SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
เรื่อง อัตราส่วนร่วม


คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์


ข้อที่                     ลาดับ                      พจน์ที่ 2 พจน์ที่ 3 พจน์ที่ 4      พจน์ที่ n     อัตราส่วน
                                                      พจน์ที่ 1 พจน์ที่ 2 พจน์ที่ 3   พจน์ที่ n ลบหนึง
                                                                                                     ่    ร่วม

  1 5, 10. 20, 40, . . . , 5(2)n – 2,                 10
                                                          2
                                                                20
                                                                    2
                                                                            40
                                                                                2    5(2) n - 1
                                                                                                    2
                                                                                                           2
                                                       5        10          20
     5(2)n – 1, . . .                                                                 5(2)   n-2



  2 2, 12, 72, 432, . . ., 2(6)n – 2,
    2(6)n – 1, . . .
  3 1, 3, 9, 27, . . . , 3n – 2, 3n – 1,
    ...
  4 8, 16, 32, 64, . . . , 8(2)n – 2,
    8(2)n – 1, . . .
  5 7, -7, 7, -7, . . . , (-1)n(7),
    (-1)n + 1(7), . . .
  6 5, 0.5, 0.05, 0.005, . . . ,
                   n-2                 n -1
         5 1 
                            
                                1
                         , 5  10            ,...
           10                   


สรุป              ลาดับเรขาคณิต…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
83


                             เฉลยเอกสารแนะแนวทางที่ 5
                                 เรื่อง อัตราส่วนร่วม


 ข้อที่   พจน์ที่ 2        พจน์ที่ 3          พจน์ที่ 4          พจน์ที่ n             อัตราส่วนร่วม
          พจน์ที่ 1        พจน์ที่ 2          พจน์ที่ 3         พจน์ที่ n - 1
   2       12
               6
                            72
                                6
                                              432
                                                   6          2(6) n - 1
                                                                                6
                                                                                            6
            2               12                72                       n-2
                                                               2(6)
   3       3
              3
                            9
                               3
                                              27
                                                  3             3n - 1
                                                                               3
                                                                                            3
           1                3                  9                 3   n-2

   4       16
               2
                            32
                                2
                                              64
                                                  2           8(2) n - 1
                                                                                2
                                                                                            2
            8               16                32                       n-2
                                                               8(2)
   5      7
              -1
                           7
                               -1
                                              7
                                                  -1        (1) n  1 (7)
                                                                                 -1
                                                                                            -1
          7                7                 7                      n
                                                              (1) (7)


   6      0.5
               0.1
                          0.05
                                0.1
                                           0.005
                                                  0.1        1 
                                                             5 
                                                                       n -1
                                                                                           0.1
           5               0.5             0.05
                                                               10 
                                                                                0.1
                                                                       n-2
                                                              1 
                                                             5 
                                                               10 


สรุป        ลาดับเรขาคณิต คือ ลาดับที่มีอัตราส่วนของพจน์ที่ n + 1 ต่อพจน์ที่ n
              หรือพจน์หลังต่อพจน์หน้าที่อยู่ติดกันมีค่าคงที่ ค่าคงที่นี้เรียกว่า อัตราส่วนร่วม
              (Common Ratio)
84


                                            แบบฝึกหัดที่ 5

คาชี้แจง      ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์

ข้อที่                            ลาดับ                          อัตราส่วนร่วม   ลาดับเรขาคณิต
                                                                                 เป็น ไม่เป็น
  1        4, 8, 16, 32, . . .                                        2           /        -
  2        3. 6, 9, 12, . . . , 3n                                    -            -       /
  3        3, 18, 108, . . . , 3(6)n – 1, . . .
  4        5, 12, 19, . . . , 7n – 2 , . . .
  5        1, 4, 16, 64, . . . 4n – 1, . . .
  6        6, 12, 24, 48, . . . , 6(2)n – 2, 6(2)n – 1, . . .
  7        7, 14, 28, 56, . . . 7(2)n – 1
  8        3, 9, 27, 81, . . . , 3n, . . .
  9        5, 15, 45, 135, . . . , 5(3)n – 2, 5(3)n – 1, . . .
 10        6, 10, 14, 18, . . . , 4n + 2
85



