SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 12 ความลมเหลวของธุรกิจ




    All rights reserved www.Thailandaccount.com   1
ความลมเหลวของธุรกิจ
                                    ิ
            ความล ม เหลวทางธุ ร กิ จ มิ ไ ด เ กิ ด เนื่ อ งจากตั ว ธุ ร กิ จ เอง
เทานน แตอาจเกดจากธุรกจอนทเกยวของ เชนผู ดหาหรือขาย
เทานั้น แตอาจเกิดจากธรกิจอื่นที่เกี่ยวของ เชนผจัดหาหรอขาย
วั ต ถุ ดิ บ ให กั บ กิ จ การหรื อ ลู ก ค า ของกิ จ การเองประสบความ
ลมเหลวจนไมสามารถจายชําระหนี้สินใ กิจการได
               ไ              ํ             ี ให         ไ




                   All rights reserved www.Thailandaccount.com                   2
ความลมเหลวทางธุรกิจคืออะไร

          ความลมเหลวทางธุรกิิจเกิิดขึ้ึนเมืื่อธุรกิิจกาวมาถึึงจุด
(ปกติคือจุดที่ไมสามารถชําระหนี้ได) ซึ่งไมสามารถดําเนินธุรกิจ
ตอไปไดโดยปราศจากปญหา ปญหาเหลานี้เปนปญหาที่กิจการ
                                                 ุ
ไม ส ามารถหาทางแก ไ ขได และยิ่ ง ดํ า เนิ น ธรกิ จ ต อ ไปก็ ยิ่ ง มี
ปญหามากขึ้นเรื่อย ๆ ที่จุดนี้มีความสําคัญอยางยิ่งที่จะยอมรับ
ความลมเหลวตงแตตนหรอจะพบกบปญหาดานการเงนและ
ความลมเหลวตั้งแตตนหรือจะพบกับปญหาดานการเงินและ
กฎหมายเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆถาหากยังดึงดันที่จะดําเนินธุรกิจตอไป



            All rights reserved www.Thailandaccount.com                    3
ตนเหตุของความลมเหลวทางธุรกิจ

สาเหตุของความลมเหลวทางธุรกิิจป ประกอบดวย
   1. ป จ จั ย ทางเศรษฐกิ จ ซึ่ ง ประกอบด ว ยความอ อ นแอของ
                         ฐ
        อุตสาหกรรมและสถานที่ตั้งธุรกิจไมเหมาะสมหรือไมถูกตอง
   2. ปจจััยทางการเงิิน ซึ่ึงรวมทัั้งการมีีหนี้ีสินมากเกิินไปแตมีทุนนอย
                                                            ไป
        หรือไมเพียงพอ
   3. การขาดการเอาใจใส ภัยธรรมชาติ และการทุจริต
   4. ปจจยอน
   4 ปจจัยอื่น ๆ


                 All rights reserved www.Thailandaccount.com            4
สิ่งที่กิจการตองเผชิญเมื่อมีหนี้สินลนพนตัว (Financial
                       distress)
1.
1    การทกจการไมสามารถชาระหนไดตามกาหนดเปนการชวคราวหรอเปนเหตุจากมูลคาสนคา
           ี่ ิ ไ            ํ     ไ
                                    ี้       ํ    ป     ั่       ื ป                 ิ
     ดอยกวาหนี้สนที่เปนภาระผูกพัน
                  ิ
2.   ถาปญหาดงกลาวเปนเพยงชวครงชวคราวการทาความตกลงกบเจาหนอาจขยายเวลา
     ถาปญหาดังกลาวเปนเพียงชั่วครั้งชัวคราวการทําความตกลงกับเจาหนีอาจขยายเวลา
                                         ่                             ้
     เพื่อใหปญหาผอนคลายได อยางไรก็ตามถามูลคาของสินทรัพยถาวรตกต่ํามากๆและกิจการ
     เกิดการขาดทุน ใครจะเปนผูรับภาระขาดทุนและใครจะเปนผูไดรับมูลคาที่ยังเหลืออยู
3.   กิจการควรจะหยุดดําเนินการหรือดําเนินการตอไป กลาวคือเปนการดีหรือไมทจะดําเนิน
                                                                                   ี่
     กิจการตอไปหรือหยุดกิจการและขายสินทรัพยออกไปใหหมด
4.
4    ควรทกจการจะไดรบความคุ ครองจากศาลภายใตพระราชบญญตลมละลายหรอใชวธอนท
     ควรที่กิจการจะไดรับความคมครองจากศาลภายใตพระราชบัญญัติลมละลายหรือใชวิธีอื่นที่
     ไมเปนทางการเพื่อฟนฟูกิจการ
5.
5    ใครจะเปนผู วบคมกิจการเมื่อมีการเลิกกิจการหรือฟนฟกิจการ ควรทจะใหผู ริหารชดเดิม
     ใครจะเปนผควบคุมกจการเมอมการเลกกจการหรอฟนฟูกจการ ควรทีจะใหผบรหารชุดเดม
                                                                         ่
     รักษาการตอไปหรือจะใหผพิทักษทรัพย (Trustee) เขามาดูแลกิจการแทน
                                ู


