่า
n
n 1
1 1
h = =
a a + (n - 1)d
เช่น 1 ,
1
2
,
1
3
,
1
4
, ... ,
1
n
หรือ
1
3
,
1
7
,
1
11
,
1
15
, ... ,
1
4n -1
ตัวอย่าง ถ้าลาดับ
1 1 1
1, , ,
b - a 2b - 3a 2b
เป็นลาดับฮาร์โมนิคแล้ว จงหาค่าพจน์ที่ 100
2. ลาดับพหุนาม (polynomial sequence) คือ ลาดับที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูป
an = aknk
+ ak-1nk-1
+ ak-2nk-2
+ ... + a1n +a0 (เมื่อ k N, ia Rโดย  0 i k) เช่น an = n2
+3n+1
ข้อควรรู้ การหาพจน์ทั่วไปของลาดับพหุนาม
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
10
ตัวอย่าง จงหาพจน์ทั่วไปของลาดับต่อไปนี้
(1) 2 , 6 , 12 , 20 , 30 , ...
(2) -2 , 1 , 8 , 19 , 34 , ...
(3) 6 , 4 , 10 , -42 , -98 , ...
ตัวอย่าง จงหาพจน์ทั่วไปของลาดับ 2 , 4 , 8 , ... แต่พจน์ที่ 4 ไม่ใช่ 16
ตัวอย่าง นาย ก ฝากเงินในธนาคาร 500,000 บาท โดยธนาคารคิดดอกเบี้ยร้อยละ 2 ต่อปี จงหาเงิน
และดอกเบี้ยที่เขาได้รับหลังฝากไป 5 ปี เมื่อ (กาหนด (1.02)5
 1.104)
( 1) ไม่คิดดอกเบี้ยทบต้น ( 2) คิดดอกเบี้ยทบต้น
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
11
3. ลาดับความสัมพันธ์เวียนเกิด (recurrence relation) คือ ลาดับที่มีการแสดงความสัมพันธ์ที่
เกี่ยวข้องกับพจน์ก่อนหน้านั้น เช่น an = 2an-1 + 3an-2 หรือ an+1 = (an)(an-1) + 2n
PAT1 ก.ค.52 กาหนดให้ an เป็นลาดับซึ่งสอดคล้องกับเงื่อนไข
n n 1
1 1
1
a a 
  สาหรับทุกจานวนนับ n
ถ้า a1 + a2 + ... + a100 = 250 แล้ว 2552a 2.5 มีค่าเท่ากับเท่าใด
PAT1 มี.ค.54 กาหนดให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ an+1 = n2
– an สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , ...
ค่าของ a1 ที่ทาให้ a101 = 5100 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ข้อควรรู้ ลาดับฟีโบนักชี (Fibonacci sequence)
ลาดับฟีโบนักชี เป็นลาดับที่เกิดจากการนาสองพจน์ก่อนหน้ามารวมกัน และมีพจน์ที่ 1 และพจน์
ที่ 2 เป็น 1 จึงจัดได้ว่าลาดับฟีโบนักชีเป็นลาดับความสัมพันธ์เวียนเกิดชนิดหนึ่ง
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
12
2. สัญลักษณ์แทนการบวก
ในกรณีที่เราต้องการเขียนแสดงการบวกของจานวนหลายๆจานวน บางครั้งอาจมีความยุ่งยาก จึงมี
การกาหนดสัญลักษณ์  (Sigma) เป็นสัญลักษณ์แทนการบวก โดย

n
i=m
f(i) = f(m) + f(m+1) + f(m+ 2) +...+ f(n) เมื่อ j , k เป็นจานวนเต็มซึ่ง j  k
เรียก i ว่า ดัชนีของการบวก (index of summation) เรียก j และ k ว่า ขอบเขตล่างของการบวก
และขอบเขตบนของการบวก ตามลาดับ เช่น

 i 1 2 3 n
i=1
a = a + a + a +...+ a +...

2
i=-3
(3n) = 3(-3) + 3(-2) + 3(-1) + 3(0) + 3(1) + 3(2)
ตัวอย่าง ฟังก์ชัน x
e สามารถเขียนได้ในรูปของฟังก์ชันพหุนามด้วยสูตรของเทย์เลอร์ โดย
2 3
x x x
e =1+ x + + +...
2! 3!
จงเขียนสูตรของเทย์เลอร์นี้ในรูปซิกมา
2.1 คุณสมบัติพื้นฐานของสัญลักษณ์แทนการบวก
1. 2.
3. 4.
ข้อควรระวัง
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
13
2.2 สูตรการหาผลบวกของลาดับที่ต้องรู้
1.
2.
3.
ตัวอย่าง จงหาผลบวก 15 พจน์แรกของอนุกรมต่อไปนี้
(1) 12
+ 32
+ 52
+ 72
+ ...
(2) 132
+ 252
+ 372
+ 492
+ ...
(3) 1 + 3 + 7 + 13 + 21 + ...
ตัวอย่าง จงหาค่าของ
10
2
k 1
(2k 3k 1)

 
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
14
3. อนุกรม
อนุกรม (Series) คือ ผลบวกของพจน์ทุกพจน์ในลาดับ ซึ่งแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
- อนุกรมจากัด (finite series) คือ อนุกรมที่เกิดจากลาดับจากัด
Sn = 
n
i
i=1
a = a1 + a2 + a3 + ... + an
โดยเราเรียก Sn ว่า ผลบวกย่อย n พจน์แรกของอนุกรม (partial sum of the first n terms)
- อนุกรมอนันต์ (infinite series) คือ อนุกรมที่เกิดจากลาดับอนันต์
S =

 i
i=1
a = a1 + a2 + a3 + ... + an + ...
และจากนิยามของอนุกรม ทาให้เราสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่างลาดับและอนุกรมได้ดังนี้
an = Sn – Sn-1
3.1 อนุกรมเลขคณิต (Arithmetic series)
อนุกรมเลขคณิต คือ อนุกรมที่เกิดจากการนาแต่ละพจน์ในลาดับเลขคณิตมาบวกกัน
Sn =
n
2
[2a1 + (n-1)d] Sn =
n
2
[a1 + an]
ตัวอย่าง จงหาผลบวก 20 พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต 1 + 4 + 7 + 10 + ...
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
15
ตัวอย่าง อนุกรมเลขคณิต 2 + 7 + 12 + 17 + ... มีผลบวกเป็น 801 อนุกรมนี้มีกี่พจน์
ตัวอย่าง อนุกรมเลขคณิตชุดหนึ่งมีผลบวก 4 พจน์แรกเป็น 68 และมีผลบวก 6 พจน์แรกเป็น 78 จง
หาผลบวก 10 พจน์แรกของอนุกรม
ตัวอย่าง อนุกรมเลขคณิตชุดหนึ่งมีพจน์ที่ n เท่ากับ 33 ผลบวก n พจน์เท่ากับ 195 และผลต่างร่วม
เท่ากับ 3 จงหาพจน์แรกของอนุกรม และจงหาว่าอนุกรมนี้มีกี่พจน์
ตัวอย่าง นาย ก เริ่มออมเงินโดยในวันแรก เขามีเงินออม 10 บาท และในวันต่อไป นาย ก จะเก็บออม
เงินเพิ่มขึ้นวันละ 2 บาท เช่นนี้ไปเรื่อยๆ เมื่อผ่านไป 1 เดือน นาย ก จะมีเงินออมทั้งหมดเท่าใด
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
16
3.2 อนุกรมเรขาคณิต (Geometric series)
อนุกรมเรขาคณิต คือ อนุกรมที่เกิดจากการนาแต่ละพจน์ในลาดับเรขาคณิตมาบวกกัน
Sn =
n
1a (r - 1)
r - 1
=
n
1a (1 - r )
1 - r
หรือ Sn = n 1a r - a
r - 1
= 1 na - a r
1 - r
ตัวอย่าง จงหาผลบวก 10 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตต่อไปนี้
(1) 1 + 2 + 4 + 8 + ...
(2) 4 + 2 + 1 +
1
2
+ ...
ตัวอย่าง อนุกรมเรขาคณิตชุดหนึ่ง มีผลบวก 4 พจน์แรกเป็น 60 และพจน์ที่ 4 มีค่าเป็น 4 เท่าของ
พจน์ที่ 2 จงหาผลบวก 6 พจน์แรกของอนุกรมนี้
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
17
ตัวอย่าง จงหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรม 8 + 88 + 888 + 8888 + ...
ทุนเล่าเรียนหลวง’43 อนุกรมเรขาคณิตชุดหนึ่งมี n พจน์ โดย a3 = 3 และผลบวก 3 พจน์สุดท้ายเป็น 3
เท่าของผลบวกของ 3 พจน์แรก แล้ว an มีค่าเท่าใด
ตัวอย่าง ถ้าพจน์ที่ n ของอนุกรมชุดหนึ่งเป็น 2n2
+ 2n
จงหาผลบวก 10 พจน์แรกของอนุกรมนี้
สมาคมฯ’43 ผลบวกของอนุกรมจากัด 140 + 338 + 536 + ... + 392 มีค่าเท่ากับเท่าใด
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
18
ตัวอย่าง จงหาผลบวก 30 พจน์แรกของอนุกรม 1 + 3 – 5 + 7 + 9 – 11 + 13 + 15 – 17 + ...
ทุนเล่าเรียนหลวง’42 จงหาสี่พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต ซึ่งมีผลบวก n เทอมมีค่าเป็น
n
(3n 5)
2

PAT1 ต.ค.53 นิยามให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง เรียกพจน์ an ว่าพจน์คู่ ถ้า n เป็นจานวนคู่ และ
เรียกพจน์ an ว่าพจน์คี่ ถ้า n เป็นจานวนคี่
กาหนด {an} เป็นลาดับเลขคณิตโดยมีจานวนพจน์เป็นจานวนคู่ และผลบวกของพจน์คี่
ทั้งหมดเท่ากับ 36 และผลบวกของพจน์คู่ทั้งหมดเท่ากับ 56 ถ้าพจน์สุดท้ายมากกว่าพจน์แรกเป็นจานวน
เท่ากับ 38 แล้วลาดับเลขคณิต {an} มีทั้งหมดกี่พจน์
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
19
4. ลิมิตของลาดับอนันต์
ในหัวข้อนี้ เราจะพิจารณาสมบัติบางประการของลาดับอนันต์ โดยเราจะพิจารณาว่า เมื่อ n มีค่ามาก
ขึ้นอย่างไม่มีที่สิ้นสุด จะทาให้ an มีค่าเป็นอย่างไร
พิจารณา ลาดับอนันต์ต่อไปนี้
an =
1
n
สามารถเขียนแจกแจงพจน์ของลา1ดับได้เป็น 1 ,
1
2
,
1
3
, ... ,
1
1000
, ...
ซึ่งจะเห็นว่า เมื่อ n มีค่ามากขึ้นเรื่อยๆ an มีค่าเข้าใกล้ 0
bn =
n
n +1
สามารถเขียนแจกแจงพจน์ของลาดับได้เป็น
1
2
,
2
3
,
3
4
, ... ,
999
1000
, ...
ซึ่งจะเห็นว่า เมื่อ n มีค่ามากขึ้นเรื่อยๆ bn มีค่าเข้าใกล้ 1
จะเห็นได้ว่า เมื่อ n มีค่ามากขึ้นเรื่อยๆ ลาดับ an และ bn มีค่าลู่เข้าสู่จานวนจริงที่แน่นอนค่าหนึ่ง ซึ่ง
เราเรียกค่านี้ว่า ลิมิตของลาดับ (limit of sequence) และเรียกลาดับอนันต์ที่หาค่าลิมิตได้ว่า ลาดับคอนเวอร์
เจนต์ (convergent sequence)
cn = n สามารถเขียนแจกแจงพจน์ของลาดับได้เป็น 1 , 2 , 3 , ... , 1000 , ...
ซึ่งจะเห็นว่า เมื่อ n มีค่ามากขึ้นเรื่อยๆ cn มีค่ามาขึ้นเรื่อยๆไม่มีที่สิ้นสุด
dn = (-1)n
สามารถเขียนแจกแจงพจน์ของลาดับได้เป็น -1 , 1 , -1 , ...
ซึ่งจะเห็นว่า เมื่อ n ค่ามากขึ้นเรื่อยๆ ไม่สามารถสรุปได้ว่า dn มีค่าเข้าใกล้ค่าใด
จะเห็นว่า เมื่อ n มีค่ามากขึ้นเรื่อยๆ ลาดับ cn และ dn ไม่มีค่าลิมิตที่เป็นจานวนจริง (ไม่สามารถหาค่า
ลิมิตได้) เราเรียกลาดับอนันต์ที่หาค่าลิมิตไม่ได้ว่า ลาดับไดเวอร์เจนต์ (divergent sequence)
ถ้ากาหนดให้ลาดับอนันต์ an เป็นลาดับคอนเวอร์เจนต์ที่มีลิมิตเท่ากับจานวนจริง L เราจะเขียนแทน
ด้วยสัญลักษณ์