              เฉลยแบบฝึกหัดที่ 5


ข้อที่   อัตราส่วนร่วม                 ลาดับเรขาคณิต
                                   เป็น          ไม่เป็น
  3           6                     /               -
  4           -                      -              /
  5           4                     /               -
  6           2                     /
  7           2                     /               -
  8           -                      -              /
  9           3                     /               -
 10           -                      -              /
86


                                     ใบความรู้ที่ 5
   การหาพจน์ที่ n หรือพจน์ทั่วไปของลาดับเรขาคณิต
       จากลาดับเรขาคณิต 2, 10, 50, 250, . . . พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์ต่าง ๆ กับ
   พจน์ที่ 1 และอัตราส่วนร่วม (r) ดังนี้
            a1 = 2
            a2 = 10           =       2(5)1 =       2(5)2 – 1
            a3 = 50           =       2(5)2 =       2(5)3 – 1
            a4 = 250 =                2(5)3 =       2(5)4 – 1
            ..
             .
             ab = 2(5)n – 1
   ถ้าให้       r = 5 , a1 = 2
   จะได้       an = a1 (r)n – 1

    สูตรการหาพจน์ที่ n (an) หรือพจน์ทั่วไปของลาดับเรขาคณิต คือ

                  an    =      a1 rn – 1
          เมื่อ   an   เป็นพจน์ที่ n
                  r    เป็นอัตราส่วนร่วม
                  a1   เป็นพจน์ที่ 1



ตัวอย่างที่ 1       กาหนดลาดับเรขาคณิต คือ 4, 16, 64, 256, . . . จงหาพจน์ที่ n (an)
    วิธีทา จากลาดับเรขาคณิต 4, 16, 64, 256, . . .
              จะได้ a1 = 4 , r = 16 = 4    4
              จากสูตร     an          = a1 r n - 1
                               = 4(4)n - 1
                               = 4n
87

                                                        1
ตัวอย่างที่ 2 กาหนดลาดับเรขาคณิต a1 =                   9
                                                            และ a6 = 27 จงหาอัตราส่วนร่วม
วิธีทา จากสูตร          an             = a1 r n - 1
                         a6           = a1 r 6 – 1
                     a6 = a1r5
        แทนค่า      27 = 1 (r)5
                             9
                 27  9      =    r5
                 33  33     =    r5
                    35       =    r5
                     r      =    3

         อัตราส่วนร่วมเท่ากับ 3

                                                                       1               2
ตัวอย่างที่ 3 กาหนดลาดับเรขาคณิตมีอัตราส่วนร่วมเท่ากับ             
                                                                       3
                                                                           และ a10 =
                                                                                       39
             จงหาพจน์ที่     1 (a1)
วิธีทา จากสูตร an            =      a1rn – 1
                a10         =      a1r10 – 1
                 a10         =      a1r9
                                                    9
                   2                      1
        แทนค่า               =         a1  
                   39                      3
                   2
                             =         a1  - 1 
                                          
                                           9
                                                
                   39                     3 
                  a1 = 2
    พจน์ที่ 1 (a1) เท่ากับ 2
88



                                               แบบฝึกหัดที่ 6

คาชี้แจง      ให้นักเรียนแสดงวิธีทา แก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้

 1.   กาหนด   a1   =   6   และ   r   =   6   จงหาลาดับเรขาคณิตนี้
 2.   กาหนด   a1   =   1   และ   r   =   7   จงหาลาดับเรขาคณิตนี้
 3.   กาหนด   a1   =   2   และ   r   =   3   จงหาลาดับเรขาคณิตนี้
 4.   กาหนด   a1   =   3   และ   r   =   -2   จงหา a5 ของลาดับเรขาคณิต
                                           1
 5.   กาหนด   a1   =   2   และ   r   =        จงหา a10 ของลาดับเรขาคณิต
                                           2
                                          1
 6.   กาหนด a1 = -3 และ r =         จงหา a5 ของลาดับเรขาคณิต
                                          4
 7.   กาหนดลาดับเรขาคณิต มี a1 = 1 และ a5 = 81 จงหาอัตราส่วนร่วม
 8.   กาหนดลาดับเรขาคณิต มี a1 = 10 และ a7 = 640 จงหาอัตราส่วนร่วม
 9.   กาหนดลาดับเรขาคณิต มี r = 5 และ a5 = 2,500 จงหา a1
10.   กาหนดลาดับเรขาคณิต มี r = -1 และ a8 = -2 จงหา a1
89