                   All rights reserved www.Thailandaccount.com                      5
การแกไขปญหาอยางไมเปนทางการ

•   Workout ื
    W k t คอ การตกลงกนดวยความสมครใจระหวางเจาหนและลูกหนี้ และเจาหนยนยอมใหกจการ
                             ั          ส ั ใ         ี้                     ี้ ิ         ใ ิ
    สามารถดําเนินธุรกิจตอไปได โดยมีการปรับปรุงฐานะทางการเงินใหกลับมามั่นคงอีกครัง    ้
•   Restructuring คือ การปรับโครงสรางหนี้ใหม เชน การเปลียนหนีบางรายการระยะสันเปนระยะยาว
                                                            ่         ้               ้
    หรือเปลี่ยนหนี้เปนทุน
•   Extension คือ การยืดเวลาการชะระหนี้ หมายถึง เจาหนียอมขยายกําหนดเวลาการชําระหนีออกไป
                                                         ้                                      ้
    สาหรบยอดหนทคางชาระหนเตมจานวนอยู ละเปนไปไดทเจาหนอาจใหเงนกู ํานวนหนึ่งแกลกหน
    สําหรับยอดหนีทคางชําระหนี้เต็มจํานวนอยและเปนไปไดที่เจาหนีอาจใหเงินกจานวนหนงแกลูกหนี้
                     ้ ี่                                           ้
    เพื่อชําระหนีการคาในชวงเวลาที่ขยายการชําระหนีดวย
                   ้                               ้
•   Composition คือ การประนอมหนี้ หมายถึง การที่เจาหนียนยอมลดจํานวนหนีสนลง จํานวนหนีที่
                                                            ้ิ                   ้ ิ                 ้
    ยอมลดใหจะมากนอยแคไหนขันอยูกับการตอรองระหวางเจาหนีแมบางครั้งการชําระหนี้ไมสูงแตถอ
                                  ้                            ้                                  ื
    วาดีกวาไปฟองรอง ซึ่งจะมีคาใชจายทางศาลและเปนการรักษาชือเสียงของเจาหนี้ รวมทังกิจการของ
                                                                 ่                       ้
    ลูกหนกไมตองตกเปนการลมละลาย
    ลกหนีก็ไมตองตกเปนการลมละลาย
            ้    
•   Assignment เปนการเลิกกิจการอยางไมเปนทางการโดยลูกหนี้ขอเลิกกิจการกับเจาหนีโดยตรงแลว้
    เจาหนียนยอม
              ้ิ

                     All rights reserved www.Thailandaccount.com                                 6
การเลิกกิจการโดยไมสมัครใจ

     เกิิดขึึ้นใ
               ในกรณีีที่บรรดาเจาหนี้และกิิจการที่เปนลูกหนีี้ไมสามารถ
                                       ี            ี
ตกลงกันไดในเรื่องการชําระหนี้สิน จึงจําเปนตองนําเรื่องขึ้นสูศาลให
เปนคนกลางในการพิจารณา