n
n
lim a L
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
20
แต่ถ้า an เป็นลาดับไดเวอร์เจนต์ เราจะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์

n
n
lim a หาค่าไม่ได้ (ในกรณีที่ an
มีค่ามากขึ้นหรือลดลงอย่างไม่สิ้นสุดเราอาจเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์

 n
n
lim a หรือ

 n
n
lim a )
4.1 ทฤษฏีบทเกี่ยวกับลิมิตของลาดับ
ทฤษฏีบทพื้นฐาน
กาหนดให้ an , bn , cn , tn เป็นลาดับอนันต์ A , B เป็นจานวนจริง และ c เป็นค่าคงตัวใดๆ โดย

n
n
lim a A และ

n
n
lim b B
1. ถ้า tn = c แล้ว
 
 n
n n
lim t lim c c
2.
 
 n n
n n
lim ca c lim a cA
3.
  
    n n n n
n n n
lim (a b ) lim a lim b A B
4.
  
   n n n n
n n n
lim (a b ) lim a lim b AB
5. 


 
n
nn
n
n n
n
lim aa A
lim ( )
b lim b B
เมื่อ nb 0 ทุก n N และ B 0
ทฤษฏีบทเพิ่มเติม
กาหนดให้ an , bn เป็นลาดับอนันต์ t , r เป็นจานวนจริง และ c เป็นค่าคงตัวใดๆ
1.

tn
1
lim 0
n
เมื่อ t > 0
2.

n
n
lim r 0 เมื่อ r < 1
3. ถ้า n
n
c
a
b
และ

 n
n
lim b หรือ  แล้ว
 
 n
n n
n
c
lim a lim 0
b
4. ถ้า n
n
lim a L

 และ f เป็นฟังก์ชันซึ่ง f(L) หาค่าได้แล้ว ลาดับอนันต์ f(an) จะมีลิมิตเป็น f(L)
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
21
5. (Squeeze Theorem) ถ้า n n nb a c  ทุก n N และ n n
n n
lim b lim c L
 
  แล้วเรา
สามารถสรุปได้ว่า n
n
lim a L


6. กาหนด an เป็นลาดับซึ่งแต่ละพจน์มีเครื่องหมายบวกและลบสลับกันแล้ว
- ถ้า n
n
lim a 0

 แล้ว ลาดับอนันต์ดังกล่าวจะเป็นลาดับคอนเวอร์เจนต์
- ถ้า n
n
lim a 0

 แล้ว ลาดับอนันต์ดังกล่าวจะเป็นลาดับไดเวอร์เจนต์
ตัวอย่าง จงหาค่าลิมิตของลาดับอนันต์ต่อไปนี้
(1) 2n
2
lim
n
(2) nn
3
lim cos
5
 
 
 
(3) nn
7 1
lim 2
n ( 3)
 
  
 
(4)
2
log5 2nn
1
lim 9
n e
 
  
 
(5)
n
nn
( 1) sin(n)
lim
2
 
(6) n 1
n
1
lim ( 1)
n


   
 
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
22
4.2 ลิมิตของลาดับอนันต์ชนิดต่างๆ
1. ลาดับตรรกยะ (rational sequence) คือ ลาดับที่เกิดจากฟังก์ชันพหุนาม 2 ฟังก์ชันหารกัน นั่น
คือ an =
p(n)
q(n)
เมื่อ p(n) และ q(n) เป็นฟังก์ชันพหุนาม
ตัวอย่าง จงหาค่าลิมิตของลาดับอนันต์ต่อไปนี้
( 1) 2n
2n
lim
n 1 
(2)
n
n 1
lim
6

(3)
n
n 1
lim
n 1


ข้อควรรู้ กาหนดลาดับตรรกยะ
p p 1
p p 1 1 0
n q q 1
q q 1 1 0
a n a n ... a n a
a
b n b n ... b n b




   

   
ซึ่งจะสามารถ
พิจารณาลิมิตของลาดับได้เป็น 3 กรณีย่อย คือ
1. กรณีกาลังสูงสุดของเศษน้อยกว่ากาลังสูงสุดของส่วน
2. กรณีกาลังสูงสุดของเศษมากกว่ากาลังสูงสุดของส่วน
3. กรณีกาลังสูงสุดของเศษเท่ากับกาลังสูงสุดของส่วน
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
23
ตัวอย่าง จงหาค่าลิมิตของลาดับอนันต์ต่อไปนี้
(1)
2
2n
3n 2n
lim
n 5n 6

 
(2)
2
n
2n n
lim
n

(3)
5
2 4 6n
4n
lim
n n n  
(4)
n
n n 1
lim
3n 2
 

(5)
23
n
2n 4
lim
3n 1


(6)
1
en
n 7n
lim
2n



(7)  2 2
n
lim ln(2n ) ln(n 1)

 
(8)
3 3
n
8n 2n
n
lim 2
 
  
 

(9)
8 54
n 1
2n
n 5n
lim ( 1)
n 3n





2. ลาดับเศษส่วนที่มีฟังก์ชันเอ็กซ์โพแนนเชียล
ข้อควรรู้ วิธีหาลิมิตของลาดับเศษส่วน expo ให้นาเลขยกกาลังที่มีฐานสูงสุดหารทั้งเศษและส่วน
ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 กรณี
1. กรณีฐานสูงสุดของเศษน้อยกว่าฐานสูงสุดของส่วน
2. กรณีฐานสูงสุดของเศษมากกว่าฐานสูงสุดของส่วน
3. กรณีฐานสูงสุดของเศษเท่ากับฐานสูงสุดของส่วน
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
24
ตัวอย่าง จงหาค่าลิมิตของลาดับอนันต์ต่อไปนี้
(1)
n
nn
2 1
lim
3 2


(2)
n
n 1 nn
1 3
lim
3 2


(3)
3n n
n 1 nn
2 1
lim
5 2
  

ตัวอย่าง จงหาค่าลิมิตของลาดับอนันต์ต่อไปนี้
(1)
2
nn
n 1
lim
5

(2)
n
10 5n
(1.1)
lim
n n 
(3)
3 2 2n 1
3 1 nn
2n 8n 2
lim
n 3n n 4


 
  
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
25
3. ลาดับเลขคณิต
เราสามารถพิจารณาคุณสมบัติความเป็นคอนเวอร์เจนต์หรือไดเวอร์เจนต์ของลาดับเลขคณิตได้ ดังนี้
- ถ้า d = 0 จะได้ว่า a1 = a2 = a3 = ... = an = ... นั่นคือ ลาดับเป็นลาดับคอนเวอร์เจนต์ที่
ลู่เข้าสู่ค่า a1 ( n 1 1
n n
lim a lim a a
 
  )
- ถ้า d  0 จะได้ว่า เมื่อ n มากขึ้น ลาดับมีค่ามากขึ้นหรือลดลงอย่างไม่มีที่สิ้นสุด นั่นคือ
ลาดับเป็นลาดับไดเวอร์เจนต์ ( n
n
lim a

  หรือ n
n
lim a

 )
4. ลาดับเรขาคณิต
เราสามารถพิจารณาคุณสมบัติความเป็นคอนเวอร์เจนต์หรือไดเวอร์เจนต์ของลาดับเรขาคณิตได้ ดังนี้
- ถ้า r < 1 จะได้ว่า ลาดับเป็นลาดับคอนเวอร์เจนต์ที่ลู่เข้าสู่ค่าศูนย์ นั่นคือ n
n
lim a 0


(เป็นไปตามทฤษฏีบทเพิ่มเติมข้อ 2)
- ถ้า r = 1 จะได้ว่า a1 = a2 = a3 = ... = an = ... นั่นคือ ลาดับเป็นลาดับคอนเวอร์เจนต์ที่ลู่
เข้าสู่ค่า a1 ( n 1 1
n n
lim a lim a a
 
  )
- ถ้า r > 1 หรือ r= -1 จะได้ว่า ลาดับมีค่าเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีที่สิ้นสุด (กรณี r > 1) หรือ
ลาดับแกว่งกวัด ไม่มีค่าลิมิต (กรณี r  -1) นั่นคือ ลาดับเป็นลาดับไดเวอร์เจนต์ ( n
n
lim a

  หรือ
n
n
lim a

หาค่าไม่ได้)
ตัวอย่าง จงหาค่าลิมิตของลาดับอนันต์ต่อไปนี้
(1)
 
2
2
2n
3n 2n 1
lim
4n
 
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
26
(2)  2 2
n
lim n 4n 2 n 1

   
(3)  n
lim n n 1 n 1

  
(4)
n
7n 3 7n 2
lim
3n 1 3n 1
  
  
(5) 2 2n
1 2 3 4 5 ... 2n
lim
9n 15 4n 6
      
  
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
27
PAT1 ก.ค.52 ถ้า A =
k
3n
2n
lim
1 8 27 ... n
 
     
มีค่าเป็นจานวนจริงบวกแล้ว แล้วค่าของ A
เท่ากับเท่าใด
PAT1 มี.ค.53 ถ้า {an} เป็นลาดับของจานวนจริงที่ an = 2
2 4 6 ... 2n
n
   
สาหรับทุกจานวนเต็ม
บวก n แล้ว n
n
lim a

มีค่าเท่ากับเท่าใด
PAT1 ก.ค.53 ให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ a1 + a2 + a3 + ... + an = n2
an สาหรับ
n = 1 , 2 , 3 , ... ถ้า a1 = 100 แล้ว 2
n
n
lim n a

มีค่าเท่ากับเท่าใด
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
28
PAT1 มี.ค.54 กาหนดให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ a1 = 1 และ an + 1  an+1 และ
an+5  an + 5 สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , ... แล้วค่าของ
n
k
n
k 1
1
lim (a 6 k)
n

 
  
 
 เท่ากับเท่าใด
4.3 ลิมิตของลาดับอนันต์ที่ควรทราบเพิ่มเติม
1.
n
lnn
lim 0
n
 2. n
n
lim n 1