           เฉลยแบบฝึกแบบหัดที่ 6


1)    6, 36, 216, . . .
2)    1, 7, 49, . . .
3)    2, 6, 18, . . .
4)    48
        1
5)    512
          3
6)    
         256
7)    4
8)    2
9)    4
10)   2
90


                                            ใบความรู้ที่ 6

   การหาจานวนพจน์ของลาดับเรขาคณิต
      ในการหาจานวนพจน์ของลาดับเรขาคณิต ใช้สูตร an = a1 rn – 1 ซึ่งเราจะต้องทราบ
   พจน์ที่ 1 (a1) , อัตราส่วนร่วม (r) และพจน์ที่ n (an) ก่อนเสมอ ดังตัวอย่างต่อไปนี้


   ตัวอย่างที่ 1 จงหาว่าลาดับเรขาคณิต 3, 6, 12, . . ., 6144 มีกี่พจน์
   วิธีทา จากลาดับเรขาคณิต 3, 6, 12, . . ., 6144 จะได้
                 a1 = 3 , r = 6 = 2 และ an = 6,144
                                    3
            จากสูตร              an   =         a1 rn – 1
            แทนค่า               6,144          =         3(2)n – 1
                               2048 =           2n - 1
                                  211 =         2n - 1
                                n–1            =         11
                                n =            12
            ดังนั้น ลาดับเลขคณิต 3, 6, 12, . . ., 6144 มี 12 พจน์

ตัวอย่างที่ 2 224 เป็นพจน์ที่เท่าใดของลาดับเรขาคณิต
              243
                                                                7,
                                                                     14 28
                                                                      3
                                                                        ,
                                                                          9
                                                                            , ...

                                                        2                    224
   วิธีทา จากโจทย์ จะได้          a1 = 7 , r =          3
                                                              และ a =   n
                                                                             243
            จากสูตร              an             =   a1 rn – 1
                                                              n -1
                                          224        2
            แทนค่า                        243
                                                =   7 
                                                     3
                                                            n -1
                                 224                2
                                243  7
                                                =    
                                                    3
                                                            n -1
                                32                  2
                                243
                                                =    
                                                    3
                                      5                     n -1
                                2                 2
                                              =    
                                3                 3
                                n–1 =              5
                                   n =              6

                     224
                    243
                           เป็นพจน์ที่ 6
91


                                         แบบฝึกหัดที่ 7
คาชี้แจง        ให้นักเรียนแสดงวิธีทา แก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้

                                       5    5           5
1. จงหาว่าลาดับเรขาคณิต 10, -5,        2
                                         , - , ... , -
                                            4          64
                                                              มีกี่พจน์
2. จงหาว่าลาดับเรขาคณิต 1, 4, 16, 64, . . ., 4096 มีกี่พจน์
3. จงหาว่าลาดับเรขาคณิต 9 , 2 , 4 , 9 , . . . , 512 มีกี่พจน์
                            9 9
                                     8
                                                 9

                                                    1
4. 15,552 เป็นพจน์ที่เท่าใดของลาดับเรขาคณิต         3
                                                        , 2, 12, 72, . . .
          3                                                 3    3
5.   
         256
               เป็นพจน์ที่เท่าใดของลาดับเรขาคณิต 6, -3,       , - , ...
                                                            2    4
92


          เฉลยแบบฝึกหัดที่ 7



1)   8
2)   7
3)   10
4)   7
5)   10
93


                                   ใบความรู้ที่ 7

โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับลาดับเรขาคณิต
        ในการแก้โจทย์ปัญหาลาดับเรขาคณิต จะใช้สูตร an = a1 rn – 1 เข้าร่วมเสมอ
   ดังตัวอย่างต่อไปนี้