              All rights reserved www.Thailandaccount.com            7
ลมละลาย

      ลมละลายคืือการทีี่ลูกหนีี้ที่มีหนี้ีสินลนพนตััวและไมสามารถชํําระ
                                                            ไ
หนี้ไดตาม พ.ร.บ. ลมละลาย เมื่อศาลไดมีคําสั่งพิทักษทรัพยของลูกหนี้
เด็ดขาดแลวและเจาพนักงานพิทักษทรัพยรายงานวา เจาหนี้ไดลงมติใน
การประชมเจาหนี้ครั้งแรกหรือในคราวที่ไดเลื่อนไป ขอใหศาลพิจารณา
           ุ
ใหลูกหนี้ลมละลายก็ดีหรือไมลงมติประการใดก็ดีหรือไมมีเจาหนี้ไป
ประชุมกด หรอการประนอมหนไมไดรบความเหนชอบกด ใหศาล
ประชมก็ดี หรือการประนอมหนี้ไมไดรับความเห็นชอบก็ดี ใหศาล
พิพากษาใหลูกหนี้ลมละลายและเจาพนักงานพิทักษทรัพยมีอํานาจ
จััดการทรััพยสินของบุคคลลมละลาย เพืื่อแบงแกเจาหนี้ทั้งหลาย
                                                          ี

               All rights reserved www.Thailandaccount.com              8
สรุปลักษณะสําคัญของกฎหมายลมละลาย

                หััวขอ                                      คดีีลมละลาย
1. จํานวนหนี้ขนต่ํา
              ั้                            ฟองบุคคลธรรมดาไมนอยกวา 1,000,000 บาท ฟอง
                                            นิติบุคคลไมนอยกวา 2,000,000 บาท
2. จุดประสงคในการฟองคดี                   ฟองเพื่อเขาจัดการทรัพยสินของลูกหนี้เพื่อชําระหนี้แก
                                            เจาหนีทงหลาย
                                                       ี้ ั้
3. ความรวดเร็วในการพิจารณา                  มีขนตอนในการดําเนินคดีรวบรัดและเนนความรวดเร็ว
                                                 ั้
                                            เปนสาคญ
                                             ป สํ ั
4. คาใชจายในการดําเนินคดี                คาขึ้นศาลถูกกวาคดีแพงสามัญมาก
5. การยืื่นคํําใหการ
               ใ                           ลูกหนีจะยืื่น หรืือ ไ ยื่นคํําใหการก็็ได ไ มีราย
                                                    ี้             ไม     ใ               ไม
                                            แกลูกหนี้

                      All rights reserved www.Thailandaccount.com                             9
สรุปลักษณะสําคัญของกฎหมายลมละลาย

             หััวขอ                                       คดีีลมละลาย
6. การอยูในอํานาจศาล                     หลังจากศาลรับฟอง           ลูกหนนี้จะตองอยูใน
                                          อํํานาจศาล
7. การถอนฟอง                             ถอนไดตอเมือศาลอนุญาตเทานั้น
                                                     ่
8. การจําหนายคดี                         กรณีคําสั่งพิทักษทรัพยชั่วคราวแลว ถาศาลจะ
                                          สั่ง จําหนายคดี ตองมีการโฆษณา ลวงหนาไม
                                          นอยกวา 7 วัน
9. การชั่งน้ําหนักพยานหลักฐาน             พิจารณาพยาน เจาหนี้ผูเปนโจทยกอน ถาฟง
                                          ไม
                                          ไ ได ศาลยกฟองไดเลย แตฟงไ  จึึงฟงพยาน
                                                        ฟ ไ             ฟ ได
                                          ลูกหนี้ วาสามารถชําระหนี้ไดหรือไม

                    All rights reserved www.Thailandaccount.com                       10
การยื่นฟองคดีลมละลาย
                                 