3.
1
n
n
lim x 1

 เมื่อ x > 0 4.
n
x
n
x
lim 1 e
n
   
 
เมื่อ x R
5.
n
n
x
lim 0
n!
 เมื่อ x R
ตัวอย่าง จงหาค่าลิมิตของลาดับอนันต์ต่อไปนี้
(1)
2
n
ln(n )
lim
n
(2) n
n
lim 3n

(3)
n
n
n 2
lim
n
 
 
 
(4)
n
n
100
lim
n!
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
29
5. ผลบวกของอนุกรมอนันต์
ดังที่ได้กล่าวในหัวข้อที่ 3 ไปแล้วว่า อนุกรมอนันต์ คือ อนุกรมที่เกิดจากลาดับอนันต์ ในหัวข้อนี้ เรา
จะศึกษาเกี่ยวกับอนุกรมอนันต์ว่ามีค่าผลบวกเป็นอย่างไร
พิจารณา อนุกรมอนันต์ a1 + a2 + a3 + ... + an + ... และ Sn คือ ผลบวกย่อย n พจน์แรกของ
อนุกรม จะได้ว่า S1 = a1
S2 = a1 + a2
S3 = a1 + a2 + a3
.
.
.
Sn = a1 + a2 + a3 + .. + an
เมื่อนาผลบวกย่อย n พจน์แรก มาเรียงเป็นลาดับอนันต์ คือ S1 , S2 , S3 , ... , Sn , ... เราจะเรียก
ลาดับอนันต์ที่ได้นี้ว่า ลาดับของผลบวกย่อยของอนุกรม (sequence of partial sums)
ถ้าลาดับ Sn นี้ลู่เข้า โดย n
n
lim S

= S เมื่อ S เป็นจานวนจริง แล้วอนุกรมอนันต์
a1 + a2 + a3 + ... + an + ... เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์ (convergent series) และเรียก S ว่า ผลบวกของ
อนุกรม
แต่ถ้าลาดับ Sn เป็นลาดับลู่ออก ( n
n
lim S

หาค่าไม่ได้) จะกล่าวว่าอนุกรมอนันต์
a1 + a2 + a3 + ... + an + ... เป็นอนุกรมไดเวอร์เจนต์ (divergent series)
5.1 อนุกรมเลขคณิตอนันต์
เราสามารถพิจารณาคุณสมบัติความเป็นคอนเวอร์เจนต์หรือไดเวอร์เจนต์ของอนุกรมเลขคณิตได้ ดังนี้
- ถ้า a1 = 0 และ d = 0 (ซึ่งก็คืออนุกรม 0 + 0 + 0 + ...) อนุกรมจะเป็นอนุกรมคอนเวอร์
เจนต์ที่ลู่เข้าสู่ค่าศูนย์ นั่นคือ n
n
lim S 0


- ถ้า a1  0 หรือ d  0 อนุกรมจะเป็นอนุกรมไดเวอร์เจนต์
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
30
5.2 อนุกรมเรขาคณิตอนันต์
เราสามารถพิจารณาคุณสมบัติความเป็นคอนเวอร์เจนต์หรือไดเวอร์เจนต์ของอนุกรมเรขาคณิตได้ ดังนี้
- ถ้า r < 1 จะได้ว่า อนุกรมเป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์ ซึ่งมีค่าผลบวกเป็น
1
n
n
a
lim S
1 r


- ถ้า r  1 จะได้ว่า อนุกรมเป็นอนุกรมไดเวอร์เจนต์ (อนุกรมมีค่ามากขึ้นอย่างไม่สิ้นสุด
หรือ อนุกรมแกว่งกวัด ไม่มีค่าลิมิต)
ตัวอย่าง จงหาผลบวกของอนุกรมอนันต์
1 1 1
2 ...
2 8 32
   
PAT1 มี.ค.53 ผลบวกของอนุกรม
n n
n 1
11 33 3 2 2
3 ... ...
4 16 4 
 
     เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ตัวอย่าง จงหาลิมิตของลาดับอนันต์ 2 , 2 2 , 2 2 2 , 2 2 2 2 , ...
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
31
ตัวอย่าง จงใช้ความรู้เกี่ยวกับอนุกรมเขียนทศนิยม 0.4567  ให้อยู่ในรูปของเศษส่วน
ENT’41 ตุลาฯ ให้ S = ,
2 2
  
 
 
และ 2 4 6
F(x) sin x sin x sin x ...    , x S ถ้า a เป็น
สมาชิกของเซต S ที่น้อยที่สุดที่ทาให้ F(a)  1 แล้ว F(a) มีค่าเท่ากับเท่าใด
ENT’28 ลูกปิงปองตกจากโต๊ะสูง 4 ฟุต ถ้าทุกครั้งที่ลูกปิงปองตกกระทบพื้นจะกระดอนขึ้นเป็น
ระยะทาง
3
4
เท่าของความสูงที่ตกลงมา ระยะทางทั้งหมดที่ลูกปิงปองเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเป็นกี่ฟุต
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
32
5.3 สหอนุกรมเลขคณิตกับเรขาคณิต
สหอนุกรมเลขคณิตกับเรขาคณิต คือ อนุกรมที่เกิดจากลาดับผสมระหว่างลาดับเลขคณิตกับลาดับ
เรขาคณิต
ตัวอย่าง จงหาผลบวกของอนุกรมอนันต์ต่อไปนี้
(1)
1 4 7 10
...
3 9 27 81
   
(2) 2n 1
n 1
1 1 1 1
log2 log8 log32 ... log2 ...
2 10 50 2 5


    

ข้อควรรู้ ขั้นตอนการหาผลบวกของสหอนุกรมเลขคณิตกับเรขาคณิต
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
33
ทุนเล่าเรียนหลวง’44 จงหาผลบวกของอนุกรมอนันต์ n n
n 1
(ln2 )(ln2)



ตัวอย่าง จงหาค่าของ
1 11 1
9 813 273 9 27 81 ...   
PAT1 ต.ค.53 กาหนดให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ an =
2n
k 1
k
(2k 1)(2k 1)  
 สาหรับ
n = 1 , 2 , 3 , ... n
n
16
lim a
n
เท่ากับเท่าใด
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
34
5.4 อนุกรม telescopic
อนุกรม telescopic คือ อนุกรมที่แต่ละพจน์ของอนุกรม สามารถแยกเป็นผลลบของจานวนจริง 2
จานวนได้
ตัวอย่าง จงหาผลบวกของอนุกรมอนันต์ต่อไปนี้
(1)
1 1 1 1
...
1 3 3 5 5 7 7 9
   
   
(2)
1 1 1 1
...
1 3 5 3 5 7 5 7 9 7 9 11
   
       
(3)
1 1 1
1 ...
1 2 1 2 3 1 2 3 4
   
     
(4)
1 1 1 1
...
6 12 20 30
   
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
35
PAT1 ต.ค.53 กาหนดให้ Sk = 13
+ 23
+ 33
+ ... + k3
สาหรับ k = 1 , 2 , 3 , ... ค่าของ
n
1 2 3 n
1 1 1 1
lim ...
S S S S
 
   
 
เท่ากับเท่าใด
PAT1 ก.ค.52 ถ้า 4 2
n 2
1
A
n n




 แล้ว 2
n 2
1
n


 มีค่าเท่ากับเท่าใด
PAT1 ต.ค.53 ค่าของ
9999
4 4
n 1
1
( n n 1)( n n 1)    
 เท่ากับเท่าใด
PAT1 มี.ค.53 กาหนดให้ Sn =
n
k 1
1
k(k 1) k( k 1)
 
 
   
 สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , ... ค่าของ
n
n
lim S

เท่ากับเท่าใด
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
36
5.5 อนุกรมพี (p-series)
อนุกรมพี คือ อนุกรมที่สามารถเขียนอยู่ในรูป p p p p
n 1
1 1 1 1
1 ... ...
n 2 3 n


      เมื่อ
p R ซึ่งเราจะพิจารณาความเป็นคอนเวอร์เจนต์หรือไดเวอร์เจนต์ของอนุกรมพีได้ ดังนี้
- ถ้า p > 1 แล้ว อนุกรมพี จะเป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์
- ถ้า p  1 แล้ว อนุกรมพี จะเป็นอนุกรมไดเวอร์เจนต์
ตัวอย่าง อนุกรมอนันต์ต่อไปนี้ อนุกรมใดเป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์
(1)
1 1 1
1 ...
2 3 4
   
(2)
1 1 1
1 ...
2 3 4
   
(3)
1 1 1
1 ...
2 2 3 3 4 4
   
PAT1 ก.ค.53 กาหนดให้อนุกรมต่อไปนี้ A =
1000
k
k 1
( 1)

 , B =
20
2
k 3
k

 , C =
100
k 1
k

 , D =
k
k 1
1
2
2


 
 
 

ค่าของ A + B + C + D เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
37
PAT1 ก.ค.53 ให้ k เป็นค่าคงที่ และถ้า
n 15 4
5n
k(n n) 3n 2 12 2
lim 15 6 ... 15 ...
(n 2) 5 5


          
  
แล้ว k มีค่าเท่ากับเท่าใด
ENT’24 อนุกรม
 
n
n 1
n 3
n 1
sin n ( 1)
2
( 1) 5




    
 
 
 
 มีผลบวกเท่ากับเท่าใด
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
38
6. คุณสมบัติบางประการเกี่ยวกับลาดับอนันต์และอนุกรมอนันต์
ในหัวข้อนี้ เราจะศึกษาเกี่ยวกับวิธีการพิจารณาว่าลาดับอนันต์หรืออนุกรมอนันต์ที่เราสนใจ มี
คุณสมบัติเป็นคอนเวอร์เจนต์หรือไดเวอร์เจนต์ โดยที่เราไม่จาเป็นที่จะต้องหาค่าลิมิตออกมาโดยตรง-
6.1 คุณสมบัติความเป็นคอนเวอร์เจนต์และไดเวอร์เจนต์ระหว่างลาดับอนันต์และอนุกรมอนันต์
ทฤษฏีบท 1 ถ้า n
n 1
a


 เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์แล้ว จะได้ว่า an เป็นลาดับคอนเวอร์เจนต์
ทฤษฏีบท 2 ถ้า n
n 1
a


 เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์แล้ว จะได้ว่า n
n
lim a 0


6.2 คุณสมบัติอื่นๆเพิ่มเติม
1. ถ้า n
n 1
a


 และ n
n 1
b


 เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์ทั้งคู่แล้ว จะได้ว่า n n
n 1
(a b )


 เป็น
อนุกรมคอนเวอร์เจนต์ด้วย
2. n
n 1
ca


 จะเป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์ ก็ต่อเมื่อ n
n 1
a


 เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์
3. การตัดพจน์ต้นๆของอนุกรมออกไปเป็นจานวนจากัดพจน์ จะไม่มีผลต่อความเป็นคอนเวอร์เจนต์
หรือไดเวอร์เจนต์ของอนุกรมอนันต์
4. กาหนด an , bn เป็นลาดับอนันต์ซึ่ง n nb a 0  ทุก n N แล้วจะได้ว่า
ข้อควรรู้ จากทฤษฏีบททั้ง 2 ข้อ จะสามารถสรุปตามหลักตรรกศาสตร์ได้ว่า
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
39
4.1 ถ้า n
n 1
b


 เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์แล้ว n
n 1
a


 จะเป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์ด้วย
4.2 ถ้า n
n 1
a


 เป็นอนุกรมไดเวอร์เจนต์แล้ว n
n 1
b


 จะเป็นอนุกรมไดเวอร์เจนต์ด้วย
ตัวอย่าง จงพิจารณาว่าข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
.......... (1) ถ้าลาดับ an ลู่เข้าแล้วอนุกรม n
n 1
a


 ลู่เข้า
.......... (2) ถ้าอนุกรม n
n 1
a


 ลู่เข้าแล้ว อนุกรม n
n
n 1
a
1
2


  
 
 ลู่เข้า
.......... (3) ถ้า n
n
lim a 0

 แล้ว n
n 1
a


 เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์
.......... (4) อนุกรมที่ได้จากลาดับไดเวอร์เจนต์ย่อมเป็นอนุกรมไดเวอร์เจนต์ และอนุกรมที่ได้จาก
ลาดับคอนเวอร์เจนต์ย่อมเป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์
.......... (5) ถ้าอนุกรมที่เกิดจากลาดับ an และ bn เป็นอนุกรมไดเวอร์เจนต์ทั้งคู่ จะได้ว่าอนุกรมที่เกิด
จากลาดับ an + bn เป็นอนุกรมไดเวอร์เจนต์ด้วย
.......... (6) ถ้าอนุกรมที่เกิดจากลาดับ an และ an + bn เป็นอนุกรมลู่เข้า แล้วจะได้ว่า อนุกรมที่เกิด
จากลาดับ bn ลู่เข้า
.......... (7) ถ้า an เป็นพจน์ที่ n ของลาดับ ซึ่งมี an+1 > an สาหรับทุก n จะได้ว่าลาดับนี้เป็นลาดับได
เวอร์เจนต์
.......... (8) ถ้า an เป็นพจน์ที่ n ของอันดับคอนเวอร์เจนต์ จะได้ว่า 1a , 2a , 3a , ... เป็น
ลาดับคอนเวอร์เจนต์ด้วย
.......... (9) ถ้า n 1
n
a
r
a

 เป็นค่าคงตัวสาหรับทุกๆ n > 1 และ r > 1 แล้วอนุกรม n
n 1
a


 ลู่เข้า
คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
40
สมาคม’52 ข้อความ “ถ้า n
n 1
a


 เป็นอนุกรมลู่เข้าแล้ว n
n
lim a 0

 ” สมมูลกับข้อความในข้อใด
ก . ถ้า n
n 1
a


 เป็นอนุกรมลู่ออก แล้ว n
n
lim a 0


ข. ถ้า n
n
lim a 0

 แล้ว n
n 1
a


 เป็นอนุกรมลู่เข้า
ค. ถ้า n
n
lim a 0

 แล้ว n
n 1
a


 เป็นอนุกรมลู่ออก
ง . ถ้า n
n
lim a 0

 แล้ว n
n 1
a


 เป็นอนุกรมลู่เข้า
ตัวอย่าง จงพิจารณาว่าอนุกรมอนันต์ต่อไปนี้เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์หรือไดเวอร์เจนต์
(1)
2
n 1
n
n 1

 

(2) 2
n 1
1
n 1

 

(3) n 2
n 1
1
2 n

 

คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com
41
เอกสารอ้างอิง
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้
เพิ่มเติม คณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ครุสภาลาดพร้าว,
พิมพ์ครั้งที่ 3, 2550.
อรรณพ สุขธารง. คณิตศาสตร์ Entrance เล่ม 4. ม.ป.ป.
Entrance Problem Book II for successful students, กรุงเทพมหานคร: Tutor Publisher, 2549.
ทรงวิทย์ สุวรรณธาดา. คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.6 ภาคเรียนที่ 2, กรุงเทพมหานคร:
บริษัท สานักพิมพ์แม็ค จากัด, ม.ป.ป.
สมัย เหล่าวานิชย์, รศ. คณิตศาสตร์พื้นฐาน+เพิ่มเติม 6, กรุงเทพมหานคร: บริษัท ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง จากัด,
ม.ป.ป.
ณัฐพล ศุจิจันทรรัตน์. New Math Tests book I, Science Center, ม.ป.ป.
ธีระ ตีรณานุสิษฐ์. เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ทุนเล่าเรียนหลวงปี 37-48, Science Center, ม.ป.ป.
ดารงค์ ทิพย์โยธา, สุรชัย สมบัติบริบูรณ์ และ ณัฏฐนาถ ไตรภพ. แคลคูลัส 2, กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 4, 2553.

Contenu connexe

Tendances

โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์พิทักษ์ ทวี
 
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผลม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผลreaxe j
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาพัน พัน
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังyingsinee
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 KruPa Jggdd
 
จุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอกจุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอกkroojaja
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1KruGift Girlz
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดOwen Inkeaw
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นInmylove Nupad
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองTum Anucha
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์Kapong007
 
4.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 24.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 2kai kk
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 

Tendances (20)

โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
 
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผลม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
จุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอกจุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอก
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
 
4.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 24.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 2
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 

En vedette

ระบบสอบ2557
ระบบสอบ2557ระบบสอบ2557
ระบบสอบ2557Orapan Chamnan
 
แนะแนวระบบสอบ2556
แนะแนวระบบสอบ2556แนะแนวระบบสอบ2556
แนะแนวระบบสอบ2556Orapan Chamnan
 
Pat1 ตค.55 คณิตศาสตร์
Pat1 ตค.55 คณิตศาสตร์Pat1 ตค.55 คณิตศาสตร์
Pat1 ตค.55 คณิตศาสตร์Siriluk Rungtasee
 
ข้อสอบ PAT1 คณิตศาสตร์ ปี 2553
ข้อสอบ PAT1 คณิตศาสตร์ ปี 2553ข้อสอบ PAT1 คณิตศาสตร์ ปี 2553
ข้อสอบ PAT1 คณิตศาสตร์ ปี 2553Atthaphon45614
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556Rungthaya
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์eakbordin
 
เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์
เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์
เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์krurutsamee
 
Pat 2 ตุลา2555
Pat 2  ตุลา2555 Pat 2  ตุลา2555
Pat 2 ตุลา2555 Watcharinz
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)Lupin F'n
 

En vedette (12)

ระบบสอบ2557
ระบบสอบ2557ระบบสอบ2557
ระบบสอบ2557
 
แนะแนวระบบสอบ2556
แนะแนวระบบสอบ2556แนะแนวระบบสอบ2556
แนะแนวระบบสอบ2556
 
สรุป สอบGat pat คณะต่างๆ
สรุป สอบGat pat คณะต่างๆสรุป สอบGat pat คณะต่างๆ
สรุป สอบGat pat คณะต่างๆ
 
Pat1 ตค.55 คณิตศาสตร์
Pat1 ตค.55 คณิตศาสตร์Pat1 ตค.55 คณิตศาสตร์
Pat1 ตค.55 คณิตศาสตร์
 
ข้อสอบ PAT1 คณิตศาสตร์ ปี 2553
ข้อสอบ PAT1 คณิตศาสตร์ ปี 2553ข้อสอบ PAT1 คณิตศาสตร์ ปี 2553
ข้อสอบ PAT1 คณิตศาสตร์ ปี 2553
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
 
เฉลย Pat1
เฉลย Pat1เฉลย Pat1
เฉลย Pat1
 
Pat1 มี.ค. 57
Pat1 มี.ค. 57Pat1 มี.ค. 57
Pat1 มี.ค. 57
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
 
เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์
เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์
เฉลยลำดับและอนุกรมอนันต์
 
Pat 2 ตุลา2555
Pat 2  ตุลา2555 Pat 2  ตุลา2555
Pat 2 ตุลา2555
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
 

Similaire à ใบงานลำดับและอนุกรม

เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57krurutsamee
 
Chapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับChapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับPumPui Oranuch
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 sensehaza
 
งานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตงานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตaossy
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามAon Narinchoti
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม Patteera Praew
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Aon Narinchoti
 

Similaire à ใบงานลำดับและอนุกรม (20)

ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับ
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
Chapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับChapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับ
 
ลำดับ11
ลำดับ11ลำดับ11
ลำดับ11
 
Sequence1
Sequence1Sequence1
Sequence1
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 
งานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตงานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิต
 
008 pat 1 (1)
008 pat 1 (1)008 pat 1 (1)
008 pat 1 (1)
 
ระบบสมการเชิงเส้น01
ระบบสมการเชิงเส้น01ระบบสมการเชิงเส้น01
ระบบสมการเชิงเส้น01
 
ระบบสมการเชิงเส้น01
ระบบสมการเชิงเส้น01ระบบสมการเชิงเส้น01
ระบบสมการเชิงเส้น01
 
A samakran
A samakranA samakran
A samakran
 
2252670.pdf
2252670.pdf2252670.pdf
2252670.pdf
 
Prettest
PrettestPrettest
Prettest
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Pre 7-วิชา 3
Pre  7-วิชา 3Pre  7-วิชา 3
Pre 7-วิชา 3
 
