SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
เสนอ
       อ.ปิยวรรณ รัตนภานุศร

               สมาชิก
  1.อภิญญา สิงโสภา ม.4/1 เลขที่ 23
2. จินต์จฑา รัตนภิรมย์ ม.4/1 เลขที่ 25
         ุ
คลื่นวิทยุ (Radio waves) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้น
ในช่วงความถี่วิทยุบนเส้นสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า
     คลืนวิทยุถูกค้นพบครั้งแรกระหว่างการตรวจสอบทางคณิตศาสตร์โดย
        ่
เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ ในปี ค.ศ. 1865 แมกซ์เวลล์สังเกตพบคุณสมบัติ
ของแสงบางประการที่คล้ายคลึงกับคลื่น เขาจึงนาเสนอสมการที่อธิบาย
คลื่นแสงและคลื่นวิทยุในรูปแบบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เดินทางในอวกาศ
ปี ค.ศ. 1887 เฮนริค เฮิร์ตซ ได้สาธิตสมการของแมกซ์เวลล์ว่าเป็นความ
จริงโดยจาลองการสร้างคลื่นวิทยุขึ้นในห้องทดลองของเขา หลังจากนั้นก็มี
สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย และทาให้เราสามารถนาคลื่นวิทยุมาใช้
ในการส่งข้อมูลผ่านห้วงอวกาศได้
คุณสมบัติของคลืนวิทยุ
                  ่
องค์ประกอบของคลื่น
ข้อดีของคลื่นวิทยุ
ข้อเสียของคลื่นวิทยุ
คาถาม
คุณสมบัติของคลื่นวิทยุ
 การสะท้อนกลับ( Reflection )          การหักเห (Refraction)




การแพร่กระจายคลื่น (Diffraction) การแทรกสอดของคลื่น ( Interference )
องค์ประกอบของคลื่น
       องค์ประกอบของคลื่น แบ่งออกเป็น 4 องค์ประกอบ
 คลื่นผิวดิน หมายถึง คลื่นที่เดินตามไปยังผิวโลกอาจเป็นผิวดิน
  หรือผิวน้าก็ได้
 คลื่นตรง หมายถึง คลื่นที่เดินทางออกไปเป็นเส้นตรงจาก
  สายอากาศ ส่งผ่านบรรยากาศตรงไปยังสายอากาศรับโดยมิได้มีการ
  สะท้อนใด ๆ
 คลื่นสะท้อนดิน หมายถึง คลื่นที่ออกมาจากสายอากาศ ไปกระทบ
  ผิวดินแล้วเกิดการสะท้อนไปเข้าที่สายอากาศรับ
 คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมายถึง คลื่นหักเหในบรรยากาศชั้นต่า
  ของโลกที่เรียกว่า โทรโปสเฟียร์ เป็นการหักเหที่เกิดการ
  เปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศอย่างทันทีทันใด และไม่
  สม่าเสมอของความหนาแน่นและในความชื้นของบรรยากาศ ได้แก่
  ปรากฏการณ์ที่เรียกว่า อุณหภูมิแปรกลับ
ข้อดีของคลื่นวิทยุ
 คลื่นวิทยุ ใช้ในการสื่อสาร
   1.1 ระบบ A.M. (amplitude modulation) ส่ง
  สัญญาณได้ทั้งคลื่นดินและคลืนฟ้า (สะท้อนได้ดีที่บรรยากาศชั้นไอโอ
                             ่
  โนสเฟียร์)
   1.2 ระบบ F.M. (frequency modulation) ส่ง
  สัญญาณได้เฉพาะคลื่นดิน
 สามารถเดินทางทะลุผ่านกาแพงได้
ข้อเสียของคลื่นวิทยุ
 เนื่องจากมีการแพร่กระจายสัญญาณรอบทิศทาง ดังนั้นถ้ามีตัวส่ง
  สัญญาณจาก 2 แห่งที่ใช้ความถี่เท่ากันแล้ว จะทาให้เกิดการรบกวน
  กันของสัญญาณได้
 ไม่สามารถควบคุมการแพร่กระจายของสัญญาณให้อยู่เฉพาะภายใน
  หรือภายนอกอาคาร เนื่องจากสัญญาณผ่านกาแพงได้
ผลกระทบต่อร่างกายของคลื่นวิทยุ
1.คลื่นวิทยุที่มีความถี่น้อยกว่า 150 เมกะเฮิรตซ์ คลื่นจะทะลุผ่านร่างกาย
    โดยไม่ก่อให้เกิดผลใด ๆ เนื่องจากไม่มีการดูดกลืนพลังงานของคลื่นไว้
2.คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 150 เมกะเฮิรตซ์ ถึง 1.2 จิกะเฮิรตซ์
    คลื่นวิทยุช่วงนี้สามารถทะลุผ่านเข้าไปในร่างกายได้ลึกประมาณ 2.5
    ถึง 20 เซนติเมตร ทาให้เกิดความร้อนขึ้นในเนื้อเยื่อ อุณหภูมของิ
    ร่างกายจะสูงขึ้น เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อร่างกาย ความร้อนในร่างกาย
    ที่สูงกว่าระดับปกติอาจก่อให้เกิดผลหลายประการ เช่น เลือดจะ
    แข็งตัวช้ากว่าปกติ ถ้ามีการเสียเลือดเกิดขึ้น อาการจะมีความรุนแรง
3. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 1-3 จิกะเฮิรตซ์ คลื่นวิทยุเช่นนี้
 เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อนัยน์ตา โดยเฉพาะเลนส์ตาจะมีความไวเป็น
 พิเศษ และพบว่าถ้าอุณหภูมิของตาสูงขึ้นเซลล์เลนส์ตาบางส่วนอาจถูก
 ทาลายอย่างช้า ๆ ทาให้ความโปร่งแสงของเลนส์ตาลดลง ตาจะขุ่นลง
 เรื่อย ๆ ในที่สุดจะเกิดเป็นต้อกระจก และสุดท้ายอาจมองไม่เห็น

4. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 3-10 จิกะเฮิรตซ์ ผิวหนังชั้นบนสามารถ
 ดูดกลืนพลังงานมากที่สุด เราจะรู้สึกว่าเหมือนกับถูกแสงอาทิตย์

5. คลื่นวิทยุที่มีความถี่สูงกว่า 10 จิกะเฮิรตซ์ ผิวหนังจะสะท้อนให้กลับ
 ออกไป โดยมีการดูดกลืนพลังงานเล็กน้อย
คำถำม...
 จงยกตัวอย่างสมบัติของคลื่นวิทยุ
ตอบ : การสะท้อนกลับ การหักเห การแพร่กระจายคลื่น และ การแทรกสอดของคลื่น
 คลื่นวิทยุถูกค้นพบครั้งแรกโดยใคร
ตอบ : เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์
 องค์ประกอบของคลื่นแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ตอบ : 4 ประเภท
 คลื่นวิทยุ ใช้ในการสื่อสาร แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ตอบ : 2 ประเภท ได้แก่ ระบบ A.M. และ ระบบ F.M.
 คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 1-3 จิกะเฮิรตซ์ เป็นอันตรายต่ออวัยวะใด
ตอบ : นัยน์ตา โดยเฉพาะ เลนส์ตา
แหล่งอ้ำงอิง
 http://th.wikipedia.org/wiki/
 mages.jacksparo.multiply.multiplycontent.com/
 http://www.eschool.su.ac.th/school
 http://www.v-
  bac.ac.th/Section/S_IT/Computer%20Network/un
  it2.html
 http://irrigation.rid.go.th/rid17/Myweb/machanic
  al/commu/vorapot1.html

Contenu connexe

Tendances

ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxsathanpromda
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีkkrunuch
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)Jiraporn Taweechaikarn
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
ติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสารติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสารAui Ounjai
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงTom Vipguest
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 

Tendances (20)

ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
 
1 6
1 61 6
1 6
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
ติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสารติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสาร
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 

En vedette

คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003Peerapas Trungtreechut
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403Supanut Maiyos
 
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)Salin Satheinmars
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟSomporn Laothongsarn
 

En vedette (6)

คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
 
Is แสง
Is แสงIs แสง
Is แสง
 
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
 

Similaire à คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401

คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าuntika
 
คลื่นวิทยุ(ชัญญา+ธนากนก)403
คลื่นวิทยุ(ชัญญา+ธนากนก)403คลื่นวิทยุ(ชัญญา+ธนากนก)403
คลื่นวิทยุ(ชัญญา+ธนากนก)403Kwang Ngampongsai
 