      การยืื่นฟองคดีีลมละลาย (เฉพาะในระหวางที่ีศาลลมละลายภาค
                                             ใ
ยังไมเปดทําการ) ใหยื่นตอศาลชั้นตนที่ลูกหนี้ที่ภูมิลําเนา อยูในเขตศาล
หรื อ ประกอบธุ ร กิ จ อยู ใ นเขตศาลต น นั้ น ต อ งส ง คํ า ร อ งต อ ไปยั ง ศาล
ลมละลาย เมื่อศาลลมละลายรับฟองแลว ก็จะออกไปทําการไตสวน นั่ง
พิจ ารณา และพิ พ ากษาคดี ณ ศาลจั ง หวั ด ดั ง กล า ว ที นี้ วิ ธี พิ จ ารณา
ตามลาดบ กเรมดวยการตรวจคาฟองซงกใชหลกกฎหมายการตรวจคา
ตามลําดับ ก็เริ่มดวยการตรวจคําฟองซึ่งก็ใชหลักกฎหมายการตรวจคํา
คูความในคดีแพงสามัญ หลังจากรับฟองแลวจะสงหมายเรียกและ
สํําเนาคํําฟองใหลูกหนี้ีเพืื่อทราบ (เพืื่อทราบไมใชเพืื่อแกคดีี) ดัังนัั้นใ
                ใ                                 ไ                               ใน
คดีลมละลายจําเลยหรือลูกหนี้ไมจําตองยื่นคําใหการก็ได
                All rights reserved www.Thailandaccount.com                     11
การฟนฟูกิจการ (Reorganization)

         ตามพระราชบััญญััติลมละลาย ( ับที่ี 4) พ.ศ. 2541 ละพระราชบััญญััติ
                                             (ฉบั )
ล ม ละลาย (ฉบั บ ที่ 5) พ.ศ. 2542 ซึ่ ง เป น การแก ไ ขเพิ่ ม เติ ม พระราชบั ญ ญั ติ
ลมละลาย พุทธศกราช
ลมละลาย พทธศักราช 2483 ไดมีขอกําหนดเกี่ยวกับการฟนฟกิจการของลูกหน้ ก็
                                  ไดมขอกาหนดเกยวกบการฟนฟูกจการของลกหนี ก
เนื่องจากบทบัญญัติบางมาตราของพระราชบัญญัติลมละลาย พุทธศักราช 2483
ไมเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปจจบัน โดยเฉพาะเมื่อลกหนี้ที่เปน
                             ฐ                              ุ                     ู
นิ ติ บุ ค คลประสบป ญ หาสภาพคล อ งทางการเงิ น ชั่ ว คราวอั น ควรได รั บ ความ
ชวยเหลือทางการเงินจากผูประสงคจะใหความชวยเหลือทางการเงินแกลูกหนี้
เพื่อใหลูกหนี้มีโอกาสฟนฟูกิจการ แตเนื่องจากมาตรา 94 (2) แหงพระราชบัญญัติ
ลมละลาย พุทธศักราช 2483 ไดกําหนดวา ในกรณีที่เจาหนี้ยินยอมใหลูกหนี้กอ
หนีี้ขึ้นโ อยูแลววาลูกหนีี้มีหนีี้สินลนพนตััว เจาหนี้ีดังกลาวจะไมมีสิทธิิขอรัับ
          โดยรู                                                              ไ
ชําระหนี้ในคดีลมละลาย
                  

                   All rights reserved www.Thailandaccount.com                            12
การฟนฟูกิจการ (Reorganization)

      ขอบััญญััติน้ีทําใหไมมีสถาบัันการเงิินหรืือเอกชนรายใดยิินยอมให
                             ใ                                                 ใ             ใ
ความชวยเหลือทางการเงินแกลูกหนี้ที่ประสบปญหาสภาพคลองทาง
การเงินชั่วคราว ลูกหนี้จึงตองตกเปนบุคคลลมละลายทั้งๆที่กิจการของ
ลกหนี้ อ ยู ใ นสภาพฟ น ฟได ห ากได รั บ ความช ว ยเหลื อ ทางการเงิ น แก
 ู                                 ู
ลู ก หนี้ เ พื่ อ ให มี โ อกาสฟ น ฟู กิ จ การซึ่ ง จะช ว ยให เ จ า หนี้ ไ ม มี ป ระกั น มี
โอกาสไดรบชาระหนอยางเปนธรรม ซงจะเปนการชวยสงเสรมเศรษฐกจ
โอกาสไดรับชําระหนี้อยางเปนธรรม ซึ่งจะเปนการชวยสงเสริมเศรษฐกิจ
ของประเทศตอไป



