SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
รายงานเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า                                         จัดทำโดย ด.ช. จตุพงษ์    จิตมะโน    เลขที่ 2    ม. 3/4 ด.ช. ชินวัฒน์    ใจบุญ      เลขที่ 4    ม. 3/4 ด.ช. พีระพล     พัดขำ      เลขที่ 13   ม. 3/4 ด.ช. อานันต์     กันคำ      เลขที่ 21    ม. 3/4 ด.ช. ฉัตรมงคล  สังข์อนันต์ เลขที่ 22    ม. 3/4
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน  เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน โดยใช้หลักการคือ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนำที่มีความต้านทานสูงๆ ลวดตัวนำนั้นจะร้อนจนสามารถนำความร้อนออกไปใช้ประโยชน์ได้ เนื่องจากเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อนมาก จึงสิ้นเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ามากเมื่อเปรียบกับการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทอื่นๆ มื่อใช้ในเวลาที่เท่ากัน   ฉะนั้นขณะใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าให้พลังงานความร้อนจึงควรใช้ด้วยความระมัดระวัง ตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เช่น เตารีด หม้อหุงข้าว กระทะไฟฟ้า กาต้มน้ำ เครื่องต้มกาแฟ เตาไฟฟ้า ฯลฯ
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน    เตาไฟฟ้า วิธีใช้เตาไฟฟ้าให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย 1.ทำกับข้าวต้องมีแผนการประกอบอาหารแต่ละครั้ง ควรเตรียมเครื่องปรุงต่าง ๆ ให้พร้อมเสียก่อน แล้วจึงเปิดสวิตช์เตาไฟฟ้า ตั้งกระทะประกอบอาหารแต่ละอย่างติดต่อกันไปรวดเดียวจนเสร็จ2.ใช้ภาชนะก้นแบนภาชนะที่ใช้ควรเป็นชนิดก้นแบนพอดีกับเตา ไม่เล็ก ไม่ใหญ่จนเกินไป และใช้ภาชนะที่มีเนื้อโลหะรับความร้อนได้ดี ซึ่งถูกออกแบบให้ใช้กับเตาไฟฟ้า3.อาหารแช่แข็ง ทำให้หายแข็งก่อนโดยการนำอาหารลงมาแช่ที่ชั้นล่างก่อนการ ประกอบอาหารเป็นเวลานานพอสมควร4.ในการประกอบอาหารใส่น้ำแต่พอควร5.ควรใช้เตาชนิดมองไม่เห็นขดลวด เพราะจะไม่มีความร้อนสูญเปล่าและปลอดภัยกว่า6.อย่าเปิดเตาบ่อย ๆ และขณะใช้งานควรวางบนพื้นที่ทนไฟหรือไม่ติดไฟ7.ก่อนประกอบอาหารเสร็จควรปิดสวิตช์เตาไฟฟ้าเพราะความร้อนที่สะสมอยู่มีเพียงพอ8.ควรระวังไม่ให้ความร้อนจากเตาไฟฟ้าสัมผัสสายไฟฟ้า เพราะจะทำให้เปลือกสาย (ฉนวน) เสียหายได้และไม่ควรตั้งวางใกล้วัสดุติดไฟ เช่น 9.เตาไฟฟ้าที่ใช้ปรุงอาหารจะให้ความร้อน ความร้อนที่เกิดจากเตาไฟฟ้าจะทำให้ฉนวนเสื่อมได้ง่าย จึงจำเป็นต้องมีสายดินทุกเครื่องและคอยตรวจสอบไฟรั่วด้วยไขควงลองไฟอยู่เสมอ10. ดูข้อความปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน  เตารีดไฟฟ้า วิธีใช้เตารีดไฟฟ้าให้ประหยัดพลังงาน 1.ควรรีดผ้าคราวละมากๆ ติดต่อกันจนเสร็จ และควรเริ่มรีดผ้าบางๆ ก่อนในขณะที่เตารีดยังไม่ร้อน และก่อนรีดเสร็จประมาณ 2-3 นาทีให้ถอดปลั๊กออก2.เมื่อไม่ได้ใช้งานควรถอดปลั๊กออก และก่อนจะเก็บควรทิ้งให้เตารีดเย็นก่อน  คำแนะนำด้านความปลอดภัยของเตารีด1.ควรระวังไม่ให้ความร้อนจากเตารีดสัมผัสสายไฟฟ้าเพราะจะทำให้เปลือกสาย(ฉนวน) เสียหายได้2.สายปลั๊กของเตารีด เปลือกสาย (ฉนวน) ต้องไม่เสื่อมสภาพหรือฉีกขาด3.ต้องคอยหมั่นตรวจสอบฉนวนยางที่หุ้มสายเข้าเตารีด หากพบว่าเปื่อยหรือฉีกขาดควรรีบเปลี่ยนใหม่โดยช่างผู้มีความรู้ เพราะหากไม่รีบเปลี่ยนสายไฟบริเวณนั้นอาจชำรุดและถูกไฟดูดได้4.ขณะใช้งาน เมื่อหยุดรีดต้องวางบนวัสดุที่ไม่ติดไฟง่าย5.เตารีดที่ใช้ควรมีสายดินและต่อลงดินผ่านทางเต้าเสียบ – เต้ารับที่มีสายดินด้วย และหมั่นตรวจสอบไฟรั่วด้วยไขควงลองไฟเสมอ6. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้า หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล                 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล  มีการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่า มอเตอร ์ และ เครื่องควบคุมความเร็ว ซึ่งเป็นอุปกรณ์หลักในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล ตัวอย่าง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล เช่น เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องดูดฝุ่น พัดลม เครื่องซักผ้า เครื่องปั่นน้ำผลไม้ ฯลฯ
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกลเครื่องซักผ้าวิธีใช้เครื่องซักผ้าให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย 1.เลือกขนาดให้เหมาะสมกับงานที่ใช้2.ซักผ้าตามพิกัดของเครื่อง อย่าใส่ผ้าอัดแน่นเกินกำลังของเครื่อง 3.การซักผ้าทีละ 2-3 ชิ้น ไม่เป็นการประหยัด และควรใช้น้ำร้อนซักผ้าเมื่อจำเป็นเท่านั้น 4.ซักผ้าแล้วไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องอบผ้าแห้งด้วยไฟฟ้า ควรใช้วิธี การผึ่งลมหรือผึ่งแดด5.ต้องต่อสายดินและหมั่นตรวจสอบไฟรั่วด้วยไขควงลองไฟอยู่เสมอ6.ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย ตามข้อ
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกลเครื่องดูดฝุ่น           วิธีใช้เครื่อดูดฝุ่นให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย 1. เมื่อใช้แล้วควรเอาฝุ่นผงในถุงทิ้งทุกครั้งเพื่อเครื่องจะได้มีแรงดูดดี และไม่กินไฟ2. ซื้อเฉพาะประเภทที่มีสายดินพร้อมมากับปลั๊กไฟ และติดตั้งระบบสายดินที่เต้ารับด้วย ยกเว้นว่าเป็นเครื่องใชไฟฟ้าประเภท 23. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง ได้แก่  เครื่องรับวิทย เครื่องขยายเสียง ุ เครื่องบันทึกเสียง ฯลฯ                   เครื่องรับวิทยุ   เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดยรับคลื่นวิทยุ จากสถานี ส่งแล้วใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียงที่มีอยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้นเมื่อผ่านสัญญาณไฟฟ้า นี้ไปยังลำโพงจะทำให้ลำโพงสั่นสะเทือนเปลี่ยนเป็นเสียงที่สามารถรับฟังได้ ดังแผนผัง                    เสาอากาศ         ขยายสัญญาณ          ลำโพง                  เสียง                                 (รับคลื่นวิทยุ)                                              แผนผังการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียงของเครื่องรับวิทยุ
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง      เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง เช่น เครื่องรับวิทยุ เครื่องบันทึกเสียง เครื่องขยายเสียง เครื่องรับวิทยุ      เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดยเครื่องรับวิทยุอาศัยการรับคลื่นวิทยุจากสถานีส่ง แล้วใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียงที่อยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้นจนเพียงพอที่ทำให้ลำโพงเสียงสั่นสะเทือนเป็นเสียงให้เราได้ยิน ดังแผนผัง 
เครื่องบันทึกเสียง      เครื่องบันทึกเสียงเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดยขณะบันทึกใช้การพูดผ่านไมโครโฟน ซึ่งจะเปลี่ยนเสียงเป็นสัญญาณไฟฟ้า แล้วบันทึกลงในแถบบันทึกเสียงซึ่งฉาบด้วยสารแม่เหล็กในรูปของสัญญาณแม่เหล็ก เมื่อนำแถบบันทึกเสียงที่บันทึกไว้มาเล่น สัญญาณแม่เหล็กจะถูกเปลี่ยนกลับไปเป็นสัญญาณไฟฟ้า และสัญญาณไฟฟ้าจะถูกขยายให้แรงขึ้นด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้า สัญญาณไฟฟ้าจะถูกส่งไปถึงลำโพง ทำให้ลำโพงสั่นสะเทือนกลับเป็นเสียงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ดังแผนผัง 