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047Chania Asmodeus
 
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าjuneniezstk
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403Piyawan
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403Piyawan
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคChanthawan Suwanhitathorn
 
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402Petch Tongthummachat
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721CUPress
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นSom Kechacupt
 
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอมบทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอมPakawan Sonna
 

Similaire à คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401 (20)

คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
คลื่นวิทยุ(ชัญญา+ธนากนก)403
คลื่นวิทยุ(ชัญญา+ธนากนก)403คลื่นวิทยุ(ชัญญา+ธนากนก)403
คลื่นวิทยุ(ชัญญา+ธนากนก)403
 
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
 
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
 
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
 
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่นฟิสิกส์ เรื่องคลื่น
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721
 
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่น
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอมบทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
 

คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401

  • 1. เสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภานุศร สมาชิก 1.อภิญญา สิงโสภา ม.4/1 เลขที่ 23 2. จินต์จฑา รัตนภิรมย์ ม.4/1 เลขที่ 25 ุ
  • 2. คลื่นวิทยุ (Radio waves) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้น ในช่วงความถี่วิทยุบนเส้นสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า คลืนวิทยุถูกค้นพบครั้งแรกระหว่างการตรวจสอบทางคณิตศาสตร์โดย ่ เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ ในปี ค.ศ. 1865 แมกซ์เวลล์สังเกตพบคุณสมบัติ ของแสงบางประการที่คล้ายคลึงกับคลื่น เขาจึงนาเสนอสมการที่อธิบาย คลื่นแสงและคลื่นวิทยุในรูปแบบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เดินทางในอวกาศ ปี ค.ศ. 1887 เฮนริค เฮิร์ตซ ได้สาธิตสมการของแมกซ์เวลล์ว่าเป็นความ จริงโดยจาลองการสร้างคลื่นวิทยุขึ้นในห้องทดลองของเขา หลังจากนั้นก็มี สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย และทาให้เราสามารถนาคลื่นวิทยุมาใช้ ในการส่งข้อมูลผ่านห้วงอวกาศได้
  • 3. คุณสมบัติของคลืนวิทยุ ่ องค์ประกอบของคลื่น ข้อดีของคลื่นวิทยุ ข้อเสียของคลื่นวิทยุ คาถาม
  • 4. คุณสมบัติของคลื่นวิทยุ การสะท้อนกลับ( Reflection ) การหักเห (Refraction) การแพร่กระจายคลื่น (Diffraction) การแทรกสอดของคลื่น ( Interference )
  • 5. องค์ประกอบของคลื่น องค์ประกอบของคลื่น แบ่งออกเป็น 4 องค์ประกอบ  คลื่นผิวดิน หมายถึง คลื่นที่เดินตามไปยังผิวโลกอาจเป็นผิวดิน หรือผิวน้าก็ได้  คลื่นตรง หมายถึง คลื่นที่เดินทางออกไปเป็นเส้นตรงจาก สายอากาศ ส่งผ่านบรรยากาศตรงไปยังสายอากาศรับโดยมิได้มีการ สะท้อนใด ๆ