                   All rights reserved www.Thailandaccount.com                              13
ลักษณะของลูกหนี้ที่สามารถขอฟนฟูกิจการ

• เป น บริิ ษั ท จํํ า กัั ด บริิ ษั ท มหาชนจํํ า กัั ด หรืื อ นิิ ติ บุ ค คลอื่ื น ทีี่ ก ฎหมาย
   ป
  กําหนด
• มีหนี้สนลนพนตัว
         ิ
• เปนหนีี้เจาหนี้ีคนเดีียวหรืือหลายคนรวมกัันเปนจานวนไมนอยกวา 10
   ป                                                          ป ํ           ไ
  ลานบาท ไมวาหนี้จะถึงกําหนดชําระโดยพลันหรือในอนาคตก็ตาม
                       
• มีเหตุผลสมควรละมีชองทางที่จะฟนฟูกิจการของลูกหนี้ได



                      All rights reserved www.Thailandaccount.com                           14
ผูมีสิทธิขอใหฟนฟูกิจการลูกหนี้

• เจาหนซงอาจเปนคนเดยวหรอหลายคนรวมกนและมจานวนหนแนนอน
     ี้ ึ่        ป    ี ื                 ั    ีํ       ี้ 
  ไมนอยกวา 10 ลานบาท
• ลูกหนี้ซึ่งเขาลักษณะ 4 ขอ ขางตน
• หนวยงานของรัฐที่มีอํานาจหนาที่กํากับดูแลการประกอบกิจการลููกหนี้
                                          ู
                    เชน
       - ธนาคารแหงประเทศไทยในกรณทลูกหนเปนธนาคารพาณชย บรษท
                         ป ศไ ใ            ี ี่   ี้ ป           ิช ิ ั
       เงินทุน บริษัทเงินทุนหลักทรัพย หรือบริษัทเครดิตฟองซิเอร
       - สานกงานคณะกรรมการกากบหลกทรพยและตลาดหลกทรพยในกรณที่
             ํ ั                    ํ ั ั ั                      ั ั      ี
       ลูกหนี้เปนบริษทหลักทรัพย
                      ั

                All rights reserved www.Thailandaccount.com            15
ผูมีสิทธิขอใหฟนฟูกิจการลูกหนี้

-กรมการประกัั น ภัั ย ใ
           ป          ในกรณีี ที่ ลู ก หนีี้ เ ป น บริิ ษั ท ป ั น วิิ น าศภัั ย หรืื อ
                                                              ประกั
บริษทประกันชีวิต
      ั
-หนวยงานรัฐอื่นที่มีอํานาจกํากับดูแลการประกอบกิจการของลูกหนี้ที่
เกยวของ
เกี่ยวของ




                 All rights reserved www.Thailandaccount.com                       16
คํารองขอใหฟนฟูกิจการและการตั้งผูทําแทน

• ความมีีหนีี้สินลนพนตััวของลูกหนีี้ โ
                                         โดยแสดงสิินทรััพยและหนี้ีสินของ
  ลูกหนี้
• รายชื่อและที่อยูของเจาหนี้คนเดียวหรือหลายคนที่ลูกหนี้อยูรวมกันเปน
  จานวนไมนอยกวา ลานบาท
  จํานวนไมนอยกวา 10 ลานบาท
• เหตุอันสมควรและชองทางที่จะฟนฟูกิจการ
• ชื่อและคุณสมบัติของผูทําแผนฟนฟูกจการ  ิ
• หนังสือยินยอมของผทาแผนฟนฟูกจการ
  หนงสอยนยอมของผู ําแผนฟนฟกิจการ