4339
43394339
4339
 

ใบงานลำดับและอนุกรม

  • 1. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 1 ลาดับและอนุกรม ลาดับและอนุกรมเป็นหัวข้อที่ออกในข้อสอบ PAT1 มากที่สุด ซึ่งในช่วงหลังข้อสอบมักจะออก ค่อนข้างยากและพลิกแพลงทุกๆปี สาหรับในบทนี้ จะศึกษาหัวข้อหลักๆ 4 อย่าง คือ ลาดับจากัด อนุกรม จากัด ลิมิตของลาดับอนันต์ และ ผลบวกของอนุกรมอนันต์ครับ ลาดับและอนุกรม 1. ลาดับ 2. สัญลักษณ์แทนการบวก 3. อนุกรม 4. ลิมิตของลาดับอนันต์ 6. คุณสมบัติบางประการเกี่ยวกับ ลาดับอนันต์และอนุกรมอนันต์ 5. ผลบวกของอนุกรมอนันต์
  • 2. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 2 1. ลาดับ ลาดับ (Sequence) คือ ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นจานวนเต็มบวก n ตัวแรก หรือ มีโดเมนเป็นจานวนนับ (หรือ กล่าวง่ายๆว่าลาดับ คือ ตัวเลขที่เรียงกันอย่างมีแบบแผน) ซึ่งเรามักจะนิยมใช้ตัวแปร n แทนตัวแปร x สาหรับพจน์ที่ 1 ของลาดับเราจะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ a1 และเขียนแทนพจน์ที่ n หรือ พจน์ทั่วไปของ ลาดับด้วย an การเขียนแสดงลาดับอาจเขียนได้ 3 วิธี คือ - { (1 , a1) , (2 , a2) , (3 , a3) , ... , (n , an) } - a1 , a2 , a3 , ... , an - เขียนแสดงเฉพาะพจน์ทั่วไป เช่น an = sin(nπ) เราสามารถแบ่งลาดับได้เป็น 2 ประเภท คือ - ลาดับจากัด (finite sequence) คือ ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็น { 1 , 2 , 3 , 4 , ... , n } (มีจานวนพจน์ เป็นจานวนจากัด) เช่น ลาดับ 1 , 2 , 3 , 4 , 5 เป็นลาดับจากัดที่มี 5 พจน์ หรือ 2 , 4 , 8 , 16 , 32 , ... , 2n เป็นลาดับจากัดที่มี n พจน์ - ลาดับอนันต์ (infinite sequence) คือ ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นจานวนนับ N (มีจานวนพจน์เป็น อนันต์) เช่น ลาดับ 1 , 4 , 9 , ... , n2 , ... ถ้าหากโจทย์กาหนดมาเฉพาะพจน์ทั่วไปของลาดับมาให้ และไม่ได้ระบุสมาชิกในโดเมน ให้ถือว่าลาดับ นั้นเป็นลาดับอนันต์ ตัวอย่าง จงหา 5 พจน์แรก ของลาดับต่อไปนี้ (1) an = n2 +1 (2) an = (-1)n+1 sin n 2       (3) an = (2n+2)(3n-1) (4) an = n (n 1) n n n 1   (5) an+1 = 3an - 2an-1 เมื่อกาหนด a1 = 1 , a2 = 2
  • 3. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 3 ตัวอย่าง จงหาพจน์ทั่วไปของลาดับต่อไปนี้ (1) 1 , 1 2 , 1 3 , 1 4 (2) 5 , 7 , 9 , 11 (3) 13 , 35 , 57 , 79 (4) 4 , 8 , 16 , 32 (5) 2 , -8 , 18 , -32 (6) 3 , 33 , 333 , 3333 1.1 ลาดับเลขคณิต (Arithmetic sequence) ลาดับเลขคณิต คือ ลาดับที่มีผลต่างที่เกิดจากการนาพจน์ที่ n+1 ลบกับพจน์ที่ n ได้เป็นค่าคงตัว และ เรียกค่าคงตัวนี้ว่า ผลต่างร่วม (d : common difference) n+1 nd = a - a n 1a = a +(n - 1)d ตัวอย่าง กาหนด 2 , 5 , 8 , ... เป็นลาดับเลขคณิต จงหาพจน์ที่ 20 และ พจน์ทั่วไปของลาดับนี้
  • 4. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 4 ตัวอย่าง ถ้า 3 พจน์แรกของลาดับเลขคณิต คือ 20 , 16 และ 12 ตามลาดับ แล้ว -96 เป็นพจน์ที่ เท่าไรของลาดับ ตัวอย่าง ( 1) จงหาค่า x ที่ทาให้ลาดับ -1 , x , 7 เป็นลาดับเลขคณิต (2) ลาดับ 11 , a , b , 18.5 เป็นลาดับเลขคณิต จงหาค่า a + b PAT1 มี.ค.54 กาหนดให้ 4 พจน์แรกของลาดับเลขคณิต คือ 2a + 1 , 2b - 1 , 3b - a และ a + 3b เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริง พจน์ที่ 1000 ของลาดับเลขคณิตนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ข้อควรรู้ เทคนิคการหาพจน์ทั่วไปของลาดับเลขคณิตให้ไวๆ ข้อควรรู้ สูตรพจน์กลางของลาดับเลขคณิต
  • 5. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 5 ENT’40 พจน์แรกที่เป็นจานวนเต็มลบของลาดับเลขคณิต 200 , 182 , 164 , 146 , ... มีค่าต่างจาก พจน์ที่ 10 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ตัวอย่าง (1) มีจานวนเต็มกี่จานวนตั้งแต่ 1 ถึง 200 ที่หารด้วย 4 และ 6 ลงตัว ( 2) มีจานวนเต็มกี่จานวนตั้งแต่ 1 ถึง 200 ที่หารด้วย 4 หรือ 6 ลงตัว ( 3) มีจานวนเต็มกี่จานวนตั้งแต่ 100 ถึง 200 ที่หารด้วย 4 หรือ 6 ลงตัว ( 4) มีจานวนเต็มกี่จานวนตั้งแต่ 1 ถึง 200 ที่ 4 หารลงตัว แต่ 6 หารไม่ลงตัว ตัวอย่าง ในลาดับเลขคณิตชุดหนึ่ง กาหนดให้ an+3 – an = 9 เสมอ จงหาว่า a13 – a1 มีค่าเท่าใด
  • 6. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 6 ตัวอย่าง บริษัทรถยนต์รับซื้อรถยนต์คืนจากผู้ซื้อในอัตราดังนี้ รถยนต์ที่ใช้แล้ว 1 ปี จะซื้อในราคาต่า กว่าราคาที่ซื้อในบริษัท 100,000 บาท และหลังจากนั้น ราคาของการซื้อคืนจะลดลงปีละ 70,000 บาท ถ้าซื้อ รถยนต์จากบริษัทนี้ในราคา 1,000,000 บาท จงหาราคาที่บริษัทรับซื้อคืนเมื่อใช้ไปแล้ว 5 ปี 1.2 ลาดับเรขาคณิต (Geometric sequence) ลาดับเรขาคณิต คือ ลาดับที่มีอัตราส่วนที่เกิดจากการนาพจน์ที่ n+1 หารด้วยพจน์ที่ n ได้เป็นค่าคง ตัว และเรียกค่าคงตัวนี้ว่า อัตราส่วนร่วม (r : common ratio) n+1 n a r = a n-1 n 1a = a r ตัวอย่าง กาหนด 2 , 4 , 8 , ... เป็นลาดับเลขคณิต จงหาพจน์ที่ 8 และ พจน์ทั่วไปของลาดับนี้ ตัวอย่าง ถ้า 3 พจน์แรกของลาดับเรขาคณิต คือ 1 6 , 1 - 2 และ 6 - 2 ตามลาดับ แล้ว 27 2 2 เป็นพจน์ที่เท่าไรของลาดับ
  • 7. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 7 ตัวอย่าง (1) จงหาค่า x ที่ทาให้ลาดับ 5 , x , 20 เป็นลาดับเรขาคณิต (2) ลาดับ 27 8 , m , n , 8 27 เป็นลาดับเรขาคณิต จงหาค่า mn ตัวอย่าง ก , ข และ ค มีอายุ 5 , 13 และ 29 ปี ตามลาดับ อีกกี่ปี อายุของ ก , ข และ ค จะมีลักษณะ เรียงกันเป็นลาดับเรขาคณิต PAT1 ต.ค.53 ถ้าผลคูณของลาดับเรขาคณิต 3 จานวนที่เรียงติดกันเท่ากับ 343 และผลบวกของทั้งสาม จานวนนี้เท่ากับ 57 แล้วค่ามากที่สุดในบรรดา 3 จานวนนี้เท่ากับเท่าใด ENT’41 ให้ x , y , z , w เป็นพจน์ 4 พจน์เรียงกันในลาดับเรขาคณิต โดยที่ x เป็นพจน์แรก ถ้า y + z = 6 และ z + w = -12 จงหาค่าสัมบูรณ์ของพจน์ที่ 5 ของลาดับนี้ ข้อควรรู้ สูตรพจน์กลางของลาดับเรขาคณิต
  • 8. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 8 ตัวอย่าง ผลรวมของ 2 พจน์แรกของลาดับเรขาคณิตเป็น 7 และผลรวม 6 พจน์แรกของลาดับนี้มีค่า เป็น 91 จงหาผลรวม 4 พจน์แรกของลาดับนี้ PAT1 มี.ค.54 ให้ a , b , c เป็นจานวนจริง โดยที่ 2a , 3b , 4c เป็นลาดับเรขาคณิต และ 1 1 1 , , a b c เป็น ลาดับเลขคณิต ค่าของ a c + c a เท่ากับเท่าใด ENT’44 มี.ค. กาหนด a , b , c เป็น 3 พจน์เรียงติดกันในลาดับเรขาคณิต และมีผลคูณเป็น 27 ถ้า a , b + 3 , c + 2 เป็น 3 พจน์เรียงติดกันในลาดับเลขคณิตแล้ว a + b + c มีค่าเท่ากับเท่าใด ตัวอย่าง ปล่อยลูกบอลจากที่สูง 10 เมตร ในแต่ละครั้งที่ลูกบอลกระดอนขึ้นจะกระดอนขึ้นมาสูงเป็น 7 10 ของครั้งก่อนเสมอ จงหาว่าหลังจากที่ลูกบอลกระทบพื้นครั้งที่ 5 ลูกบอลจะกระดอนขึ้นมาได้สูงสุดเท่าใด (กาหนด 5 (0.7) 0.17)
  • 9. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 9 1.3 ลาดับอื่นๆที่น่าสนใจ 1. ลาดับฮาร์โมนิค (harmonic sequence) คือ ลาดับที่แต่ละพจน์เป็นส่วนกลับของลาดับเลขคณิต นั่นคือ ถ้ากาหนดให้ an เป็นลาดับเลขคณิต แล้วจะได้ว่า n n 1 1 1 h = = a a + (n - 1)d เช่น 1 , 1 2 , 1 3 , 1 4 , ... , 1 n หรือ 1 3 , 1 7 , 1 11 , 1 15 , ... , 1 4n -1 ตัวอย่าง ถ้าลาดับ 1 1 1 1, , , b - a 2b - 3a 2b เป็นลาดับฮาร์โมนิคแล้ว จงหาค่าพจน์ที่ 100 2. ลาดับพหุนาม (polynomial sequence) คือ ลาดับที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูป an = aknk + ak-1nk-1 + ak-2nk-2 + ... + a1n +a0 (เมื่อ k N, ia Rโดย  0 i k) เช่น an = n2 +3n+1 ข้อควรรู้ การหาพจน์ทั่วไปของลาดับพหุนาม
  • 10. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 10 ตัวอย่าง จงหาพจน์ทั่วไปของลาดับต่อไปนี้ (1) 2 , 6 , 12 , 20 , 30 , ... (2) -2 , 1 , 8 , 19 , 34 , ... (3) 6 , 4 , 10 , -42 , -98 , ... ตัวอย่าง จงหาพจน์ทั่วไปของลาดับ 2 , 4 , 8 , ... แต่พจน์ที่ 4 ไม่ใช่ 16 ตัวอย่าง นาย ก ฝากเงินในธนาคาร 500,000 บาท โดยธนาคารคิดดอกเบี้ยร้อยละ 2 ต่อปี จงหาเงิน และดอกเบี้ยที่เขาได้รับหลังฝากไป 5 ปี เมื่อ (กาหนด (1.02)5  1.104) ( 1) ไม่คิดดอกเบี้ยทบต้น ( 2) คิดดอกเบี้ยทบต้น
  • 11. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 11 3. ลาดับความสัมพันธ์เวียนเกิด (recurrence relation) คือ ลาดับที่มีการแสดงความสัมพันธ์ที่ เกี่ยวข้องกับพจน์ก่อนหน้านั้น เช่น an = 2an-1 + 3an-2 หรือ an+1 = (an)(an-1) + 2n PAT1 ก.ค.52 กาหนดให้ an เป็นลาดับซึ่งสอดคล้องกับเงื่อนไข n n 1 1 1 1 a a    สาหรับทุกจานวนนับ n ถ้า a1 + a2 + ... + a100 = 250 แล้ว 2552a 2.5 มีค่าเท่ากับเท่าใด PAT1 มี.ค.54 กาหนดให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ an+1 = n2 – an สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , ... ค่าของ a1 ที่ทาให้ a101 = 5100 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ข้อควรรู้ ลาดับฟีโบนักชี (Fibonacci sequence) ลาดับฟีโบนักชี เป็นลาดับที่เกิดจากการนาสองพจน์ก่อนหน้ามารวมกัน และมีพจน์ที่ 1 และพจน์ ที่ 2 เป็น 1 จึงจัดได้ว่าลาดับฟีโบนักชีเป็นลาดับความสัมพันธ์เวียนเกิดชนิดหนึ่ง
  • 12. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 12 2. สัญลักษณ์แทนการบวก ในกรณีที่เราต้องการเขียนแสดงการบวกของจานวนหลายๆจานวน บางครั้งอาจมีความยุ่งยาก จึงมี การกาหนดสัญลักษณ์  (Sigma) เป็นสัญลักษณ์แทนการบวก โดย  n i=m f(i) = f(m) + f(m+1) + f(m+ 2) +...+ f(n) เมื่อ j , k เป็นจานวนเต็มซึ่ง j  k เรียก i ว่า ดัชนีของการบวก (index of summation) เรียก j และ k ว่า ขอบเขตล่างของการบวก และขอบเขตบนของการบวก ตามลาดับ เช่น   i 1 2 3 n i=1 a = a + a + a +...+ a +...  2 i=-3 (3n) = 3(-3) + 3(-2) + 3(-1) + 3(0) + 3(1) + 3(2) ตัวอย่าง ฟังก์ชัน x e สามารถเขียนได้ในรูปของฟังก์ชันพหุนามด้วยสูตรของเทย์เลอร์ โดย 2 3 x x x e =1+ x + + +... 2! 3! จงเขียนสูตรของเทย์เลอร์นี้ในรูปซิกมา 2.1 คุณสมบัติพื้นฐานของสัญลักษณ์แทนการบวก 1. 2. 3. 4. ข้อควรระวัง
  • 13. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 13 2.2 สูตรการหาผลบวกของลาดับที่ต้องรู้ 1. 2. 3. ตัวอย่าง จงหาผลบวก 15 พจน์แรกของอนุกรมต่อไปนี้ (1) 12 + 32 + 52 + 72 + ... (2) 132 + 252 + 372 + 492 + ... (3) 1 + 3 + 7 + 13 + 21 + ... ตัวอย่าง จงหาค่าของ 10 2 k 1 (2k 3k 1)   
  • 14. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 14 3. อนุกรม อนุกรม (Series) คือ ผลบวกของพจน์ทุกพจน์ในลาดับ ซึ่งแบ่งได้ 2 ประเภท คือ - อนุกรมจากัด (finite series) คือ อนุกรมที่เกิดจากลาดับจากัด Sn =  n i i=1 a = a1 + a2 + a3 + ... + an โดยเราเรียก Sn ว่า ผลบวกย่อย n พจน์แรกของอนุกรม (partial sum of the first n terms) - อนุกรมอนันต์ (infinite series) คือ อนุกรมที่เกิดจากลาดับอนันต์ S =   i i=1 a = a1 + a2 + a3 + ... + an + ... และจากนิยามของอนุกรม ทาให้เราสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่างลาดับและอนุกรมได้ดังนี้ an = Sn – Sn-1 3.1 อนุกรมเลขคณิต (Arithmetic series) อนุกรมเลขคณิต คือ อนุกรมที่เกิดจากการนาแต่ละพจน์ในลาดับเลขคณิตมาบวกกัน Sn = n 2 [2a1 + (n-1)d] Sn = n 2 [a1 + an] ตัวอย่าง จงหาผลบวก 20 พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต 1 + 4 + 7 + 10 + ...
  • 15. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 15 ตัวอย่าง อนุกรมเลขคณิต 2 + 7 + 12 + 17 + ... มีผลบวกเป็น 801 อนุกรมนี้มีกี่พจน์ ตัวอย่าง อนุกรมเลขคณิตชุดหนึ่งมีผลบวก 4 พจน์แรกเป็น 68 และมีผลบวก 6 พจน์แรกเป็น 78 จง หาผลบวก 10 พจน์แรกของอนุกรม ตัวอย่าง อนุกรมเลขคณิตชุดหนึ่งมีพจน์ที่ n เท่ากับ 33 ผลบวก n พจน์เท่ากับ 195 และผลต่างร่วม เท่ากับ 3 จงหาพจน์แรกของอนุกรม และจงหาว่าอนุกรมนี้มีกี่พจน์ ตัวอย่าง นาย ก เริ่มออมเงินโดยในวันแรก เขามีเงินออม 10 บาท และในวันต่อไป นาย ก จะเก็บออม เงินเพิ่มขึ้นวันละ 2 บาท เช่นนี้ไปเรื่อยๆ เมื่อผ่านไป 1 เดือน นาย ก จะมีเงินออมทั้งหมดเท่าใด
  • 16. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 16 3.2 อนุกรมเรขาคณิต (Geometric series) อนุกรมเรขาคณิต คือ อนุกรมที่เกิดจากการนาแต่ละพจน์ในลาดับเรขาคณิตมาบวกกัน Sn = n 1a (r - 1) r - 1 = n 1a (1 - r ) 1 - r หรือ Sn = n 1a r - a r - 1 = 1 na - a r 1 - r ตัวอย่าง จงหาผลบวก 10 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตต่อไปนี้ (1) 1 + 2 + 4 + 8 + ... (2) 4 + 2 + 1 + 1 2 + ... ตัวอย่าง อนุกรมเรขาคณิตชุดหนึ่ง มีผลบวก 4 พจน์แรกเป็น 60 และพจน์ที่ 4 มีค่าเป็น 4 เท่าของ พจน์ที่ 2 จงหาผลบวก 6 พจน์แรกของอนุกรมนี้
  • 17. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 17 ตัวอย่าง จงหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรม 8 + 88 + 888 + 8888 + ... ทุนเล่าเรียนหลวง’43 อนุกรมเรขาคณิตชุดหนึ่งมี n พจน์ โดย a3 = 3 และผลบวก 3 พจน์สุดท้ายเป็น 3 เท่าของผลบวกของ 3 พจน์แรก แล้ว an มีค่าเท่าใด ตัวอย่าง ถ้าพจน์ที่ n ของอนุกรมชุดหนึ่งเป็น 2n2 + 2n จงหาผลบวก 10 พจน์แรกของอนุกรมนี้ สมาคมฯ’43 ผลบวกของอนุกรมจากัด 140 + 338 + 536 + ... + 392 มีค่าเท่ากับเท่าใด
  • 18. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 18 ตัวอย่าง จงหาผลบวก 30 พจน์แรกของอนุกรม 1 + 3 – 5 + 7 + 9 – 11 + 13 + 15 – 17 + ... ทุนเล่าเรียนหลวง’42 จงหาสี่พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต ซึ่งมีผลบวก n เทอมมีค่าเป็น n (3n 5) 2  PAT1 ต.ค.53 นิยามให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง เรียกพจน์ an ว่าพจน์คู่ ถ้า n เป็นจานวนคู่ และ เรียกพจน์ an ว่าพจน์คี่ ถ้า n เป็นจานวนคี่ กาหนด {an} เป็นลาดับเลขคณิตโดยมีจานวนพจน์เป็นจานวนคู่ และผลบวกของพจน์คี่ ทั้งหมดเท่ากับ 36 และผลบวกของพจน์คู่ทั้งหมดเท่ากับ 56 ถ้าพจน์สุดท้ายมากกว่าพจน์แรกเป็นจานวน เท่ากับ 38 แล้วลาดับเลขคณิต {an} มีทั้งหมดกี่พจน์
  • 19. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 19 4. ลิมิตของลาดับอนันต์ ในหัวข้อนี้ เราจะพิจารณาสมบัติบางประการของลาดับอนันต์ โดยเราจะพิจารณาว่า เมื่อ n มีค่ามาก ขึ้นอย่างไม่มีที่สิ้นสุด จะทาให้ an มีค่าเป็นอย่างไร พิจารณา ลาดับอนันต์ต่อไปนี้ an = 1 n สามารถเขียนแจกแจงพจน์ของลา1ดับได้เป็น 1 , 1 2 , 1 3 , ... , 1 1000 , ... ซึ่งจะเห็นว่า เมื่อ n มีค่ามากขึ้นเรื่อยๆ an มีค่าเข้าใกล้ 0 bn = n n +1 สามารถเขียนแจกแจงพจน์ของลาดับได้เป็น 1 2 , 2 3 , 3 4 , ... , 999 1000 , ... ซึ่งจะเห็นว่า เมื่อ n มีค่ามากขึ้นเรื่อยๆ bn มีค่าเข้าใกล้ 1 จะเห็นได้ว่า เมื่อ n มีค่ามากขึ้นเรื่อยๆ ลาดับ an และ bn มีค่าลู่เข้าสู่จานวนจริงที่แน่นอนค่าหนึ่ง ซึ่ง เราเรียกค่านี้ว่า ลิมิตของลาดับ (limit of sequence) และเรียกลาดับอนันต์ที่หาค่าลิมิตได้ว่า ลาดับคอนเวอร์ เจนต์ (convergent sequence) cn = n สามารถเขียนแจกแจงพจน์ของลาดับได้เป็น 1 , 2 , 3 , ... , 1000 , ... ซึ่งจะเห็นว่า เมื่อ n มีค่ามากขึ้นเรื่อยๆ cn มีค่ามาขึ้นเรื่อยๆไม่มีที่สิ้นสุด dn = (-1)n สามารถเขียนแจกแจงพจน์ของลาดับได้เป็น -1 , 1 , -1 , ... ซึ่งจะเห็นว่า เมื่อ n ค่ามากขึ้นเรื่อยๆ ไม่สามารถสรุปได้ว่า dn มีค่าเข้าใกล้ค่าใด จะเห็นว่า เมื่อ n มีค่ามากขึ้นเรื่อยๆ ลาดับ cn และ dn ไม่มีค่าลิมิตที่เป็นจานวนจริง (ไม่สามารถหาค่า ลิมิตได้) เราเรียกลาดับอนันต์ที่หาค่าลิมิตไม่ได้ว่า ลาดับไดเวอร์เจนต์ (divergent sequence) ถ้ากาหนดให้ลาดับอนันต์ an เป็นลาดับคอนเวอร์เจนต์ที่มีลิมิตเท่ากับจานวนจริง L เราจะเขียนแทน ด้วยสัญลักษณ์  n n lim a L
  • 20. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 20 แต่ถ้า an เป็นลาดับไดเวอร์เจนต์ เราจะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์  n n lim a หาค่าไม่ได้ (ในกรณีที่ an มีค่ามากขึ้นหรือลดลงอย่างไม่สิ้นสุดเราอาจเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์   n n lim a หรือ   n n lim a ) 4.1 ทฤษฏีบทเกี่ยวกับลิมิตของลาดับ ทฤษฏีบทพื้นฐาน กาหนดให้ an , bn , cn , tn เป็นลาดับอนันต์ A , B เป็นจานวนจริง และ c เป็นค่าคงตัวใดๆ โดย  n n lim a A และ  n n lim b B 1. ถ้า tn = c แล้ว    n n n lim t lim c c 2.    n n n n lim ca c lim a cA 3.        n n n n n n n lim (a b ) lim a lim b A B 4.       n n n n n n n lim (a b ) lim a lim b AB 5.      n nn n n n n lim aa A lim ( ) b lim b B เมื่อ nb 0 ทุก n N และ B 0 ทฤษฏีบทเพิ่มเติม กาหนดให้ an , bn เป็นลาดับอนันต์ t , r เป็นจานวนจริง และ c เป็นค่าคงตัวใดๆ 1.  tn 1 lim 0 n เมื่อ t > 0 2.  n n lim r 0 เมื่อ r < 1 3. ถ้า n n c a b และ   n n lim b หรือ  แล้ว    n n n n c lim a lim 0 b 4. ถ้า n n lim a L   และ f เป็นฟังก์ชันซึ่ง f(L) หาค่าได้แล้ว ลาดับอนันต์ f(an) จะมีลิมิตเป็น f(L)