   ตัวอย่างที่ 1 ถ้าผลบวกของลาดับเรขาคณิต 3 จานวนเท่ากับ 38 และผลคูณมีค่าเท่ากับ
                   1728 แล้ว จงหาลาดับเรขาคณิตดังกล่าว
   วิธีทา สมมติให้สามจานวนของลาดับเรขาคณิต คือ a , a, a r
                                                    r
                   ผลคูณของ 3 จานวนของลาดับเรขาคณิตมีค่าเท่ากับ 1728
                    a  a  ar =          1728
                         r
                                  a3  =    1728
                                  a 3
                                      =    12 3
                                 a   =    12
              แต่ผลบวกของลาดับเรขาคณิต 3 จานวน เท่ากับ 38
                         a
                             a  ar =     38
                         r
            แทนค่า a = 12
                   12
                         12  12r    =    38
                    r
                   12  12r  12r 2   =    38 r
                   12 - 26r  12r 2   =    0
                      2
                   6r - 13r  6       =    0
                   (3r - 2)(2r - 3)   =    0
                                           2    3
                                  r   =    3
                                              ,
                                                2
           ดังนั้น ลาดับเรขาคณิตที่เป็นไปได้มี 2 กรณี คือ
                   ถ้า r = 2 3
                                         ลาดับเรขาคณิต คือ 18, 12, 8
                               3
                 ถ้า   r   =   2
                                       ลาดับเรขาคณิต คือ 8, 12, 18
          ลาดับเรขาคณิตชุดนี้ คือ 18, 12, 8 หรือ 8, 12, 18
ตัวอย่างที่ 2 มงคลส่งจดหมาย 4 ฉบับ ถึงเพื่อน 4 คน เมื่อทุกคนได้รับแล้วหลังจากนั้น
                    1 สัปดาห์ จะต้องส่งจดหมายคนละ 2 ฉบับไปยังเพื่อนอีก 2 คน ทาเช่นนี้
                    เรื่อยไป ในสัปดาห์ที่ 6 จะมีการส่งจดหมายกี่ฉบับ
    วิธีทา เริ่มแรก ส่งจดหมาย             4 ฉบับ
              สัปดาห์ที่ 2 มีการส่งจดหมาย        8 ฉบับ
94


สัปดาห์ที่ 3 มีการส่งจดหมาย    16 ฉบับ
      จาก          an     =    a1 rn – 1
      จะได้        a1 = 4 , r = 2
                   a6     =    a1 r5
                          =    4(2)5
                          =    4  32
                          =    128

 ในสัปดาห์ที่ 6 จะมีการส่งจดหมาย 128 ฉบับ
95


                                     แบบฝึกหัดที่ 8
คาชี้แจง    ให้นักเรียนแสดงวิธีทา แก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้

    1. จานวน 3 จานวนเรียงกันเป็นลาดับเรขาคณิต มีผลบวกเป็น 52 และผลคูณเป็น 1728
       จงหาจานวน 3 จานวนนั้น
    2. ผลบวกของพจน์สามพจน์ที่เรียงกันเป็นลาดับเรขาคณิตเท่ากับ 26 และผลคูณเท่ากับ 216
       จงหาพจน์ 3 พจน์นี้
    3. ปัจจุบันเงินเดือนของวุฒิชัยเท่ากับ 4,000 บาท และเขาได้รับเงินเดือนเพิ่มขึ้นปีละ 10%
       ของเงินเดือนที่ผ่านมาในแต่ละปี จงหาว่าอีก 11 ปีข้างหน้าเงินเดือนของเขาเป็นเท่าใด
    4. ในปี พ.ศ. 2530 ประชากรในตาบลหนึ่งมี 10,000 คน ถ้าประชากรของตาบลนี้ เพิ่มขึ้น
ปีละ 5% จงหาจานวนประชากรในปี พ.ศ. 2546
96