                 All rights reserved www.Thailandaccount.com          17
การบริหารกิจการลูกหนี้เมื่อศาลสังใหฟนฟูกิจการ
                                ่     


• เมื่อศาลสั่งใหฟนฟูกิจการลูกหนี้แลว อํานาจหนาที่ในการจัดการกิจการ
          ั  สิ
  และทรพยสนของผูบรหารของลูกหนสนสุดลง รวมทงสทธทางกฎหมาย
                          ิ              ี้สิ้ ส       ั้ สิ ิ
  ของผูถือหุนก็ระงับลง (ยกเวนสิทธิในการรับเงินปนผล) โดยสิทธิในการ
  บรหารและสทธของผู อหุ จะเปนของผ ริหารคนใหม ไดแก
  บริหารและสิทธิของผถือหนจะเปนของผูบรหารคนใหม ไดแก
  - กรณีที่ยังไมมีการตั้งผูทําแทน ผูบริหารชั่วคราวหรือผูพิทักษทรัพยจะ
  เปนผู ริหารกิจการ โดยผ รหารชวคราวอาจแตงตงจากผู ริหารของ
  เปนผบรหารกจการ โดยผูบริหารชั่วคราวอาจแตงตั้งจากผบรหารของ
  ลูกหนี้เองหรือบุคคลอื่นก็ได
  -กรณทมการตงผูทําแผนแลวใหผูทําแผนเปนผมีอานาจหนาทในการ
   กรณีที่มีการตั้งผ าแผนแลวใหผ าแผนเปนผู อํานาจหนาที่ในการ
  จัดการกิจการและทรัพยสินของลูกหนี้ (มาตรา 90/25)

                 All rights reserved www.Thailandaccount.com           18
Q&A
บททีี่ 12 ความลมเหลวของธุรกิจ




   All rights reserved www.Thailandaccount.com   19

Contenu connexe

Similaire à 12 businessfinance v1

หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1chwalit
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2praphol
 
12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ
12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ
12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศHIPO_Training
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9praphol
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินple2516
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8praphol
 
สถิตื เรื่องสอบ ตั๋วทนาย
สถิตื เรื่องสอบ ตั๋วทนายสถิตื เรื่องสอบ ตั๋วทนาย
สถิตื เรื่องสอบ ตั๋วทนายSiwawut Sittivech
 
กดหมายในชีวิตประจำวัน
กดหมายในชีวิตประจำวันกดหมายในชีวิตประจำวัน
กดหมายในชีวิตประจำวันmardkocham
 
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนบทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนWannisa Chaisingkham
 
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารCh1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารple2516
 
จาก Sopa ถึง ACTA โดย อธิป จิตตฤกษ์
จาก Sopa ถึง ACTA โดย อธิป จิตตฤกษ์ จาก Sopa ถึง ACTA โดย อธิป จิตตฤกษ์
จาก Sopa ถึง ACTA โดย อธิป จิตตฤกษ์ Thai Netizen Network
 

Similaire à 12 businessfinance v1 (15)

หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ
12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ
12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8
 
สถิตื เรื่องสอบ ตั๋วทนาย
สถิตื เรื่องสอบ ตั๋วทนายสถิตื เรื่องสอบ ตั๋วทนาย
สถิตื เรื่องสอบ ตั๋วทนาย
 
11 businessfinance v1
11 businessfinance v111 businessfinance v1
11 businessfinance v1
 
กดหมายในชีวิตประจำวัน
กดหมายในชีวิตประจำวันกดหมายในชีวิตประจำวัน
กดหมายในชีวิตประจำวัน
 
08chap06
08chap0608chap06
08chap06
 
08chap06 (2)
08chap06 (2)08chap06 (2)
08chap06 (2)
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนบทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
 
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารCh1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
 
จาก Sopa ถึง ACTA โดย อธิป จิตตฤกษ์
จาก Sopa ถึง ACTA โดย อธิป จิตตฤกษ์ จาก Sopa ถึง ACTA โดย อธิป จิตตฤกษ์
จาก Sopa ถึง ACTA โดย อธิป จิตตฤกษ์
 