หลอดไฟต่างในปัจจุบันและความต่างกันของหลอดแต่ละชนิด
หลอดอินแคนเดสเซนต์ (incandescent) หลอดอินแคนเดสเซนต์ (incandescent)หลอดไส้หรือหลอดอินแคนเดสเซนต์ มีทั้งชนิดแก้วใส และแก้วฝ้า ไส้หลอดทำจากทังสเตน(Tungsten) เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้หลอดจะเกิดความร้อน และให้แสงสว่างหลอดอินแคนเดสเซนต์ให้แสงสีเหลืองส้ม อายุการใช้งานสั้นมาก และเปลืองไฟมาก เนื่องจากสูญเสียพลังงานไปกับความร้อนที่เกิดขึ้น ปัจจุบันแทบจะไม่มีใครใช้แล้วแต่ผู้จัดสรรโครงการที่อยู่อาศัย บางราย ยังคงใช้ให้ลูกค้าอยู่
หลอดฟลูออเรสเซนต์(Fluorescent T8) หลอดนีออนหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์มีลักษณะหลอดยาวเป็นรูปทรงกระบอก ให้แสงสว่างนวลตา ให้สีของแสงหลายแบบ เช่นสี warm white ให้แสงสีขาวอมเหลืองนวล ทำให้รู้สึกอบอุ่น สี cool white ให้แสงสีขาวอมฟ้า ให้ความรู้สึกเย็นสบายตา แต่จะทำให้สีของวัตถุเพี้ยนไป และสี day light ให้แสงใกล้เคียงกับแสงธรรมชาติ ทำให้มองเห็นสีของ วัตถุใกล้เคียงกับสีจริงหลอดฟลูออเรสเซนต์ต้อง ใช้งานร่วมกับบัลลาสต์(Ballast) และสตาร์ทเตอร์(Starter)หลอดฟลูออเรสเซนต์โดยแฉลี่ยแล้วมีอายุการใช้งาน นานกว่าหลอดอินแคนเดสเซนต์ ประมาณ 8 เท่า และใช้พลังงานเพียง 20% ของหลอดอินแคนเดสเซนต์ปัจจุบันมีหลอดฟลูออเรสเซนต์T5 ซึ่งประหยัดไฟฟ้าและให้แสงมากกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์T8 เดิม
หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์(Compact Fluorescent) หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ หลอดตะเกียบ หรือหลอดผอมเป็นหลอดที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้แทนหลอดอินแคนเดสเซนต์มีให้เลือกทั้งแบบ warm white, cool white และ day light เช่นเดียวกับหลอดฟลูออเรสเซนต์ หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์มีอายุการใช้งานยาวนานกว่าหลอดอินแคนเดสเซนต์ 10 เท่า และใช้พลังงานเพียง 25% ของหลอดอินแคนเดสเซนต์หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์มีลักษณะการวางหลอด 2 แบบ คือการวางหลอดในแนวตั้ง และการวางหลอดในแนวนอน การวางหลอดในแนวตั้งปริมาณแสงจากหลอด จะลดลง 5-10 เปอร์เซนต์ เพราะอากาศร้อนจะถูกพัดขึ้นไปด้านบน แต่ถ้าวางหลอดในแนวนอนปริมาณแสงจะลดลงถึง 40 เปอร์เซนต์ ข้อเสียที่ควรระวังของหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์คือ เมื่อหลอดไฟแตก สารปรอทที่มีอยู่ในหลอดส่วนหนึ่งจะระเหยกลายเป็นไอ และส่วนที่เป็นผงก็จะฟุ้งกระจาย ซึ่งเราอาจจะสูดดมเข้าไปได้สารปรอท เป็นสารพิษที่จะทำลายไตและพัฒนาการทางสมองของทารกในครรภ์และเด็กในวัยเจริญเติบโต
หลอดฮาโลเจน(Halogen) หลักการทำงานทั่วไปของหลอดฮาโลเจนคล้ายกับหลอดไส้ และกินไฟมากแต่มีอายุการใช้งานนานกว่าหลอดไส้หลอดฮาโลเจนให้แสงสีขาวและให้ค่าความถูกต้องของสีถึง 100 % จึงนิยมใช้ให้แสงพวกเครื่องประดับหรือให้แสงสำหรับการแต่งหน้า
ภาพเครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งหมด
บรรณานุกรม http://www.mea.or.th/apd/5/main.htm http://www.google.com http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=baansuansabuy&month=14-09-2009&group=3&gblog=8
ขอบพระคุณ สวัสดี
งานนำเสนอ1

Contenu connexe

Tendances

เรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าธนวัฒน์ ตุ้ยคำ
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าPleum Ps
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า1560100453451
 
Sideshare เรื่องการใช้ไฟฟ้า
Sideshare  เรื่องการใช้ไฟฟ้าSideshare  เรื่องการใช้ไฟฟ้า
Sideshare เรื่องการใช้ไฟฟ้าหัว' เห็ด.
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าPanatsaya
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อยArnan Khankham
 

Tendances (7)

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่องประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าและประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
Sideshare เรื่องการใช้ไฟฟ้า
Sideshare  เรื่องการใช้ไฟฟ้าSideshare  เรื่องการใช้ไฟฟ้า
Sideshare เรื่องการใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อย
 

En vedette

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Arnan Khankham
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อยArnan Khankham
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Arnan Khankham
 
Presentazione Assistente Studio Legale
Presentazione Assistente Studio LegalePresentazione Assistente Studio Legale
Presentazione Assistente Studio LegaleAstrella Consalvo
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อยArnan Khankham
 
Random 110830074619-phpapp01
Random 110830074619-phpapp01Random 110830074619-phpapp01
Random 110830074619-phpapp01Arnan Khankham
 
οδηγιες ηλιοπροστασιας
οδηγιες ηλιοπροστασιαςοδηγιες ηλιοπροστασιας
οδηγιες ηλιοπροστασιαςpsaltakis
 
διατροφη στη βρεφικη και παιδικη ηλικια
διατροφη στη βρεφικη και παιδικη ηλικιαδιατροφη στη βρεφικη και παιδικη ηλικια
διατροφη στη βρεφικη και παιδικη ηλικιαpsaltakis
 
Ο ρόλος του παιδιάτρου στην πρόληψη των ατυχημάτων
Ο ρόλος του παιδιάτρου στην πρόληψη των ατυχημάτωνΟ ρόλος του παιδιάτρου στην πρόληψη των ατυχημάτων
Ο ρόλος του παιδιάτρου στην πρόληψη των ατυχημάτωνpsaltakis
 
παιδιατρικα επειγοντα
παιδιατρικα επειγονταπαιδιατρικα επειγοντα
παιδιατρικα επειγονταpsaltakis
 

En vedette (14)

รายงาน
รายงาน รายงาน
รายงาน
 
งานๆ
งานๆงานๆ
งานๆ
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อย
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Presentazione Assistente Studio Legale
Presentazione Assistente Studio LegalePresentazione Assistente Studio Legale
Presentazione Assistente Studio Legale
 
..
....
..
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อย
 
Random 110830074619-phpapp01
Random 110830074619-phpapp01Random 110830074619-phpapp01
Random 110830074619-phpapp01
 
οδηγιες ηλιοπροστασιας
οδηγιες ηλιοπροστασιαςοδηγιες ηλιοπροστασιας
οδηγιες ηλιοπροστασιας
 
διατροφη στη βρεφικη και παιδικη ηλικια
διατροφη στη βρεφικη και παιδικη ηλικιαδιατροφη στη βρεφικη και παιδικη ηλικια
διατροφη στη βρεφικη και παιδικη ηλικια
 
Ο ρόλος του παιδιάτρου στην πρόληψη των ατυχημάτων
Ο ρόλος του παιδιάτρου στην πρόληψη των ατυχημάτωνΟ ρόλος του παιδιάτρου στην πρόληψη των ατυχημάτων
Ο ρόλος του παιδιάτρου στην πρόληψη των ατυχημάτων
 
παιδιατρικα επειγοντα
παιδιατρικα επειγονταπαιδιατρικα επειγοντα
παιδιατρικα επειγοντα
 

Similaire à งานนำเสนอ1

จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดยsugareyes
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดยsugareyes
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อยArnan Khankham
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอBoyz Bill
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานsangzaclub
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าsangzaclub
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.PdfPanatsaya
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiriporn Somkrue
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดยsugareyes
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดยsugareyes
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์sugareyes
 

Similaire à งานนำเสนอ1 (20)

จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดย
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดย
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อย
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdf
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดย
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดย
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
Hot
HotHot
Hot
 

งานนำเสนอ1

  • 1. รายงานเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า จัดทำโดย ด.ช. จตุพงษ์ จิตมะโน เลขที่ 2 ม. 3/4 ด.ช. ชินวัฒน์ ใจบุญ เลขที่ 4 ม. 3/4 ด.ช. พีระพล พัดขำ เลขที่ 13 ม. 3/4 ด.ช. อานันต์ กันคำ เลขที่ 21 ม. 3/4 ด.ช. ฉัตรมงคล สังข์อนันต์ เลขที่ 22 ม. 3/4
  • 2. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน  เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน โดยใช้หลักการคือ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนำที่มีความต้านทานสูงๆ ลวดตัวนำนั้นจะร้อนจนสามารถนำความร้อนออกไปใช้ประโยชน์ได้ เนื่องจากเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อนมาก จึงสิ้นเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ามากเมื่อเปรียบกับการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทอื่นๆ มื่อใช้ในเวลาที่เท่ากัน   ฉะนั้นขณะใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าให้พลังงานความร้อนจึงควรใช้ด้วยความระมัดระวัง ตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เช่น เตารีด หม้อหุงข้าว กระทะไฟฟ้า กาต้มน้ำ เครื่องต้มกาแฟ เตาไฟฟ้า ฯลฯ
  • 3. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เตาไฟฟ้า วิธีใช้เตาไฟฟ้าให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย 1.ทำกับข้าวต้องมีแผนการประกอบอาหารแต่ละครั้ง ควรเตรียมเครื่องปรุงต่าง ๆ ให้พร้อมเสียก่อน แล้วจึงเปิดสวิตช์เตาไฟฟ้า ตั้งกระทะประกอบอาหารแต่ละอย่างติดต่อกันไปรวดเดียวจนเสร็จ2.ใช้ภาชนะก้นแบนภาชนะที่ใช้ควรเป็นชนิดก้นแบนพอดีกับเตา ไม่เล็ก ไม่ใหญ่จนเกินไป และใช้ภาชนะที่มีเนื้อโลหะรับความร้อนได้ดี ซึ่งถูกออกแบบให้ใช้กับเตาไฟฟ้า3.อาหารแช่แข็ง ทำให้หายแข็งก่อนโดยการนำอาหารลงมาแช่ที่ชั้นล่างก่อนการ ประกอบอาหารเป็นเวลานานพอสมควร4.ในการประกอบอาหารใส่น้ำแต่พอควร5.ควรใช้เตาชนิดมองไม่เห็นขดลวด เพราะจะไม่มีความร้อนสูญเปล่าและปลอดภัยกว่า6.อย่าเปิดเตาบ่อย ๆ และขณะใช้งานควรวางบนพื้นที่ทนไฟหรือไม่ติดไฟ7.ก่อนประกอบอาหารเสร็จควรปิดสวิตช์เตาไฟฟ้าเพราะความร้อนที่สะสมอยู่มีเพียงพอ8.ควรระวังไม่ให้ความร้อนจากเตาไฟฟ้าสัมผัสสายไฟฟ้า เพราะจะทำให้เปลือกสาย (ฉนวน) เสียหายได้และไม่ควรตั้งวางใกล้วัสดุติดไฟ เช่น 9.เตาไฟฟ้าที่ใช้ปรุงอาหารจะให้ความร้อน ความร้อนที่เกิดจากเตาไฟฟ้าจะทำให้ฉนวนเสื่อมได้ง่าย จึงจำเป็นต้องมีสายดินทุกเครื่องและคอยตรวจสอบไฟรั่วด้วยไขควงลองไฟอยู่เสมอ10. ดูข้อความปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
  • 4. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เตารีดไฟฟ้า วิธีใช้เตารีดไฟฟ้าให้ประหยัดพลังงาน 1.ควรรีดผ้าคราวละมากๆ ติดต่อกันจนเสร็จ และควรเริ่มรีดผ้าบางๆ ก่อนในขณะที่เตารีดยังไม่ร้อน และก่อนรีดเสร็จประมาณ 2-3 นาทีให้ถอดปลั๊กออก2.เมื่อไม่ได้ใช้งานควรถอดปลั๊กออก และก่อนจะเก็บควรทิ้งให้เตารีดเย็นก่อน  คำแนะนำด้านความปลอดภัยของเตารีด1.ควรระวังไม่ให้ความร้อนจากเตารีดสัมผัสสายไฟฟ้าเพราะจะทำให้เปลือกสาย(ฉนวน) เสียหายได้2.สายปลั๊กของเตารีด เปลือกสาย (ฉนวน) ต้องไม่เสื่อมสภาพหรือฉีกขาด3.ต้องคอยหมั่นตรวจสอบฉนวนยางที่หุ้มสายเข้าเตารีด หากพบว่าเปื่อยหรือฉีกขาดควรรีบเปลี่ยนใหม่โดยช่างผู้มีความรู้ เพราะหากไม่รีบเปลี่ยนสายไฟบริเวณนั้นอาจชำรุดและถูกไฟดูดได้4.ขณะใช้งาน เมื่อหยุดรีดต้องวางบนวัสดุที่ไม่ติดไฟง่าย5.เตารีดที่ใช้ควรมีสายดินและต่อลงดินผ่านทางเต้าเสียบ – เต้ารับที่มีสายดินด้วย และหมั่นตรวจสอบไฟรั่วด้วยไขควงลองไฟเสมอ6. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้า หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
  • 5. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล                 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล  มีการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่า มอเตอร ์ และ เครื่องควบคุมความเร็ว ซึ่งเป็นอุปกรณ์หลักในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล ตัวอย่าง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล เช่น เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องดูดฝุ่น พัดลม เครื่องซักผ้า เครื่องปั่นน้ำผลไม้ ฯลฯ
  • 6. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกลเครื่องซักผ้าวิธีใช้เครื่องซักผ้าให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย 1.เลือกขนาดให้เหมาะสมกับงานที่ใช้2.ซักผ้าตามพิกัดของเครื่อง อย่าใส่ผ้าอัดแน่นเกินกำลังของเครื่อง 3.การซักผ้าทีละ 2-3 ชิ้น ไม่เป็นการประหยัด และควรใช้น้ำร้อนซักผ้าเมื่อจำเป็นเท่านั้น 4.ซักผ้าแล้วไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องอบผ้าแห้งด้วยไฟฟ้า ควรใช้วิธี การผึ่งลมหรือผึ่งแดด5.ต้องต่อสายดินและหมั่นตรวจสอบไฟรั่วด้วยไขควงลองไฟอยู่เสมอ6.ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย ตามข้อ
  • 7. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกลเครื่องดูดฝุ่น           วิธีใช้เครื่อดูดฝุ่นให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย 1. เมื่อใช้แล้วควรเอาฝุ่นผงในถุงทิ้งทุกครั้งเพื่อเครื่องจะได้มีแรงดูดดี และไม่กินไฟ2. ซื้อเฉพาะประเภทที่มีสายดินพร้อมมากับปลั๊กไฟ และติดตั้งระบบสายดินที่เต้ารับด้วย ยกเว้นว่าเป็นเครื่องใชไฟฟ้าประเภท 23. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
  • 8. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง ได้แก่  เครื่องรับวิทย เครื่องขยายเสียง ุ เครื่องบันทึกเสียง ฯลฯ                   เครื่องรับวิทยุ   เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดยรับคลื่นวิทยุ จากสถานี ส่งแล้วใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียงที่มีอยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้นเมื่อผ่านสัญญาณไฟฟ้า นี้ไปยังลำโพงจะทำให้ลำโพงสั่นสะเทือนเปลี่ยนเป็นเสียงที่สามารถรับฟังได้ ดังแผนผัง                    เสาอากาศ         ขยายสัญญาณ          ลำโพง                  เสียง                                 (รับคลื่นวิทยุ)                                              แผนผังการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียงของเครื่องรับวิทยุ
  • 9. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง      เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง เช่น เครื่องรับวิทยุ เครื่องบันทึกเสียง เครื่องขยายเสียง เครื่องรับวิทยุ      เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดยเครื่องรับวิทยุอาศัยการรับคลื่นวิทยุจากสถานีส่ง แล้วใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียงที่อยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้นจนเพียงพอที่ทำให้ลำโพงเสียงสั่นสะเทือนเป็นเสียงให้เราได้ยิน ดังแผนผัง 