                  เฉลยแบบฝึกหัดที่ 8


1)   36, 12, 4 หรือ 4, 12, 36
2)   18, 6, 2 หรือ 2, 6, 18
3)   10,375
4)   21,829

More Related Content

What's hot

ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนามkroojaja
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการnarong2508
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดOwen Inkeaw
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตaoynattaya
 
เกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการเกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการJirathorn Buenglee
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
จุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอกจุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอกkroojaja
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 

What's hot (20)

กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนาม
 
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิต
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
เกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการเกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการ
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
จุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอกจุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอก
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2
 

Viewers also liked

ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2aoynattaya
 
O net ลำดับเรขาคณิต
O net ลำดับเรขาคณิตO net ลำดับเรขาคณิต
O net ลำดับเรขาคณิตToongneung SP
 
M5 1 1.9_1
M5 1  1.9_1M5 1  1.9_1
M5 1 1.9_1lookgade
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57krurutsamee
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 

Viewers also liked (10)

ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2
 
O net ลำดับเรขาคณิต
O net ลำดับเรขาคณิตO net ลำดับเรขาคณิต
O net ลำดับเรขาคณิต
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
M5 1 1.9_1
M5 1  1.9_1M5 1  1.9_1
M5 1 1.9_1
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 

More from aoynattaya

อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับaoynattaya
 
อนุกรสเรขาคณิต
อนุกรสเรขาคณิตอนุกรสเรขาคณิต
อนุกรสเรขาคณิตaoynattaya
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตaoynattaya
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับaoynattaya
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตaoynattaya
 
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตaoynattaya
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับaoynattaya
 
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนaoynattaya
 
51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]
51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]
51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]aoynattaya
 
51ma m1 sosu8s302
51ma m1 sosu8s30251ma m1 sosu8s302
51ma m1 sosu8s302aoynattaya
 

More from aoynattaya (12)

อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับ
 
อนุกรสเรขาคณิต
อนุกรสเรขาคณิตอนุกรสเรขาคณิต
อนุกรสเรขาคณิต
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับ
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิต
 
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิต
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับ
 
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
 
51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]
51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]
51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]
 
51ma m1 sosu8s302
51ma m1 sosu8s30251ma m1 sosu8s302
51ma m1 sosu8s302
 

ลำดับเรขาคณิต

  • 1. เรื่อง อัตราส่วนร่วม คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ข้อที่ ลาดับ พจน์ที่ 2 พจน์ที่ 3 พจน์ที่ 4 พจน์ที่ n อัตราส่วน พจน์ที่ 1 พจน์ที่ 2 พจน์ที่ 3 พจน์ที่ n ลบหนึง ่ ร่วม 1 5, 10. 20, 40, . . . , 5(2)n – 2, 10  2 20  2 40  2 5(2) n - 1  2 2 5 10 20 5(2)n – 1, . . . 5(2) n-2 2 2, 12, 72, 432, . . ., 2(6)n – 2, 2(6)n – 1, . . . 3 1, 3, 9, 27, . . . , 3n – 2, 3n – 1, ... 4 8, 16, 32, 64, . . . , 8(2)n – 2, 8(2)n – 1, . . . 5 7, -7, 7, -7, . . . , (-1)n(7), (-1)n + 1(7), . . . 6 5, 0.5, 0.05, 0.005, . . . , n-2 n -1 5 1      1 , 5  10  ,...  10    สรุป ลาดับเรขาคณิต………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………..
  • 2. 83 เฉลยเอกสารแนะแนวทางที่ 5 เรื่อง อัตราส่วนร่วม ข้อที่ พจน์ที่ 2 พจน์ที่ 3 พจน์ที่ 4 พจน์ที่ n อัตราส่วนร่วม พจน์ที่ 1 พจน์ที่ 2 พจน์ที่ 3 พจน์ที่ n - 1 2 12  6 72  6 432  6 2(6) n - 1  6 6 2 12 72 n-2 2(6) 3 3  3 9  3 27  3 3n - 1  3 3 1 3 9 3 n-2 4 16  2 32  2 64  2 8(2) n - 1  2 2 8 16 32 n-2 8(2) 5 7  -1 7  -1 7  -1 (1) n  1 (7)  -1 -1 7 7 7 n (1) (7) 6 0.5  0.1 0.05  0.1 0.005  0.1 1  5  n -1 0.1 5 0.5 0.05  10   0.1 n-2 1  5   10  สรุป ลาดับเรขาคณิต คือ ลาดับที่มีอัตราส่วนของพจน์ที่ n + 1 ต่อพจน์ที่ n หรือพจน์หลังต่อพจน์หน้าที่อยู่ติดกันมีค่าคงที่ ค่าคงที่นี้เรียกว่า อัตราส่วนร่วม (Common Ratio)
  • 3. 84 แบบฝึกหัดที่ 5 คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ข้อที่ ลาดับ อัตราส่วนร่วม ลาดับเรขาคณิต เป็น ไม่เป็น 1 4, 8, 16, 32, . . . 2 / - 2 3. 6, 9, 12, . . . , 3n - - / 3 3, 18, 108, . . . , 3(6)n – 1, . . . 4 5, 12, 19, . . . , 7n – 2 , . . . 5 1, 4, 16, 64, . . . 4n – 1, . . . 6 6, 12, 24, 48, . . . , 6(2)n – 2, 6(2)n – 1, . . . 7 7, 14, 28, 56, . . . 7(2)n – 1 8 3, 9, 27, 81, . . . , 3n, . . . 9 5, 15, 45, 135, . . . , 5(3)n – 2, 5(3)n – 1, . . . 10 6, 10, 14, 18, . . . , 4n + 2
  • 4. 85 เฉลยแบบฝึกหัดที่ 5 ข้อที่ อัตราส่วนร่วม ลาดับเรขาคณิต เป็น ไม่เป็น 3 6 / - 4 - - / 5 4 / - 6 2 / 7 2 / - 8 - - / 9 3 / - 10 - - /
  • 5. 86 ใบความรู้ที่ 5 การหาพจน์ที่ n หรือพจน์ทั่วไปของลาดับเรขาคณิต จากลาดับเรขาคณิต 2, 10, 50, 250, . . . พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์ต่าง ๆ กับ พจน์ที่ 1 และอัตราส่วนร่วม (r) ดังนี้ a1 = 2 a2 = 10 = 2(5)1 = 2(5)2 – 1 a3 = 50 = 2(5)2 = 2(5)3 – 1 a4 = 250 = 2(5)3 = 2(5)4 – 1 .. . ab = 2(5)n – 1 ถ้าให้ r = 5 , a1 = 2 จะได้ an = a1 (r)n – 1  สูตรการหาพจน์ที่ n (an) หรือพจน์ทั่วไปของลาดับเรขาคณิต คือ an = a1 rn – 1 เมื่อ an เป็นพจน์ที่ n r เป็นอัตราส่วนร่วม a1 เป็นพจน์ที่ 1 ตัวอย่างที่ 1 กาหนดลาดับเรขาคณิต คือ 4, 16, 64, 256, . . . จงหาพจน์ที่ n (an) วิธีทา จากลาดับเรขาคณิต 4, 16, 64, 256, . . . จะได้ a1 = 4 , r = 16 = 4 4 จากสูตร an = a1 r n - 1 = 4(4)n - 1 = 4n