Plus de Teeraset Siratananont (14)

Mobile Training Chula eBook
Mobile Training Chula eBookMobile Training Chula eBook
Mobile Training Chula eBook
 
Inventory
InventoryInventory
Inventory
 
General Ledger
General LedgerGeneral Ledger
General Ledger
 
Sales
SalesSales
Sales
 
ระบบการซื้อ
ระบบการซื้อระบบการซื้อ
ระบบการซื้อ
 
Accounting software
Accounting softwareAccounting software
Accounting software
 
06 businessfinance v1
06 businessfinance v106 businessfinance v1
06 businessfinance v1
 
05 businessfinance v1
05 businessfinance v105 businessfinance v1
05 businessfinance v1
 
03 businessfinance v1
03 businessfinance v103 businessfinance v1
03 businessfinance v1
 
02 businessfinance v1
02 businessfinance v102 businessfinance v1
02 businessfinance v1
 
01 businessfinance v1
01 businessfinance v101 businessfinance v1
01 businessfinance v1
 
Cost calculation Teeraset
Cost calculation TeerasetCost calculation Teeraset
Cost calculation Teeraset
 
It&communication_teeraset
It&communication_teerasetIt&communication_teeraset
It&communication_teeraset
 
Financial Management for NEC
Financial Management for NECFinancial Management for NEC
Financial Management for NEC
 

12 businessfinance v1

  • 2. ความลมเหลวของธุรกิจ ิ ความล ม เหลวทางธุ ร กิ จ มิ ไ ด เ กิ ด เนื่ อ งจากตั ว ธุ ร กิ จ เอง เทานน แตอาจเกดจากธุรกจอนทเกยวของ เชนผู ดหาหรือขาย เทานั้น แตอาจเกิดจากธรกิจอื่นที่เกี่ยวของ เชนผจัดหาหรอขาย วั ต ถุ ดิ บ ให กั บ กิ จ การหรื อ ลู ก ค า ของกิ จ การเองประสบความ ลมเหลวจนไมสามารถจายชําระหนี้สินใ กิจการได ไ   ํ ี ให ไ All rights reserved www.Thailandaccount.com 2
  • 3. ความลมเหลวทางธุรกิจคืออะไร ความลมเหลวทางธุรกิิจเกิิดขึ้ึนเมืื่อธุรกิิจกาวมาถึึงจุด (ปกติคือจุดที่ไมสามารถชําระหนี้ได) ซึ่งไมสามารถดําเนินธุรกิจ ตอไปไดโดยปราศจากปญหา ปญหาเหลานี้เปนปญหาที่กิจการ ุ ไม ส ามารถหาทางแก ไ ขได และยิ่ ง ดํ า เนิ น ธรกิ จ ต อ ไปก็ ยิ่ ง มี ปญหามากขึ้นเรื่อย ๆ ที่จุดนี้มีความสําคัญอยางยิ่งที่จะยอมรับ ความลมเหลวตงแตตนหรอจะพบกบปญหาดานการเงนและ ความลมเหลวตั้งแตตนหรือจะพบกับปญหาดานการเงินและ กฎหมายเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆถาหากยังดึงดันที่จะดําเนินธุรกิจตอไป All rights reserved www.Thailandaccount.com 3
  • 4. ตนเหตุของความลมเหลวทางธุรกิจ สาเหตุของความลมเหลวทางธุรกิิจป ประกอบดวย 1. ป จ จั ย ทางเศรษฐกิ จ ซึ่ ง ประกอบด ว ยความอ อ นแอของ ฐ อุตสาหกรรมและสถานที่ตั้งธุรกิจไมเหมาะสมหรือไมถูกตอง 2. ปจจััยทางการเงิิน ซึ่ึงรวมทัั้งการมีีหนี้ีสินมากเกิินไปแตมีทุนนอย ไป หรือไมเพียงพอ 3. การขาดการเอาใจใส ภัยธรรมชาติ และการทุจริต 4. ปจจยอน 4 ปจจัยอื่น ