SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  40
Télécharger pour lire hors ligne
สงขาวไทย … สูติมอรตะวันออก
เนื่องจากคนติมอรรับประประทาน ขาว เปนอาหารหลักดวย จึงมีการตั้ง โครงการ เมล็ดพันธุ
แหงชีวิต เปนโปรแกรมภายในประเทศติมอรเลสเตโดยกระทรวงเกษตรและประมง
(MAF) ไดรับการสนับสนุนโดยความรวมมือจาก MAF และรัฐบาลออสเตรเลียผาน
หนวยงานของออสเตรเลียสําหรับการพัฒนาระหวางประเทศ (AusAID) และศูนย
ออสเตรเลียเพื่อการวิจัยการเกษตร (ACIAR). ศูนยสําหรับพืชตระกูลถั่วในทะเลเมดิ
เตอรเรเนียนวิชาการเกษตร (CLIMA)
โฟกัสหลักเพื่อผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นโดยการเลือกและการกระจายการปรับปรุงพันธุสายพันธุ
ใหมีคุณภาพที่เหนือกวา ยังใหความสําคัญในเรื่องความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศและ
เพื่อลดนภาระวัชพืชและเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินลดการสูญเสียการจัดเก็บ การเก็บ
เกี่ยวและการปรับปรุงการเตรียมการจัดหาเมล็ดพันธุ เนื่องจากเล็งเห็นปญหาทางสภาพ
อากาศที่แปรปรวนรวมทั้งสภาพภูมิประเทศที่ติดชายฝงทะเล ทําใหมีฤดูที่มีผลแกการ
เพาะปลูกขาว อาจทําใหขาวมีคุณภาพไมดีเทาที่ควร
 คนประเทศติมอร สวนใหญมักรับประทานเนื้อวัว หรืออาหารทะเล จําพวกปลา กุง
สาหราย เปนตน เปนวัตถุดิบที่หาไดงายในประเทศ นํามาผัด แกงหรือตมกิน แลว
อาหารหลักอีกประเภทคือ ขาว และอาหารจําพวกเสน ซึ่งสวนใหญจะเปนอาหารหลัก
ของทางประเทศอินโดนีเซีย เนื่องจากเปนประเทศใหมที่แยกตัวออกมาจากประเทศ
อินโดนีเซีย และอีกมักจะรับประทานอาหารประเภท เครื่องเทศ ประเภทที่มีรสจัด เชน
เปรี้ยวจัด ขมจัด เปนอาหารที่ถูกคอของชาวติมอร
PEST ANALYSIS OF
TIMOR-LESTE
 ประเทศติมอรตะวันออก ปกครองในระบอบประชาธิปไตย
แตดวยความที่เปนประเทศใหมที่แยกตัวออกมาจึงตองเผชิญกับเหตุการณสงครามกลาง
เมือง และการรุกรานจากประเทศอื่น ทําใหประเทศเกิดปญหา ประเทศจึงวุนวาย จึงไมคอย
มีการพัฒนาประเทศ คลายประเทศปด ไมคอยเปดรับสื่อหรือขาวสารอะไร ทําใหสังคมหรือ
ความทันสมัยมีนอย
- จึงมีประเทศตางๆที่คอยชวยเหลือ เพื่อใหเกิดความสงบภายในประเทศติมอร เชน
ประเทศ ไทยก็มีการสงมอบเงินเพื่อใหไปซื้อเมล็ดพันธขาวนํามาปลูก กินเอง และ ไทยยังมี
การสงออก ขาว น้ําตาลทราย รถยนต ใหกับติมอร สวนติมอรสงออก ผืนผา เครื่องจักร
อุตสาหกรรม เปนตน คลายกับการแลกเปลี่ยนทรัพยากรกัน
 ลูทางการคาการลงทุนในติมอรตะวันออกที่มีศักยภาพ คือ ไรกาแฟ การประมง ธุรกิจ
การทองเที่ยว รวมถึงแหลงทรัพยากรประเภทน้ํามันดิบและกาซธรรมชาติในเขต
Timor Gap ซึ่งอยูระหวางติมอร-เลสเตกับออสเตรเลีย อยางไรก็ดี ธุรกิจเหลานี้ยัง
จําเปนตองไดรับการพัฒนาและการสนับสนุนดานการเงินจากนักลงทุนภายนอกอยูมาก
เนื่องจากติมอร-เลสเตยังขาดเงินทุน และชาวติมอร-เลสเตยังขาดทักษะในการประกอบ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ กอปรกับในปจจุบันมีอัตราผูวางงานสูงประมาณรอยละ 80 ซึ่ง
ในสวนของนักธุรกิจไทยจําเปนตองศึกษาความเปนไปไดของระเบียบรวมถึงอุปสรรค
ดังกลาวตาง ๆ ขางตน เพื่อประกอบการพิจารณาถึงความเสี่ยงในการลงทุนในติมอร-
เลสเต และขณะนี้สินคาสวนใหญในติมอร-เลสเตนําเขาจากออสเตรเลีย เพื่อรองรับการ
บริโภคของคณะเจาหนาที่จากสหประชาชาติและคณะทูตที่ปฏิบัติงานในติมอร-เลสเต
 เนื่องจากประเทศติมอรเปนประเทศใหมที่เพิ่งแยกตัวออกมาจากประเทศอินโดนีเซียได
ไมนาน บวกกับวิถีชีวิตของคนในประเทศ ตองการความสงบสุข การใชชีวิตอยางเรียบ
งายตามวิถีชาวบาน อยูดวยกันเปนกลุมใหญ มีประเพณีทองถิ่น คลายคนสมัยกอน ไม
มีความกาวหนาทางเทคโนโลยีหรือเปดรับสื่อเทาที่ควรหรือมีใหเห็นนอย จึงอาจจะไมรู
ขาวสารภายนอกประเทศเทาไหร
 และเนื่องดวยการประกอบอาชีพของชาวเมืองสวนใหญ จะเปน เกษตรกรรม งาน
หัตถกรรม หรืองานทํามือที่ชาวบานชวยกันทํา จึงไมคอยมีโฆษณาใหเราไดเห็นกัน
เทาไหร เนื่องจากเขาไมคอยเปดรับสื่อพวกนี้ซักเทาไหร เนื่องจากคนสวนมากใน
ประเทศยังลาหลัง ไมพัฒนาเทาที่ควร
 ในทั่วโลกสหรัฐอเมริกาก็ถือเปนอีกประเทศหนึ่งซึ่งเปนประเทศผูสงออกขาวที่สําคัญ
โดยประเทศคูแขงของไทย
 สําหรับแถวเอเชีย เวียดนาม อินเดีย พมา และกัมพูชา ประกาศนโยบายที่จะเพิ่ม
ปริมาณสงออกขาวอีกเทาตัว ขณะที่ประเทศคูแขงสําคัญเหลานี้ตางก็ใชกลยุทธทุก
วิถีทางรวมทั้งการลดราคาสงออกขาวเพื่อแยงชิงตลาด
 การพัฒนาพันธุขาวใหมีคุณภาพมากขึ้นเรื่อยๆเพื่อแขงขันแยงชิงตลาดกับไทย
โดยเฉพาะขาวพันธุหอมมะลิที่ขณะนี้ประเทศเวียดนามไดพยายามพัฒนาพันธขาว
ลูกผสมที่มีคุณสมบัติใกลเคียงกับขาวพันธหอมมะลิของไทย แตราคาถูกกวา
 พมาซึ่งกําลังเริ่มพัฒนาประเทศจะเพิ่มปริมาณการสงออกขาวอยางขนานใหญใน 2 ป
ขางหนา ซึ่งดวยความพรอมของพมาทั้งในดานพื้นที่อันอุดมสมบูรณที่มีอยูอีกจํานวน
มากและแรงงานราคาถูกอาจเปนไปไดที่ในอนาคตพมาอาจเปนผูสงออกขาวคูแขง
สําคัญของไทยอีกประเทศหนึ่งและอาจกลับมาเปนประเทศผูสงออกขาวรายใหญที่สุด
ของโลกอีกครั้งหลังจากที่พมาเคยเปนเจาโลกผูสงออกขาวมาแลวชวงกอนสงครามโลก
ครั้งที่สอง
 นโยบายรับจํานําขาวเปลือกของไทย 15,000 บาทตอตันของรัฐบาลชุดปจจุบัน
ซึ่งทําใหราคาขาวเพื่อการสงออกสูงตามไปดวย โดยปจจุบันราคาขาวไทยสงออก
ของไทยเฉลี่ยอยูที่ 671 เหรียญสหรัฐตอตันหรือเพิ่มขึ้น 17 % เมื่อเทียบกับราคา
เมื่อป 2554 กอนทําใหไมสามารถแขงขันกับประเทศคูแขงอื่นๆ
 ผูสงออกขาวบางรายของไทยเห็นแกไดโดยไมคํานึงถึงผลกระทบตอภาพพจน
ประเทศในระยะยาวดวยการขายขาวปลอมปน จนหลายประเทศหันไปซื้อขาว
จากประเทศคูแขงอื่น
 ขาวหอมมะลิไทย ประมาณ 1,100 เหรียญสหรัฐตอตัน
 ขณะที่เวียดนาม ประมาณ 600 เหรียญสหรัฐตอตัน
 กัมพูชา ประมาณ 800 เหรียญสหรัฐตอตัน
 สรุป
จากแนวโนมวิกฤติการสงออกขาวไทยทั้งหมดขาวตนเปนสิ่งที่ภาครัฐตลอดจน
ภาคเอกชนตองรวมกันแกปญหาอยางจริงจังและสรางตลาดสงออกขาวรายใหมๆ มิฉะนั้น
ในอนาคตอันไมไกลนักไทยคงสูญเสียแชมปผูสงออกขาวรายใหญที่สุดของโลกแนนอน
 สรางแคมเปญ ขึ้นมาในระดับ GLOBAL มีการสรางสื่อ ทําคลิป viral ที่ซึ้งหรือ
ประทับใจ ใหเห็นคุณคาและคุณภาพของขาวหอมมะลิไทย และมีเกมสหรือ
application เกี่ยวกับการทําเมนูอาหาร คิดสูตรขึ้นมาใหม ใหดูนารับประทาน
และเขากับเมนูขาวหอมมะลิ ใครที่ทําอาหารไดแตมสูงสุด นากินและสามารถ
รับประทานไดจริง ก็จะเปนผูชนะ
 ในระดับ Local ตองสรางแคมเปญแบบลงพื้นที่ โดยการคิดสูตรหรือทําเมนูอาหาร
ขึ้นมาใหมคลาย Application ที่กลาวไปขางตน แตอันนี้ทําจริง และตองมีรสชาติ
ที่อรอย
 แคมเปญ นี้ผูชนะจะไดรับขาวหอมมะลิไปทานไดตลอดป 1 ปเต็ม
 BRAND VISION
การพัฒนาและสงเสริมขาวหอมมะลิไทย เพื่อเจาะกลุมตลาดเปาหมายประเทศ
ติมอรตะวันออก และตีตลาดกลุมเปาหมายไปทั่วโลก เพื่อเปนที่ยอมรับวาขาวหอมมะลิ
ของไทยมีคุณภาพที่ดีที่สุดในโลก
 BRAND MISSION
กลยุทธที่จะใชไปเจาะตลาดเพื่อสงขาวเขาไปในประเทศติมอรตะวันออก
1. กลยุทธแบบ GLOBAL ยกระดับขาวไทยและสรางการยอมรับและความแตกตางใหทั่ว
โลกไดเห็น
2. กลยุทธแบบ LOCAL เขาไปดวยโดยในตอนแรกตั้งราคาใหต่ํากวาขาวอื่นๆ หรือจาก
ประเทศอื่น เชน อินโดนีเซีย และจัดกิจกรรมเพื่อสังคมใหคนในประเทศติมอรไดเห็นวาขาว
ไทยดีทั้งคุณภาพ มีประโยชนตั้งตอรายกายและคนในประเทศติมอร
แตจะใชแบบ Local มากกวา เพราะประเทศติมอรตะวันออกยังเปนประเทศใหม ไม
เปดรับสื่อมากเทาไหรและยังไมพัฒนา รวมทั้งยังไมเปนที่รูจัก
มากนักแกประเทศอื่นๆ
 BRAND ESSENCE
เปนแหงแรกในการผลิตขาวหอมมะลิในทั่วโลก ที่มีคนยอมรับ ทั้งในเรื่อง
ของคุณภาพและราคา
 BRAND PROMISE
ผูบริโภคจะมั่นใจไดในคุณภาพทุกเมล็ดของเปลือกขาว วาจะไดทั้งประโยชนตอ
รางกายและความสุขในการรับประทานทุกครั้ง ไมวาจะเปนความหอมของขาว ราคา และ
ความสุขที่จะไดรับทุกครั้งที่รับประทาน
 BRAND ATTRIBUTES
- ORIGINAL มีความเปนตนฉบับหรือดั้งเดิม
- QUALITY มีคุณภาพ
- HEALTHY มีสุขภาพดี
 BRAND TONE OF VOICE
เปนขาวหอมมะลิที่มีคุณภาพและรสชาติที่ดีที่สุดในโลก
 กลยุทธบุกตลาดติมอรตะวันออก
คนติมอรชอบความเรียบงาย สบายๆ ตามวิถีชาวบาน กิน ใชอะไรก็ได
จึงไม Anti ของที่นําเขาประเทศ และเนื่องดวยขาวเปนอาหารหลักของ
ประเทศ จึงมีการนําเขาจากประเทศไทย โดยปกติ เพราะมองวาขาวไทยเปนขาวที่มี
คุณภาพที่ดี
 กลยุทธุบุกตลาดติมอรตะวันออก
ใชกลยุทธแบบ Localization
นําจุดเดนของขาวหอมมะลิที่ทั่วโลกใหการยอมรับทั้งเรื่องคุณภาพที่การันตี มา
เปนจุดขาย ซึ่งขาวไทยก็การันตีถึงคุณภาพเปนอันดับ 1 อยูแลว นําจุดนี้มาขายและ
ปรับเปลี่ยนในเรื่องรูปลักษณ บรรจุภัณฑใหดูสะอาดแตเรียบงาย ไมตองหวือหวา ภายใต
ราคาที่ถูกหรือไมแพงมาก เนื่องจากคนติมอรไมตองการในเรื่องความหรูหราดูดี แตเนน
คุณภาพ การใชงานหรือการกินมากกวา ซึ่งจะเปนการตีตลาดไดงาย เนื่องดวยการกินอยู
ของคนติมอรก็ตองการขาวในทุกวัน และดวยที่คนติมอรเปนคนเรียบงาย ไมเรื่องมาก
อะไรที่ดีก็จะเปดใจรับไดงาย และจะใชสินคานั้นไปตลอด
 เจาะกลุมคนฐานะปานกลางเพราะวาประเทศติมอรเปน
ประเทศที่ยังไมพัฒนา และคอนขางยากจน
 PRODUCT : ขาวหอมมะลิไทย โดยวางสินคาในระดับกลาง ไมหวือหวา เรียบ
งาย อาจบรรจุขายในปริมาณมากๆ เปนถุงใหญ เนนคุณภาพและปริมาณมากกวา
บรรจุภัณฑหรือความสวยงาม
 PRICE : ตั้งราคาในขนาดกลาง เพราะคนติมอรบริโภคขาวเปนหลัก และดวยที่เปน
ประเทศที่ยังไมพัฒนา ไมรวย สวนใหญเปนชาวบานที่ใชชีวิตตามวิถีที่เรียบงาย
 PLACE : มีรานคาในตัวเมืองและรานคาในแหลงตลาดขนาดใหญในประเทศติมอร
 PROMOTION : จัดทํากิจกรรมเพื่อความสนุกและเพื่อสังคม เพื่อสรางการ
จดจําและภาพลักษณที่ดีใหกับสินคา
 People : มีการทําการคัดเลือก อบรม ใชพนักงานเปนคนติมอร โดยหากบริการดี มี
คุณภาพก็จะเกิดการบอกตอซึ่งเปนผลตอธุรกิจขาวหอมมะลิไทย
 Physical Evidence and Presentation :นําจุดแข็งของขาวหอมมะลิ
มาสรางจุดเดน เพื่อใหเกิดการยอมรับ ดานคุณภาพและในปริมาณที่เยอะ ทั้งราคาไม
แพง และรวมทั้งการปรับเปลี่ยนชื่อเปนภาษาติมอร
 Process : การที่จะเกิดการจงรักภักดีในแบรน ซึ่งตีตลาดตางชาติอันดับแรกคือ
คุณภาพและราคา อันดับที่รองลงมาคือการบริการดังนั้นเราควรใสใจทุกรายละเอียดใน
การบริการ สามารถพูดเพื่อใหผูบริโภคคลอยตามประทับใจในทุกๆดานจนเกิดความ
ภักดีในตัวแบรน
 ROAD SHOW แจกขาวฟรีตามชุมชน มีการแขงขันกันปลูกขาว ตอบปญหา
เรื่องขาว การนําขาวไปประยุกตอยางอื่น ใครชนะมีรางวัลให
 บริการบอกวิธีการปลูกขาวหอมมะลิในกิจกรรม
 มีกิจกรรมจัดแขงขันใหคนติมอรเขารวมโดยการคิดเมนูและทําอาหารเมนูใหมที่มี
รสชาติอรอย แปลกใหม สวยงาม และกินกับขาวไดอยางลงตัวและอรอยยิ่งขึ้น
 เกี่ยวกับเศรษฐกิจ
- มีบริการการสอนปลูกขาวหอมมะลิใหมีคุณภาพแกคนติมอร เนื่องจากคนในประเทศ
ประกอบอาชีพเกษตรกรรมสวนใหญอยูแลว
 เกี่ยวกับการศึกษา
- รายไดสวนหนึ่งจากการขายขาวมอบใหมูลนิธิและโรงเรียนดอยโอกาสในติมอร
- รับอาสาสมัครสรางอาคารเรียน บริจาคหนังสือ เสื้อผา ใหกับชุมชนที่ยากจนในติมอร
ซึ่งมีจํานวนมาก
- มีการใหความรูเกี่ยวกับเรื่องขาวหรือการเพาะปลูกขาวแกนักเรียน เพื่อเปนประโยชน
ในการประกอบอาชีพในอนาคต
- ใหทุนกับนักเรียนติมอรที่มีความสนใจที่จะเขามาเรียนในไทย
 ไมมี เนื่องจากประเทศติมอรตะวันออกเปนประเทศที่ยังไมพัฒนาในเรื่องของ
สื่อสารมวลชน จึงไมมี Agency ในประเทศ จะมีแตบริษัทเล็กๆที่ทําสื่อเล็กๆ เและ
เนื่องดวยการใชชีวิตมักอยูดวยกันพูดคุยกัน อยูกันเปนกลุมมากกวาเปดรับสื่อ
 จึงโฆษณาโดยการประชาสัมพันธ การจัดกิจกรรมตางๆ หรือโปรโมทจากทางรานคา
และใหเกิดกระแสปากตอปาก ของผูคนในประเทศติมอรเอง
 (Media Plan +Budget Plan)
 Free Media
 Paid Media
 Free Media
สื่อฟรีมีเดียจะไดรับผลมาจากการที่โปรโมทรานคา การจัดกิจกรรม ไปทํากิจกรรม
เพื่อสังคม ทําใหเกิดเปนขาว เกิดการบอกตอ และไมตองเสียเงินคาใชจายเพื่อจาง
ใหขาวหรือลงสื่อทั้งทางวิทยุโทรทัศนและหนังสือพิมพ ซึ่งคนในประเทศก็ไมเปดรับ
สื่อเทาไหรจึงไมมีผลตอผูคนมาก โดยเฉพาะทางดานการชวยเหลือเด็กๆ และการมี
สวนรวมในการพัฒนาคุณภาพของชาวเกษตรกรของติมอร
 Paid Media
 จัดทําแผนปายโฆษณาหรือโปสเตอรขนาดพอเหมาะ
แกการดึงดูดความสนใจ เพื่อเชิญชวนใหมาซื้อ
พรอมบอกรายละเอียดของสินคา
จะเห็นไดวาการไมจําเปนตองเสียคาโฆษณาในประเทศติมอรมากเลย หรือ
คาใชจายในดานนี้นอยมาก ไมตองวางแผนดานสื่อเทาไหร เนื่องจากวิถีชีวิตของ
ชาวติมอรดวย ทําใหประหยัดงบในเรื่องสื่อไดเยอะ
5 ลานตอป

Contenu connexe

En vedette (11)

Portfolio abhilash
Portfolio abhilashPortfolio abhilash
Portfolio abhilash
 
Shruti ubgade portfolio
Shruti ubgade  portfolioShruti ubgade  portfolio
Shruti ubgade portfolio
 
Social Media Trampoline
Social Media TrampolineSocial Media Trampoline
Social Media Trampoline
 
96836801 sap-sd-interview-questions
96836801 sap-sd-interview-questions96836801 sap-sd-interview-questions
96836801 sap-sd-interview-questions
 
Actividad 12
Actividad 12Actividad 12
Actividad 12
 
La sico motricidad
La sico motricidadLa sico motricidad
La sico motricidad
 
Herramientas de la plataforma moodle
Herramientas de la plataforma moodle Herramientas de la plataforma moodle
Herramientas de la plataforma moodle
 
Diplomado gestión periodística
Diplomado gestión periodísticaDiplomado gestión periodística
Diplomado gestión periodística
 
Feniziarrak
FeniziarrakFeniziarrak
Feniziarrak
 
54
5454
54
 
Revista do Coloquio de Literatura Popular - Ed. 2006
Revista do Coloquio de Literatura Popular - Ed. 2006Revista do Coloquio de Literatura Popular - Ed. 2006
Revista do Coloquio de Literatura Popular - Ed. 2006
 

ข้าวไทยส่งออกไปติมอร์ตะวันออก

  • 2.
  • 3. เนื่องจากคนติมอรรับประประทาน ขาว เปนอาหารหลักดวย จึงมีการตั้ง โครงการ เมล็ดพันธุ แหงชีวิต เปนโปรแกรมภายในประเทศติมอรเลสเตโดยกระทรวงเกษตรและประมง (MAF) ไดรับการสนับสนุนโดยความรวมมือจาก MAF และรัฐบาลออสเตรเลียผาน หนวยงานของออสเตรเลียสําหรับการพัฒนาระหวางประเทศ (AusAID) และศูนย ออสเตรเลียเพื่อการวิจัยการเกษตร (ACIAR). ศูนยสําหรับพืชตระกูลถั่วในทะเลเมดิ เตอรเรเนียนวิชาการเกษตร (CLIMA) โฟกัสหลักเพื่อผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นโดยการเลือกและการกระจายการปรับปรุงพันธุสายพันธุ ใหมีคุณภาพที่เหนือกวา ยังใหความสําคัญในเรื่องความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศและ เพื่อลดนภาระวัชพืชและเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินลดการสูญเสียการจัดเก็บ การเก็บ เกี่ยวและการปรับปรุงการเตรียมการจัดหาเมล็ดพันธุ เนื่องจากเล็งเห็นปญหาทางสภาพ อากาศที่แปรปรวนรวมทั้งสภาพภูมิประเทศที่ติดชายฝงทะเล ทําใหมีฤดูที่มีผลแกการ เพาะปลูกขาว อาจทําใหขาวมีคุณภาพไมดีเทาที่ควร
  • 4.
  • 5.  คนประเทศติมอร สวนใหญมักรับประทานเนื้อวัว หรืออาหารทะเล จําพวกปลา กุง สาหราย เปนตน เปนวัตถุดิบที่หาไดงายในประเทศ นํามาผัด แกงหรือตมกิน แลว อาหารหลักอีกประเภทคือ ขาว และอาหารจําพวกเสน ซึ่งสวนใหญจะเปนอาหารหลัก ของทางประเทศอินโดนีเซีย เนื่องจากเปนประเทศใหมที่แยกตัวออกมาจากประเทศ อินโดนีเซีย และอีกมักจะรับประทานอาหารประเภท เครื่องเทศ ประเภทที่มีรสจัด เชน เปรี้ยวจัด ขมจัด เปนอาหารที่ถูกคอของชาวติมอร
  • 6.
  • 7.
  • 9.  ประเทศติมอรตะวันออก ปกครองในระบอบประชาธิปไตย แตดวยความที่เปนประเทศใหมที่แยกตัวออกมาจึงตองเผชิญกับเหตุการณสงครามกลาง เมือง และการรุกรานจากประเทศอื่น ทําใหประเทศเกิดปญหา ประเทศจึงวุนวาย จึงไมคอย มีการพัฒนาประเทศ คลายประเทศปด ไมคอยเปดรับสื่อหรือขาวสารอะไร ทําใหสังคมหรือ ความทันสมัยมีนอย - จึงมีประเทศตางๆที่คอยชวยเหลือ เพื่อใหเกิดความสงบภายในประเทศติมอร เชน ประเทศ ไทยก็มีการสงมอบเงินเพื่อใหไปซื้อเมล็ดพันธขาวนํามาปลูก กินเอง และ ไทยยังมี การสงออก ขาว น้ําตาลทราย รถยนต ใหกับติมอร สวนติมอรสงออก ผืนผา เครื่องจักร อุตสาหกรรม เปนตน คลายกับการแลกเปลี่ยนทรัพยากรกัน
  • 10.
  • 11.  ลูทางการคาการลงทุนในติมอรตะวันออกที่มีศักยภาพ คือ ไรกาแฟ การประมง ธุรกิจ การทองเที่ยว รวมถึงแหลงทรัพยากรประเภทน้ํามันดิบและกาซธรรมชาติในเขต Timor Gap ซึ่งอยูระหวางติมอร-เลสเตกับออสเตรเลีย อยางไรก็ดี ธุรกิจเหลานี้ยัง จําเปนตองไดรับการพัฒนาและการสนับสนุนดานการเงินจากนักลงทุนภายนอกอยูมาก เนื่องจากติมอร-เลสเตยังขาดเงินทุน และชาวติมอร-เลสเตยังขาดทักษะในการประกอบ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ กอปรกับในปจจุบันมีอัตราผูวางงานสูงประมาณรอยละ 80 ซึ่ง ในสวนของนักธุรกิจไทยจําเปนตองศึกษาความเปนไปไดของระเบียบรวมถึงอุปสรรค ดังกลาวตาง ๆ ขางตน เพื่อประกอบการพิจารณาถึงความเสี่ยงในการลงทุนในติมอร- เลสเต และขณะนี้สินคาสวนใหญในติมอร-เลสเตนําเขาจากออสเตรเลีย เพื่อรองรับการ บริโภคของคณะเจาหนาที่จากสหประชาชาติและคณะทูตที่ปฏิบัติงานในติมอร-เลสเต
  • 12.
  • 13.  เนื่องจากประเทศติมอรเปนประเทศใหมที่เพิ่งแยกตัวออกมาจากประเทศอินโดนีเซียได ไมนาน บวกกับวิถีชีวิตของคนในประเทศ ตองการความสงบสุข การใชชีวิตอยางเรียบ งายตามวิถีชาวบาน อยูดวยกันเปนกลุมใหญ มีประเพณีทองถิ่น คลายคนสมัยกอน ไม มีความกาวหนาทางเทคโนโลยีหรือเปดรับสื่อเทาที่ควรหรือมีใหเห็นนอย จึงอาจจะไมรู ขาวสารภายนอกประเทศเทาไหร  และเนื่องดวยการประกอบอาชีพของชาวเมืองสวนใหญ จะเปน เกษตรกรรม งาน หัตถกรรม หรืองานทํามือที่ชาวบานชวยกันทํา จึงไมคอยมีโฆษณาใหเราไดเห็นกัน เทาไหร เนื่องจากเขาไมคอยเปดรับสื่อพวกนี้ซักเทาไหร เนื่องจากคนสวนมากใน ประเทศยังลาหลัง ไมพัฒนาเทาที่ควร
  • 14.
  • 15.  ในทั่วโลกสหรัฐอเมริกาก็ถือเปนอีกประเทศหนึ่งซึ่งเปนประเทศผูสงออกขาวที่สําคัญ โดยประเทศคูแขงของไทย  สําหรับแถวเอเชีย เวียดนาม อินเดีย พมา และกัมพูชา ประกาศนโยบายที่จะเพิ่ม ปริมาณสงออกขาวอีกเทาตัว ขณะที่ประเทศคูแขงสําคัญเหลานี้ตางก็ใชกลยุทธทุก วิถีทางรวมทั้งการลดราคาสงออกขาวเพื่อแยงชิงตลาด
  • 16.  การพัฒนาพันธุขาวใหมีคุณภาพมากขึ้นเรื่อยๆเพื่อแขงขันแยงชิงตลาดกับไทย โดยเฉพาะขาวพันธุหอมมะลิที่ขณะนี้ประเทศเวียดนามไดพยายามพัฒนาพันธขาว ลูกผสมที่มีคุณสมบัติใกลเคียงกับขาวพันธหอมมะลิของไทย แตราคาถูกกวา  พมาซึ่งกําลังเริ่มพัฒนาประเทศจะเพิ่มปริมาณการสงออกขาวอยางขนานใหญใน 2 ป ขางหนา ซึ่งดวยความพรอมของพมาทั้งในดานพื้นที่อันอุดมสมบูรณที่มีอยูอีกจํานวน มากและแรงงานราคาถูกอาจเปนไปไดที่ในอนาคตพมาอาจเปนผูสงออกขาวคูแขง สําคัญของไทยอีกประเทศหนึ่งและอาจกลับมาเปนประเทศผูสงออกขาวรายใหญที่สุด ของโลกอีกครั้งหลังจากที่พมาเคยเปนเจาโลกผูสงออกขาวมาแลวชวงกอนสงครามโลก ครั้งที่สอง
  • 17.  นโยบายรับจํานําขาวเปลือกของไทย 15,000 บาทตอตันของรัฐบาลชุดปจจุบัน ซึ่งทําใหราคาขาวเพื่อการสงออกสูงตามไปดวย โดยปจจุบันราคาขาวไทยสงออก ของไทยเฉลี่ยอยูที่ 671 เหรียญสหรัฐตอตันหรือเพิ่มขึ้น 17 % เมื่อเทียบกับราคา เมื่อป 2554 กอนทําใหไมสามารถแขงขันกับประเทศคูแขงอื่นๆ  ผูสงออกขาวบางรายของไทยเห็นแกไดโดยไมคํานึงถึงผลกระทบตอภาพพจน ประเทศในระยะยาวดวยการขายขาวปลอมปน จนหลายประเทศหันไปซื้อขาว จากประเทศคูแขงอื่น
  • 18.
  • 19.  ขาวหอมมะลิไทย ประมาณ 1,100 เหรียญสหรัฐตอตัน  ขณะที่เวียดนาม ประมาณ 600 เหรียญสหรัฐตอตัน  กัมพูชา ประมาณ 800 เหรียญสหรัฐตอตัน  สรุป จากแนวโนมวิกฤติการสงออกขาวไทยทั้งหมดขาวตนเปนสิ่งที่ภาครัฐตลอดจน ภาคเอกชนตองรวมกันแกปญหาอยางจริงจังและสรางตลาดสงออกขาวรายใหมๆ มิฉะนั้น ในอนาคตอันไมไกลนักไทยคงสูญเสียแชมปผูสงออกขาวรายใหญที่สุดของโลกแนนอน
  • 20.  สรางแคมเปญ ขึ้นมาในระดับ GLOBAL มีการสรางสื่อ ทําคลิป viral ที่ซึ้งหรือ ประทับใจ ใหเห็นคุณคาและคุณภาพของขาวหอมมะลิไทย และมีเกมสหรือ application เกี่ยวกับการทําเมนูอาหาร คิดสูตรขึ้นมาใหม ใหดูนารับประทาน และเขากับเมนูขาวหอมมะลิ ใครที่ทําอาหารไดแตมสูงสุด นากินและสามารถ รับประทานไดจริง ก็จะเปนผูชนะ  ในระดับ Local ตองสรางแคมเปญแบบลงพื้นที่ โดยการคิดสูตรหรือทําเมนูอาหาร ขึ้นมาใหมคลาย Application ที่กลาวไปขางตน แตอันนี้ทําจริง และตองมีรสชาติ ที่อรอย  แคมเปญ นี้ผูชนะจะไดรับขาวหอมมะลิไปทานไดตลอดป 1 ปเต็ม
  • 21.  BRAND VISION การพัฒนาและสงเสริมขาวหอมมะลิไทย เพื่อเจาะกลุมตลาดเปาหมายประเทศ ติมอรตะวันออก และตีตลาดกลุมเปาหมายไปทั่วโลก เพื่อเปนที่ยอมรับวาขาวหอมมะลิ ของไทยมีคุณภาพที่ดีที่สุดในโลก
  • 22.  BRAND MISSION กลยุทธที่จะใชไปเจาะตลาดเพื่อสงขาวเขาไปในประเทศติมอรตะวันออก 1. กลยุทธแบบ GLOBAL ยกระดับขาวไทยและสรางการยอมรับและความแตกตางใหทั่ว โลกไดเห็น 2. กลยุทธแบบ LOCAL เขาไปดวยโดยในตอนแรกตั้งราคาใหต่ํากวาขาวอื่นๆ หรือจาก ประเทศอื่น เชน อินโดนีเซีย และจัดกิจกรรมเพื่อสังคมใหคนในประเทศติมอรไดเห็นวาขาว ไทยดีทั้งคุณภาพ มีประโยชนตั้งตอรายกายและคนในประเทศติมอร แตจะใชแบบ Local มากกวา เพราะประเทศติมอรตะวันออกยังเปนประเทศใหม ไม เปดรับสื่อมากเทาไหรและยังไมพัฒนา รวมทั้งยังไมเปนที่รูจัก มากนักแกประเทศอื่นๆ
  • 23.  BRAND ESSENCE เปนแหงแรกในการผลิตขาวหอมมะลิในทั่วโลก ที่มีคนยอมรับ ทั้งในเรื่อง ของคุณภาพและราคา
  • 24.  BRAND PROMISE ผูบริโภคจะมั่นใจไดในคุณภาพทุกเมล็ดของเปลือกขาว วาจะไดทั้งประโยชนตอ รางกายและความสุขในการรับประทานทุกครั้ง ไมวาจะเปนความหอมของขาว ราคา และ ความสุขที่จะไดรับทุกครั้งที่รับประทาน
  • 25.  BRAND ATTRIBUTES - ORIGINAL มีความเปนตนฉบับหรือดั้งเดิม - QUALITY มีคุณภาพ - HEALTHY มีสุขภาพดี
  • 26.  BRAND TONE OF VOICE เปนขาวหอมมะลิที่มีคุณภาพและรสชาติที่ดีที่สุดในโลก
  • 27.  กลยุทธบุกตลาดติมอรตะวันออก คนติมอรชอบความเรียบงาย สบายๆ ตามวิถีชาวบาน กิน ใชอะไรก็ได จึงไม Anti ของที่นําเขาประเทศ และเนื่องดวยขาวเปนอาหารหลักของ ประเทศ จึงมีการนําเขาจากประเทศไทย โดยปกติ เพราะมองวาขาวไทยเปนขาวที่มี คุณภาพที่ดี
  • 28.  กลยุทธุบุกตลาดติมอรตะวันออก ใชกลยุทธแบบ Localization นําจุดเดนของขาวหอมมะลิที่ทั่วโลกใหการยอมรับทั้งเรื่องคุณภาพที่การันตี มา เปนจุดขาย ซึ่งขาวไทยก็การันตีถึงคุณภาพเปนอันดับ 1 อยูแลว นําจุดนี้มาขายและ ปรับเปลี่ยนในเรื่องรูปลักษณ บรรจุภัณฑใหดูสะอาดแตเรียบงาย ไมตองหวือหวา ภายใต ราคาที่ถูกหรือไมแพงมาก เนื่องจากคนติมอรไมตองการในเรื่องความหรูหราดูดี แตเนน คุณภาพ การใชงานหรือการกินมากกวา ซึ่งจะเปนการตีตลาดไดงาย เนื่องดวยการกินอยู ของคนติมอรก็ตองการขาวในทุกวัน และดวยที่คนติมอรเปนคนเรียบงาย ไมเรื่องมาก อะไรที่ดีก็จะเปดใจรับไดงาย และจะใชสินคานั้นไปตลอด
  • 30.  PRODUCT : ขาวหอมมะลิไทย โดยวางสินคาในระดับกลาง ไมหวือหวา เรียบ งาย อาจบรรจุขายในปริมาณมากๆ เปนถุงใหญ เนนคุณภาพและปริมาณมากกวา บรรจุภัณฑหรือความสวยงาม  PRICE : ตั้งราคาในขนาดกลาง เพราะคนติมอรบริโภคขาวเปนหลัก และดวยที่เปน ประเทศที่ยังไมพัฒนา ไมรวย สวนใหญเปนชาวบานที่ใชชีวิตตามวิถีที่เรียบงาย
  • 31.  PLACE : มีรานคาในตัวเมืองและรานคาในแหลงตลาดขนาดใหญในประเทศติมอร  PROMOTION : จัดทํากิจกรรมเพื่อความสนุกและเพื่อสังคม เพื่อสรางการ จดจําและภาพลักษณที่ดีใหกับสินคา
  • 32.  People : มีการทําการคัดเลือก อบรม ใชพนักงานเปนคนติมอร โดยหากบริการดี มี คุณภาพก็จะเกิดการบอกตอซึ่งเปนผลตอธุรกิจขาวหอมมะลิไทย  Physical Evidence and Presentation :นําจุดแข็งของขาวหอมมะลิ มาสรางจุดเดน เพื่อใหเกิดการยอมรับ ดานคุณภาพและในปริมาณที่เยอะ ทั้งราคาไม แพง และรวมทั้งการปรับเปลี่ยนชื่อเปนภาษาติมอร  Process : การที่จะเกิดการจงรักภักดีในแบรน ซึ่งตีตลาดตางชาติอันดับแรกคือ คุณภาพและราคา อันดับที่รองลงมาคือการบริการดังนั้นเราควรใสใจทุกรายละเอียดใน การบริการ สามารถพูดเพื่อใหผูบริโภคคลอยตามประทับใจในทุกๆดานจนเกิดความ ภักดีในตัวแบรน
  • 33.  ROAD SHOW แจกขาวฟรีตามชุมชน มีการแขงขันกันปลูกขาว ตอบปญหา เรื่องขาว การนําขาวไปประยุกตอยางอื่น ใครชนะมีรางวัลให  บริการบอกวิธีการปลูกขาวหอมมะลิในกิจกรรม  มีกิจกรรมจัดแขงขันใหคนติมอรเขารวมโดยการคิดเมนูและทําอาหารเมนูใหมที่มี รสชาติอรอย แปลกใหม สวยงาม และกินกับขาวไดอยางลงตัวและอรอยยิ่งขึ้น
  • 34.  เกี่ยวกับเศรษฐกิจ - มีบริการการสอนปลูกขาวหอมมะลิใหมีคุณภาพแกคนติมอร เนื่องจากคนในประเทศ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมสวนใหญอยูแลว  เกี่ยวกับการศึกษา - รายไดสวนหนึ่งจากการขายขาวมอบใหมูลนิธิและโรงเรียนดอยโอกาสในติมอร - รับอาสาสมัครสรางอาคารเรียน บริจาคหนังสือ เสื้อผา ใหกับชุมชนที่ยากจนในติมอร ซึ่งมีจํานวนมาก - มีการใหความรูเกี่ยวกับเรื่องขาวหรือการเพาะปลูกขาวแกนักเรียน เพื่อเปนประโยชน ในการประกอบอาชีพในอนาคต - ใหทุนกับนักเรียนติมอรที่มีความสนใจที่จะเขามาเรียนในไทย
  • 35.  ไมมี เนื่องจากประเทศติมอรตะวันออกเปนประเทศที่ยังไมพัฒนาในเรื่องของ สื่อสารมวลชน จึงไมมี Agency ในประเทศ จะมีแตบริษัทเล็กๆที่ทําสื่อเล็กๆ เและ เนื่องดวยการใชชีวิตมักอยูดวยกันพูดคุยกัน อยูกันเปนกลุมมากกวาเปดรับสื่อ  จึงโฆษณาโดยการประชาสัมพันธ การจัดกิจกรรมตางๆ หรือโปรโมทจากทางรานคา และใหเกิดกระแสปากตอปาก ของผูคนในประเทศติมอรเอง
  • 36.  (Media Plan +Budget Plan)
  • 37.  Free Media  Paid Media
  • 38.  Free Media สื่อฟรีมีเดียจะไดรับผลมาจากการที่โปรโมทรานคา การจัดกิจกรรม ไปทํากิจกรรม เพื่อสังคม ทําใหเกิดเปนขาว เกิดการบอกตอ และไมตองเสียเงินคาใชจายเพื่อจาง ใหขาวหรือลงสื่อทั้งทางวิทยุโทรทัศนและหนังสือพิมพ ซึ่งคนในประเทศก็ไมเปดรับ สื่อเทาไหรจึงไมมีผลตอผูคนมาก โดยเฉพาะทางดานการชวยเหลือเด็กๆ และการมี สวนรวมในการพัฒนาคุณภาพของชาวเกษตรกรของติมอร
  • 39.  Paid Media  จัดทําแผนปายโฆษณาหรือโปสเตอรขนาดพอเหมาะ แกการดึงดูดความสนใจ เพื่อเชิญชวนใหมาซื้อ พรอมบอกรายละเอียดของสินคา จะเห็นไดวาการไมจําเปนตองเสียคาโฆษณาในประเทศติมอรมากเลย หรือ คาใชจายในดานนี้นอยมาก ไมตองวางแผนดานสื่อเทาไหร เนื่องจากวิถีชีวิตของ ชาวติมอรดวย ทําใหประหยัดงบในเรื่องสื่อไดเยอะ