  • 6. 87 1 ตัวอย่างที่ 2 กาหนดลาดับเรขาคณิต a1 = 9 และ a6 = 27 จงหาอัตราส่วนร่วม วิธีทา จากสูตร an = a1 r n - 1  a6 = a1 r 6 – 1 a6 = a1r5 แทนค่า 27 = 1 (r)5 9 27  9 = r5 33  33 = r5 35 = r5  r = 3  อัตราส่วนร่วมเท่ากับ 3 1 2 ตัวอย่างที่ 3 กาหนดลาดับเรขาคณิตมีอัตราส่วนร่วมเท่ากับ  3 และ a10 = 39 จงหาพจน์ที่ 1 (a1) วิธีทา จากสูตร an = a1rn – 1  a10 = a1r10 – 1 a10 = a1r9 9 2  1 แทนค่า = a1   39  3 2 = a1  - 1    9  39 3   a1 = 2  พจน์ที่ 1 (a1) เท่ากับ 2
  • 7. 88 แบบฝึกหัดที่ 6 คาชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีทา แก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้ 1. กาหนด a1 = 6 และ r = 6 จงหาลาดับเรขาคณิตนี้ 2. กาหนด a1 = 1 และ r = 7 จงหาลาดับเรขาคณิตนี้ 3. กาหนด a1 = 2 และ r = 3 จงหาลาดับเรขาคณิตนี้ 4. กาหนด a1 = 3 และ r = -2 จงหา a5 ของลาดับเรขาคณิต 1 5. กาหนด a1 = 2 และ r =  จงหา a10 ของลาดับเรขาคณิต 2 1 6. กาหนด a1 = -3 และ r = จงหา a5 ของลาดับเรขาคณิต 4 7. กาหนดลาดับเรขาคณิต มี a1 = 1 และ a5 = 81 จงหาอัตราส่วนร่วม 8. กาหนดลาดับเรขาคณิต มี a1 = 10 และ a7 = 640 จงหาอัตราส่วนร่วม 9. กาหนดลาดับเรขาคณิต มี r = 5 และ a5 = 2,500 จงหา a1 10. กาหนดลาดับเรขาคณิต มี r = -1 และ a8 = -2 จงหา a1
  • 8. 89 เฉลยแบบฝึกแบบหัดที่ 6 1) 6, 36, 216, . . . 2) 1, 7, 49, . . . 3) 2, 6, 18, . . . 4) 48 1 5) 512 3 6)  256 7) 4 8) 2 9) 4 10) 2
  • 9. 90 ใบความรู้ที่ 6 การหาจานวนพจน์ของลาดับเรขาคณิต ในการหาจานวนพจน์ของลาดับเรขาคณิต ใช้สูตร an = a1 rn – 1 ซึ่งเราจะต้องทราบ พจน์ที่ 1 (a1) , อัตราส่วนร่วม (r) และพจน์ที่ n (an) ก่อนเสมอ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 จงหาว่าลาดับเรขาคณิต 3, 6, 12, . . ., 6144 มีกี่พจน์ วิธีทา จากลาดับเรขาคณิต 3, 6, 12, . . ., 6144 จะได้ a1 = 3 , r = 6 = 2 และ an = 6,144 3 จากสูตร an = a1 rn – 1 แทนค่า 6,144 = 3(2)n – 1 2048 = 2n - 1 211 = 2n - 1  n–1 = 11  n = 12 ดังนั้น ลาดับเลขคณิต 3, 6, 12, . . ., 6144 มี 12 พจน์ ตัวอย่างที่ 2 224 เป็นพจน์ที่เท่าใดของลาดับเรขาคณิต 243 7, 14 28 3 , 9 , ... 2 224 วิธีทา จากโจทย์ จะได้ a1 = 7 , r = 3 และ a = n 243 จากสูตร an = a1 rn – 1 n -1 224 2 แทนค่า 243 = 7  3 n -1 224 2 243  7 =   3 n -1 32 2 243 =   3 5 n -1 2 2   =   3 3  n–1 = 5 n = 6 224  243 เป็นพจน์ที่ 6