  • 10. เครื่องบันทึกเสียง      เครื่องบันทึกเสียงเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดยขณะบันทึกใช้การพูดผ่านไมโครโฟน ซึ่งจะเปลี่ยนเสียงเป็นสัญญาณไฟฟ้า แล้วบันทึกลงในแถบบันทึกเสียงซึ่งฉาบด้วยสารแม่เหล็กในรูปของสัญญาณแม่เหล็ก เมื่อนำแถบบันทึกเสียงที่บันทึกไว้มาเล่น สัญญาณแม่เหล็กจะถูกเปลี่ยนกลับไปเป็นสัญญาณไฟฟ้า และสัญญาณไฟฟ้าจะถูกขยายให้แรงขึ้นด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้า สัญญาณไฟฟ้าจะถูกส่งไปถึงลำโพง ทำให้ลำโพงสั่นสะเทือนกลับเป็นเสียงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ดังแผนผัง 
  • 12. หลอดอินแคนเดสเซนต์ (incandescent) หลอดอินแคนเดสเซนต์ (incandescent)หลอดไส้หรือหลอดอินแคนเดสเซนต์ มีทั้งชนิดแก้วใส และแก้วฝ้า ไส้หลอดทำจากทังสเตน(Tungsten) เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้หลอดจะเกิดความร้อน และให้แสงสว่างหลอดอินแคนเดสเซนต์ให้แสงสีเหลืองส้ม อายุการใช้งานสั้นมาก และเปลืองไฟมาก เนื่องจากสูญเสียพลังงานไปกับความร้อนที่เกิดขึ้น ปัจจุบันแทบจะไม่มีใครใช้แล้วแต่ผู้จัดสรรโครงการที่อยู่อาศัย บางราย ยังคงใช้ให้ลูกค้าอยู่
  • 13. หลอดฟลูออเรสเซนต์(Fluorescent T8) หลอดนีออนหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์มีลักษณะหลอดยาวเป็นรูปทรงกระบอก ให้แสงสว่างนวลตา ให้สีของแสงหลายแบบ เช่นสี warm white ให้แสงสีขาวอมเหลืองนวล ทำให้รู้สึกอบอุ่น สี cool white ให้แสงสีขาวอมฟ้า ให้ความรู้สึกเย็นสบายตา แต่จะทำให้สีของวัตถุเพี้ยนไป และสี day light ให้แสงใกล้เคียงกับแสงธรรมชาติ ทำให้มองเห็นสีของ วัตถุใกล้เคียงกับสีจริงหลอดฟลูออเรสเซนต์ต้อง ใช้งานร่วมกับบัลลาสต์(Ballast) และสตาร์ทเตอร์(Starter)หลอดฟลูออเรสเซนต์โดยแฉลี่ยแล้วมีอายุการใช้งาน นานกว่าหลอดอินแคนเดสเซนต์ ประมาณ 8 เท่า และใช้พลังงานเพียง 20% ของหลอดอินแคนเดสเซนต์ปัจจุบันมีหลอดฟลูออเรสเซนต์T5 ซึ่งประหยัดไฟฟ้าและให้แสงมากกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์T8 เดิม
  • 14. หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์(Compact Fluorescent) หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ หลอดตะเกียบ หรือหลอดผอมเป็นหลอดที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้แทนหลอดอินแคนเดสเซนต์มีให้เลือกทั้งแบบ warm white, cool white และ day light เช่นเดียวกับหลอดฟลูออเรสเซนต์ หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์มีอายุการใช้งานยาวนานกว่าหลอดอินแคนเดสเซนต์ 10 เท่า และใช้พลังงานเพียง 25% ของหลอดอินแคนเดสเซนต์หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์มีลักษณะการวางหลอด 2 แบบ คือการวางหลอดในแนวตั้ง และการวางหลอดในแนวนอน การวางหลอดในแนวตั้งปริมาณแสงจากหลอด จะลดลง 5-10 เปอร์เซนต์ เพราะอากาศร้อนจะถูกพัดขึ้นไปด้านบน แต่ถ้าวางหลอดในแนวนอนปริมาณแสงจะลดลงถึง 40 เปอร์เซนต์ ข้อเสียที่ควรระวังของหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์คือ เมื่อหลอดไฟแตก สารปรอทที่มีอยู่ในหลอดส่วนหนึ่งจะระเหยกลายเป็นไอ และส่วนที่เป็นผงก็จะฟุ้งกระจาย ซึ่งเราอาจจะสูดดมเข้าไปได้สารปรอท เป็นสารพิษที่จะทำลายไตและพัฒนาการทางสมองของทารกในครรภ์และเด็กในวัยเจริญเติบโต
  • 17. บรรณานุกรม http://www.mea.or.th/apd/5/main.htm http://www.google.com http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=baansuansabuy&month=14-09-2009&group=3&gblog=8