  • 6.  คลื่นสะท้อนดิน หมายถึง คลื่นที่ออกมาจากสายอากาศ ไปกระทบ ผิวดินแล้วเกิดการสะท้อนไปเข้าที่สายอากาศรับ  คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมายถึง คลื่นหักเหในบรรยากาศชั้นต่า ของโลกที่เรียกว่า โทรโปสเฟียร์ เป็นการหักเหที่เกิดการ เปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศอย่างทันทีทันใด และไม่ สม่าเสมอของความหนาแน่นและในความชื้นของบรรยากาศ ได้แก่ ปรากฏการณ์ที่เรียกว่า อุณหภูมิแปรกลับ
  • 7. ข้อดีของคลื่นวิทยุ  คลื่นวิทยุ ใช้ในการสื่อสาร 1.1 ระบบ A.M. (amplitude modulation) ส่ง สัญญาณได้ทั้งคลื่นดินและคลืนฟ้า (สะท้อนได้ดีที่บรรยากาศชั้นไอโอ ่ โนสเฟียร์) 1.2 ระบบ F.M. (frequency modulation) ส่ง สัญญาณได้เฉพาะคลื่นดิน  สามารถเดินทางทะลุผ่านกาแพงได้
  • 8. ข้อเสียของคลื่นวิทยุ  เนื่องจากมีการแพร่กระจายสัญญาณรอบทิศทาง ดังนั้นถ้ามีตัวส่ง สัญญาณจาก 2 แห่งที่ใช้ความถี่เท่ากันแล้ว จะทาให้เกิดการรบกวน กันของสัญญาณได้  ไม่สามารถควบคุมการแพร่กระจายของสัญญาณให้อยู่เฉพาะภายใน หรือภายนอกอาคาร เนื่องจากสัญญาณผ่านกาแพงได้
  • 9. ผลกระทบต่อร่างกายของคลื่นวิทยุ 1.คลื่นวิทยุที่มีความถี่น้อยกว่า 150 เมกะเฮิรตซ์ คลื่นจะทะลุผ่านร่างกาย โดยไม่ก่อให้เกิดผลใด ๆ เนื่องจากไม่มีการดูดกลืนพลังงานของคลื่นไว้ 2.คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 150 เมกะเฮิรตซ์ ถึง 1.2 จิกะเฮิรตซ์ คลื่นวิทยุช่วงนี้สามารถทะลุผ่านเข้าไปในร่างกายได้ลึกประมาณ 2.5 ถึง 20 เซนติเมตร ทาให้เกิดความร้อนขึ้นในเนื้อเยื่อ อุณหภูมของิ ร่างกายจะสูงขึ้น เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อร่างกาย ความร้อนในร่างกาย ที่สูงกว่าระดับปกติอาจก่อให้เกิดผลหลายประการ เช่น เลือดจะ แข็งตัวช้ากว่าปกติ ถ้ามีการเสียเลือดเกิดขึ้น อาการจะมีความรุนแรง
  • 10. 3. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 1-3 จิกะเฮิรตซ์ คลื่นวิทยุเช่นนี้ เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อนัยน์ตา โดยเฉพาะเลนส์ตาจะมีความไวเป็น พิเศษ และพบว่าถ้าอุณหภูมิของตาสูงขึ้นเซลล์เลนส์ตาบางส่วนอาจถูก ทาลายอย่างช้า ๆ ทาให้ความโปร่งแสงของเลนส์ตาลดลง ตาจะขุ่นลง เรื่อย ๆ ในที่สุดจะเกิดเป็นต้อกระจก และสุดท้ายอาจมองไม่เห็น 4. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 3-10 จิกะเฮิรตซ์ ผิวหนังชั้นบนสามารถ ดูดกลืนพลังงานมากที่สุด เราจะรู้สึกว่าเหมือนกับถูกแสงอาทิตย์ 5. คลื่นวิทยุที่มีความถี่สูงกว่า 10 จิกะเฮิรตซ์ ผิวหนังจะสะท้อนให้กลับ ออกไป โดยมีการดูดกลืนพลังงานเล็กน้อย
  • 11. คำถำม...  จงยกตัวอย่างสมบัติของคลื่นวิทยุ ตอบ : การสะท้อนกลับ การหักเห การแพร่กระจายคลื่น และ การแทรกสอดของคลื่น  คลื่นวิทยุถูกค้นพบครั้งแรกโดยใคร ตอบ : เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์  องค์ประกอบของคลื่นแบ่งออกเป็นกี่ประเภท ตอบ : 4 ประเภท  คลื่นวิทยุ ใช้ในการสื่อสาร แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง ตอบ : 2 ประเภท ได้แก่ ระบบ A.M. และ ระบบ F.M.  คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 1-3 จิกะเฮิรตซ์ เป็นอันตรายต่ออวัยวะใด ตอบ : นัยน์ตา โดยเฉพาะ เลนส์ตา
  • 12. แหล่งอ้ำงอิง  http://th.wikipedia.org/wiki/  mages.jacksparo.multiply.multiplycontent.com/  http://www.eschool.su.ac.th/school  http://www.v- bac.ac.th/Section/S_IT/Computer%20Network/un it2.html  http://irrigation.rid.go.th/rid17/Myweb/machanic al/commu/vorapot1.html