  • 10. 91 แบบฝึกหัดที่ 7 คาชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีทา แก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้ 5 5 5 1. จงหาว่าลาดับเรขาคณิต 10, -5, 2 , - , ... , - 4 64 มีกี่พจน์ 2. จงหาว่าลาดับเรขาคณิต 1, 4, 16, 64, . . ., 4096 มีกี่พจน์ 3. จงหาว่าลาดับเรขาคณิต 9 , 2 , 4 , 9 , . . . , 512 มีกี่พจน์ 9 9 8 9 1 4. 15,552 เป็นพจน์ที่เท่าใดของลาดับเรขาคณิต 3 , 2, 12, 72, . . . 3 3 3 5.  256 เป็นพจน์ที่เท่าใดของลาดับเรขาคณิต 6, -3, , - , ... 2 4
  • 11. 92 เฉลยแบบฝึกหัดที่ 7 1) 8 2) 7 3) 10 4) 7 5) 10
  • 12. 93 ใบความรู้ที่ 7 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับลาดับเรขาคณิต ในการแก้โจทย์ปัญหาลาดับเรขาคณิต จะใช้สูตร an = a1 rn – 1 เข้าร่วมเสมอ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 ถ้าผลบวกของลาดับเรขาคณิต 3 จานวนเท่ากับ 38 และผลคูณมีค่าเท่ากับ 1728 แล้ว จงหาลาดับเรขาคณิตดังกล่าว วิธีทา สมมติให้สามจานวนของลาดับเรขาคณิต คือ a , a, a r r ผลคูณของ 3 จานวนของลาดับเรขาคณิตมีค่าเท่ากับ 1728  a  a  ar = 1728 r a3 = 1728 a 3 = 12 3  a = 12 แต่ผลบวกของลาดับเรขาคณิต 3 จานวน เท่ากับ 38 a  a  ar = 38 r แทนค่า a = 12 12  12  12r = 38 r 12  12r  12r 2 = 38 r 12 - 26r  12r 2 = 0 2 6r - 13r  6 = 0 (3r - 2)(2r - 3) = 0 2 3 r = 3 , 2 ดังนั้น ลาดับเรขาคณิตที่เป็นไปได้มี 2 กรณี คือ ถ้า r = 2 3 ลาดับเรขาคณิต คือ 18, 12, 8 3 ถ้า r = 2 ลาดับเรขาคณิต คือ 8, 12, 18  ลาดับเรขาคณิตชุดนี้ คือ 18, 12, 8 หรือ 8, 12, 18 ตัวอย่างที่ 2 มงคลส่งจดหมาย 4 ฉบับ ถึงเพื่อน 4 คน เมื่อทุกคนได้รับแล้วหลังจากนั้น 1 สัปดาห์ จะต้องส่งจดหมายคนละ 2 ฉบับไปยังเพื่อนอีก 2 คน ทาเช่นนี้ เรื่อยไป ในสัปดาห์ที่ 6 จะมีการส่งจดหมายกี่ฉบับ วิธีทา เริ่มแรก ส่งจดหมาย 4 ฉบับ สัปดาห์ที่ 2 มีการส่งจดหมาย 8 ฉบับ
  • 13. 94 สัปดาห์ที่ 3 มีการส่งจดหมาย 16 ฉบับ จาก an = a1 rn – 1 จะได้ a1 = 4 , r = 2 a6 = a1 r5 = 4(2)5 = 4  32 = 128  ในสัปดาห์ที่ 6 จะมีการส่งจดหมาย 128 ฉบับ
  • 14. 95 แบบฝึกหัดที่ 8 คาชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีทา แก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้ 1. จานวน 3 จานวนเรียงกันเป็นลาดับเรขาคณิต มีผลบวกเป็น 52 และผลคูณเป็น 1728 จงหาจานวน 3 จานวนนั้น 2. ผลบวกของพจน์สามพจน์ที่เรียงกันเป็นลาดับเรขาคณิตเท่ากับ 26 และผลคูณเท่ากับ 216 จงหาพจน์ 3 พจน์นี้ 3. ปัจจุบันเงินเดือนของวุฒิชัยเท่ากับ 4,000 บาท และเขาได้รับเงินเดือนเพิ่มขึ้นปีละ 10% ของเงินเดือนที่ผ่านมาในแต่ละปี จงหาว่าอีก 11 ปีข้างหน้าเงินเดือนของเขาเป็นเท่าใด 4. ในปี พ.ศ. 2530 ประชากรในตาบลหนึ่งมี 10,000 คน ถ้าประชากรของตาบลนี้ เพิ่มขึ้น ปีละ 5% จงหาจานวนประชากรในปี พ.ศ. 2546
  • 15. 96 เฉลยแบบฝึกหัดที่ 8 1) 36, 12, 4 หรือ 4, 12, 36 2) 18, 6, 2 หรือ 2, 6, 18 3) 10,375 4) 21,829