  • 21. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 21 5. (Squeeze Theorem) ถ้า n n nb a c  ทุก n N และ n n n n lim b lim c L     แล้วเรา สามารถสรุปได้ว่า n n lim a L   6. กาหนด an เป็นลาดับซึ่งแต่ละพจน์มีเครื่องหมายบวกและลบสลับกันแล้ว - ถ้า n n lim a 0   แล้ว ลาดับอนันต์ดังกล่าวจะเป็นลาดับคอนเวอร์เจนต์ - ถ้า n n lim a 0   แล้ว ลาดับอนันต์ดังกล่าวจะเป็นลาดับไดเวอร์เจนต์ ตัวอย่าง จงหาค่าลิมิตของลาดับอนันต์ต่อไปนี้ (1) 2n 2 lim n (2) nn 3 lim cos 5       (3) nn 7 1 lim 2 n ( 3)        (4) 2 log5 2nn 1 lim 9 n e        (5) n nn ( 1) sin(n) lim 2   (6) n 1 n 1 lim ( 1) n        
  • 22. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 22 4.2 ลิมิตของลาดับอนันต์ชนิดต่างๆ 1. ลาดับตรรกยะ (rational sequence) คือ ลาดับที่เกิดจากฟังก์ชันพหุนาม 2 ฟังก์ชันหารกัน นั่น คือ an = p(n) q(n) เมื่อ p(n) และ q(n) เป็นฟังก์ชันพหุนาม ตัวอย่าง จงหาค่าลิมิตของลาดับอนันต์ต่อไปนี้ ( 1) 2n 2n lim n 1  (2) n n 1 lim 6  (3) n n 1 lim n 1   ข้อควรรู้ กาหนดลาดับตรรกยะ p p 1 p p 1 1 0 n q q 1 q q 1 1 0 a n a n ... a n a a b n b n ... b n b              ซึ่งจะสามารถ พิจารณาลิมิตของลาดับได้เป็น 3 กรณีย่อย คือ 1. กรณีกาลังสูงสุดของเศษน้อยกว่ากาลังสูงสุดของส่วน 2. กรณีกาลังสูงสุดของเศษมากกว่ากาลังสูงสุดของส่วน 3. กรณีกาลังสูงสุดของเศษเท่ากับกาลังสูงสุดของส่วน
  • 23. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 23 ตัวอย่าง จงหาค่าลิมิตของลาดับอนันต์ต่อไปนี้ (1) 2 2n 3n 2n lim n 5n 6    (2) 2 n 2n n lim n  (3) 5 2 4 6n 4n lim n n n   (4) n n n 1 lim 3n 2    (5) 23 n 2n 4 lim 3n 1   (6) 1 en n 7n lim 2n    (7)  2 2 n lim ln(2n ) ln(n 1)    (8) 3 3 n 8n 2n n lim 2         (9) 8 54 n 1 2n n 5n lim ( 1) n 3n      2. ลาดับเศษส่วนที่มีฟังก์ชันเอ็กซ์โพแนนเชียล ข้อควรรู้ วิธีหาลิมิตของลาดับเศษส่วน expo ให้นาเลขยกกาลังที่มีฐานสูงสุดหารทั้งเศษและส่วน ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 กรณี 1. กรณีฐานสูงสุดของเศษน้อยกว่าฐานสูงสุดของส่วน 2. กรณีฐานสูงสุดของเศษมากกว่าฐานสูงสุดของส่วน 3. กรณีฐานสูงสุดของเศษเท่ากับฐานสูงสุดของส่วน
  • 24. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 24 ตัวอย่าง จงหาค่าลิมิตของลาดับอนันต์ต่อไปนี้ (1) n nn 2 1 lim 3 2   (2) n n 1 nn 1 3 lim 3 2   (3) 3n n n 1 nn 2 1 lim 5 2     ตัวอย่าง จงหาค่าลิมิตของลาดับอนันต์ต่อไปนี้ (1) 2 nn n 1 lim 5  (2) n 10 5n (1.1) lim n n  (3) 3 2 2n 1 3 1 nn 2n 8n 2 lim n 3n n 4       
  • 25. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 25 3. ลาดับเลขคณิต เราสามารถพิจารณาคุณสมบัติความเป็นคอนเวอร์เจนต์หรือไดเวอร์เจนต์ของลาดับเลขคณิตได้ ดังนี้ - ถ้า d = 0 จะได้ว่า a1 = a2 = a3 = ... = an = ... นั่นคือ ลาดับเป็นลาดับคอนเวอร์เจนต์ที่ ลู่เข้าสู่ค่า a1 ( n 1 1 n n lim a lim a a     ) - ถ้า d  0 จะได้ว่า เมื่อ n มากขึ้น ลาดับมีค่ามากขึ้นหรือลดลงอย่างไม่มีที่สิ้นสุด นั่นคือ ลาดับเป็นลาดับไดเวอร์เจนต์ ( n n lim a    หรือ n n lim a   ) 4. ลาดับเรขาคณิต เราสามารถพิจารณาคุณสมบัติความเป็นคอนเวอร์เจนต์หรือไดเวอร์เจนต์ของลาดับเรขาคณิตได้ ดังนี้ - ถ้า r < 1 จะได้ว่า ลาดับเป็นลาดับคอนเวอร์เจนต์ที่ลู่เข้าสู่ค่าศูนย์ นั่นคือ n n lim a 0   (เป็นไปตามทฤษฏีบทเพิ่มเติมข้อ 2) - ถ้า r = 1 จะได้ว่า a1 = a2 = a3 = ... = an = ... นั่นคือ ลาดับเป็นลาดับคอนเวอร์เจนต์ที่ลู่ เข้าสู่ค่า a1 ( n 1 1 n n lim a lim a a     ) - ถ้า r > 1 หรือ r= -1 จะได้ว่า ลาดับมีค่าเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีที่สิ้นสุด (กรณี r > 1) หรือ ลาดับแกว่งกวัด ไม่มีค่าลิมิต (กรณี r  -1) นั่นคือ ลาดับเป็นลาดับไดเวอร์เจนต์ ( n n lim a    หรือ n n lim a  หาค่าไม่ได้) ตัวอย่าง จงหาค่าลิมิตของลาดับอนันต์ต่อไปนี้ (1)   2 2 2n 3n 2n 1 lim 4n  
  • 26. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 26 (2)  2 2 n lim n 4n 2 n 1      (3)  n lim n n 1 n 1     (4) n 7n 3 7n 2 lim 3n 1 3n 1       (5) 2 2n 1 2 3 4 5 ... 2n lim 9n 15 4n 6          
  • 27. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 27 PAT1 ก.ค.52 ถ้า A = k 3n 2n lim 1 8 27 ... n         มีค่าเป็นจานวนจริงบวกแล้ว แล้วค่าของ A เท่ากับเท่าใด PAT1 มี.ค.53 ถ้า {an} เป็นลาดับของจานวนจริงที่ an = 2 2 4 6 ... 2n n     สาหรับทุกจานวนเต็ม บวก n แล้ว n n lim a  มีค่าเท่ากับเท่าใด PAT1 ก.ค.53 ให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ a1 + a2 + a3 + ... + an = n2 an สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , ... ถ้า a1 = 100 แล้ว 2 n n lim n a  มีค่าเท่ากับเท่าใด
  • 28. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 28 PAT1 มี.ค.54 กาหนดให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ a1 = 1 และ an + 1  an+1 และ an+5  an + 5 สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , ... แล้วค่าของ n k n k 1 1 lim (a 6 k) n          เท่ากับเท่าใด 4.3 ลิมิตของลาดับอนันต์ที่ควรทราบเพิ่มเติม 1. n lnn lim 0 n  2. n n lim n 1   3. 1 n n lim x 1   เมื่อ x > 0 4. n x n x lim 1 e n       เมื่อ x R 5. n n x lim 0 n!  เมื่อ x R ตัวอย่าง จงหาค่าลิมิตของลาดับอนันต์ต่อไปนี้ (1) 2 n ln(n ) lim n (2) n n lim 3n  (3) n n n 2 lim n       (4) n n 100 lim n!
  • 29. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 29 5. ผลบวกของอนุกรมอนันต์ ดังที่ได้กล่าวในหัวข้อที่ 3 ไปแล้วว่า อนุกรมอนันต์ คือ อนุกรมที่เกิดจากลาดับอนันต์ ในหัวข้อนี้ เรา จะศึกษาเกี่ยวกับอนุกรมอนันต์ว่ามีค่าผลบวกเป็นอย่างไร พิจารณา อนุกรมอนันต์ a1 + a2 + a3 + ... + an + ... และ Sn คือ ผลบวกย่อย n พจน์แรกของ อนุกรม จะได้ว่า S1 = a1 S2 = a1 + a2 S3 = a1 + a2 + a3 . . . Sn = a1 + a2 + a3 + .. + an เมื่อนาผลบวกย่อย n พจน์แรก มาเรียงเป็นลาดับอนันต์ คือ S1 , S2 , S3 , ... , Sn , ... เราจะเรียก ลาดับอนันต์ที่ได้นี้ว่า ลาดับของผลบวกย่อยของอนุกรม (sequence of partial sums) ถ้าลาดับ Sn นี้ลู่เข้า โดย n n lim S  = S เมื่อ S เป็นจานวนจริง แล้วอนุกรมอนันต์ a1 + a2 + a3 + ... + an + ... เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์ (convergent series) และเรียก S ว่า ผลบวกของ อนุกรม แต่ถ้าลาดับ Sn เป็นลาดับลู่ออก ( n n lim S  หาค่าไม่ได้) จะกล่าวว่าอนุกรมอนันต์ a1 + a2 + a3 + ... + an + ... เป็นอนุกรมไดเวอร์เจนต์ (divergent series) 5.1 อนุกรมเลขคณิตอนันต์ เราสามารถพิจารณาคุณสมบัติความเป็นคอนเวอร์เจนต์หรือไดเวอร์เจนต์ของอนุกรมเลขคณิตได้ ดังนี้ - ถ้า a1 = 0 และ d = 0 (ซึ่งก็คืออนุกรม 0 + 0 + 0 + ...) อนุกรมจะเป็นอนุกรมคอนเวอร์ เจนต์ที่ลู่เข้าสู่ค่าศูนย์ นั่นคือ n n lim S 0   - ถ้า a1  0 หรือ d  0 อนุกรมจะเป็นอนุกรมไดเวอร์เจนต์
  • 30. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 30 5.2 อนุกรมเรขาคณิตอนันต์ เราสามารถพิจารณาคุณสมบัติความเป็นคอนเวอร์เจนต์หรือไดเวอร์เจนต์ของอนุกรมเรขาคณิตได้ ดังนี้ - ถ้า r < 1 จะได้ว่า อนุกรมเป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์ ซึ่งมีค่าผลบวกเป็น 1 n n a lim S 1 r   - ถ้า r  1 จะได้ว่า อนุกรมเป็นอนุกรมไดเวอร์เจนต์ (อนุกรมมีค่ามากขึ้นอย่างไม่สิ้นสุด หรือ อนุกรมแกว่งกวัด ไม่มีค่าลิมิต) ตัวอย่าง จงหาผลบวกของอนุกรมอนันต์ 1 1 1 2 ... 2 8 32     PAT1 มี.ค.53 ผลบวกของอนุกรม n n n 1 11 33 3 2 2 3 ... ... 4 16 4         เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ตัวอย่าง จงหาลิมิตของลาดับอนันต์ 2 , 2 2 , 2 2 2 , 2 2 2 2 , ...
  • 31. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 31 ตัวอย่าง จงใช้ความรู้เกี่ยวกับอนุกรมเขียนทศนิยม 0.4567  ให้อยู่ในรูปของเศษส่วน ENT’41 ตุลาฯ ให้ S = , 2 2        และ 2 4 6 F(x) sin x sin x sin x ...    , x S ถ้า a เป็น สมาชิกของเซต S ที่น้อยที่สุดที่ทาให้ F(a)  1 แล้ว F(a) มีค่าเท่ากับเท่าใด ENT’28 ลูกปิงปองตกจากโต๊ะสูง 4 ฟุต ถ้าทุกครั้งที่ลูกปิงปองตกกระทบพื้นจะกระดอนขึ้นเป็น ระยะทาง 3 4 เท่าของความสูงที่ตกลงมา ระยะทางทั้งหมดที่ลูกปิงปองเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเป็นกี่ฟุต
  • 32. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 32 5.3 สหอนุกรมเลขคณิตกับเรขาคณิต สหอนุกรมเลขคณิตกับเรขาคณิต คือ อนุกรมที่เกิดจากลาดับผสมระหว่างลาดับเลขคณิตกับลาดับ เรขาคณิต ตัวอย่าง จงหาผลบวกของอนุกรมอนันต์ต่อไปนี้ (1) 1 4 7 10 ... 3 9 27 81     (2) 2n 1 n 1 1 1 1 1 log2 log8 log32 ... log2 ... 2 10 50 2 5         ข้อควรรู้ ขั้นตอนการหาผลบวกของสหอนุกรมเลขคณิตกับเรขาคณิต
  • 33. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 33 ทุนเล่าเรียนหลวง’44 จงหาผลบวกของอนุกรมอนันต์ n n n 1 (ln2 )(ln2)    ตัวอย่าง จงหาค่าของ 1 11 1 9 813 273 9 27 81 ...    PAT1 ต.ค.53 กาหนดให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ an = 2n k 1 k (2k 1)(2k 1)    สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , ... n n 16 lim a n เท่ากับเท่าใด
  • 34. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 34 5.4 อนุกรม telescopic อนุกรม telescopic คือ อนุกรมที่แต่ละพจน์ของอนุกรม สามารถแยกเป็นผลลบของจานวนจริง 2 จานวนได้ ตัวอย่าง จงหาผลบวกของอนุกรมอนันต์ต่อไปนี้ (1) 1 1 1 1 ... 1 3 3 5 5 7 7 9         (2) 1 1 1 1 ... 1 3 5 3 5 7 5 7 9 7 9 11             (3) 1 1 1 1 ... 1 2 1 2 3 1 2 3 4           (4) 1 1 1 1 ... 6 12 20 30    
  • 35. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 35 PAT1 ต.ค.53 กาหนดให้ Sk = 13 + 23 + 33 + ... + k3 สาหรับ k = 1 , 2 , 3 , ... ค่าของ n 1 2 3 n 1 1 1 1 lim ... S S S S         เท่ากับเท่าใด PAT1 ก.ค.52 ถ้า 4 2 n 2 1 A n n      แล้ว 2 n 2 1 n    มีค่าเท่ากับเท่าใด PAT1 ต.ค.53 ค่าของ 9999 4 4 n 1 1 ( n n 1)( n n 1)      เท่ากับเท่าใด PAT1 มี.ค.53 กาหนดให้ Sn = n k 1 1 k(k 1) k( k 1)          สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , ... ค่าของ n n lim S  เท่ากับเท่าใด
  • 36. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 36 5.5 อนุกรมพี (p-series) อนุกรมพี คือ อนุกรมที่สามารถเขียนอยู่ในรูป p p p p n 1 1 1 1 1 1 ... ... n 2 3 n         เมื่อ p R ซึ่งเราจะพิจารณาความเป็นคอนเวอร์เจนต์หรือไดเวอร์เจนต์ของอนุกรมพีได้ ดังนี้ - ถ้า p > 1 แล้ว อนุกรมพี จะเป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์ - ถ้า p  1 แล้ว อนุกรมพี จะเป็นอนุกรมไดเวอร์เจนต์ ตัวอย่าง อนุกรมอนันต์ต่อไปนี้ อนุกรมใดเป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์ (1) 1 1 1 1 ... 2 3 4     (2) 1 1 1 1 ... 2 3 4     (3) 1 1 1 1 ... 2 2 3 3 4 4     PAT1 ก.ค.53 กาหนดให้อนุกรมต่อไปนี้ A = 1000 k k 1 ( 1)   , B = 20 2 k 3 k   , C = 100 k 1 k   , D = k k 1 1 2 2          ค่าของ A + B + C + D เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
  • 37. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 37 PAT1 ก.ค.53 ให้ k เป็นค่าคงที่ และถ้า n 15 4 5n k(n n) 3n 2 12 2 lim 15 6 ... 15 ... (n 2) 5 5                 แล้ว k มีค่าเท่ากับเท่าใด ENT’24 อนุกรม   n n 1 n 3 n 1 sin n ( 1) 2 ( 1) 5                 มีผลบวกเท่ากับเท่าใด
  • 38. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 38 6. คุณสมบัติบางประการเกี่ยวกับลาดับอนันต์และอนุกรมอนันต์ ในหัวข้อนี้ เราจะศึกษาเกี่ยวกับวิธีการพิจารณาว่าลาดับอนันต์หรืออนุกรมอนันต์ที่เราสนใจ มี คุณสมบัติเป็นคอนเวอร์เจนต์หรือไดเวอร์เจนต์ โดยที่เราไม่จาเป็นที่จะต้องหาค่าลิมิตออกมาโดยตรง- 6.1 คุณสมบัติความเป็นคอนเวอร์เจนต์และไดเวอร์เจนต์ระหว่างลาดับอนันต์และอนุกรมอนันต์ ทฤษฏีบท 1 ถ้า n n 1 a    เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์แล้ว จะได้ว่า an เป็นลาดับคอนเวอร์เจนต์ ทฤษฏีบท 2 ถ้า n n 1 a    เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์แล้ว จะได้ว่า n n lim a 0   6.2 คุณสมบัติอื่นๆเพิ่มเติม 1. ถ้า n n 1 a    และ n n 1 b    เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์ทั้งคู่แล้ว จะได้ว่า n n n 1 (a b )    เป็น อนุกรมคอนเวอร์เจนต์ด้วย 2. n n 1 ca    จะเป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์ ก็ต่อเมื่อ n n 1 a    เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์ 3. การตัดพจน์ต้นๆของอนุกรมออกไปเป็นจานวนจากัดพจน์ จะไม่มีผลต่อความเป็นคอนเวอร์เจนต์ หรือไดเวอร์เจนต์ของอนุกรมอนันต์ 4. กาหนด an , bn เป็นลาดับอนันต์ซึ่ง n nb a 0  ทุก n N แล้วจะได้ว่า ข้อควรรู้ จากทฤษฏีบททั้ง 2 ข้อ จะสามารถสรุปตามหลักตรรกศาสตร์ได้ว่า
  • 39. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 39 4.1 ถ้า n n 1 b    เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์แล้ว n n 1 a    จะเป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์ด้วย 4.2 ถ้า n n 1 a    เป็นอนุกรมไดเวอร์เจนต์แล้ว n n 1 b    จะเป็นอนุกรมไดเวอร์เจนต์ด้วย ตัวอย่าง จงพิจารณาว่าข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด .......... (1) ถ้าลาดับ an ลู่เข้าแล้วอนุกรม n n 1 a    ลู่เข้า .......... (2) ถ้าอนุกรม n n 1 a    ลู่เข้าแล้ว อนุกรม n n n 1 a 1 2         ลู่เข้า .......... (3) ถ้า n n lim a 0   แล้ว n n 1 a    เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์ .......... (4) อนุกรมที่ได้จากลาดับไดเวอร์เจนต์ย่อมเป็นอนุกรมไดเวอร์เจนต์ และอนุกรมที่ได้จาก ลาดับคอนเวอร์เจนต์ย่อมเป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์ .......... (5) ถ้าอนุกรมที่เกิดจากลาดับ an และ bn เป็นอนุกรมไดเวอร์เจนต์ทั้งคู่ จะได้ว่าอนุกรมที่เกิด จากลาดับ an + bn เป็นอนุกรมไดเวอร์เจนต์ด้วย .......... (6) ถ้าอนุกรมที่เกิดจากลาดับ an และ an + bn เป็นอนุกรมลู่เข้า แล้วจะได้ว่า อนุกรมที่เกิด จากลาดับ bn ลู่เข้า .......... (7) ถ้า an เป็นพจน์ที่ n ของลาดับ ซึ่งมี an+1 > an สาหรับทุก n จะได้ว่าลาดับนี้เป็นลาดับได เวอร์เจนต์ .......... (8) ถ้า an เป็นพจน์ที่ n ของอันดับคอนเวอร์เจนต์ จะได้ว่า 1a , 2a , 3a , ... เป็น ลาดับคอนเวอร์เจนต์ด้วย .......... (9) ถ้า n 1 n a r a   เป็นค่าคงตัวสาหรับทุกๆ n > 1 และ r > 1 แล้วอนุกรม n n 1 a    ลู่เข้า
  • 40. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 40 สมาคม’52 ข้อความ “ถ้า n n 1 a    เป็นอนุกรมลู่เข้าแล้ว n n lim a 0   ” สมมูลกับข้อความในข้อใด ก . ถ้า n n 1 a    เป็นอนุกรมลู่ออก แล้ว n n lim a 0   ข. ถ้า n n lim a 0   แล้ว n n 1 a    เป็นอนุกรมลู่เข้า ค. ถ้า n n lim a 0   แล้ว n n 1 a    เป็นอนุกรมลู่ออก ง . ถ้า n n lim a 0   แล้ว n n 1 a    เป็นอนุกรมลู่เข้า ตัวอย่าง จงพิจารณาว่าอนุกรมอนันต์ต่อไปนี้เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์หรือไดเวอร์เจนต์ (1) 2 n 1 n n 1     (2) 2 n 1 1 n 1     (3) n 2 n 1 1 2 n    
  • 41. คณิตศาสตร์ ลาดับและอนุกรม www.clipvidva.com 41 เอกสารอ้างอิง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้ เพิ่มเติม คณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ครุสภาลาดพร้าว, พิมพ์ครั้งที่ 3, 2550. อรรณพ สุขธารง. คณิตศาสตร์ Entrance เล่ม 4. ม.ป.ป. Entrance Problem Book II for successful students, กรุงเทพมหานคร: Tutor Publisher, 2549. ทรงวิทย์ สุวรรณธาดา. คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.6 ภาคเรียนที่ 2, กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์แม็ค จากัด, ม.ป.ป. สมัย เหล่าวานิชย์, รศ. คณิตศาสตร์พื้นฐาน+เพิ่มเติม 6, กรุงเทพมหานคร: บริษัท ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง จากัด, ม.ป.ป. ณัฐพล ศุจิจันทรรัตน์. New Math Tests book I, Science Center, ม.ป.ป. ธีระ ตีรณานุสิษฐ์. เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ทุนเล่าเรียนหลวงปี 37-48, Science Center, ม.ป.ป. ดารงค์ ทิพย์โยธา, สุรชัย สมบัติบริบูรณ์ และ ณัฏฐนาถ ไตรภพ. แคลคูลัส 2, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 4, 2553.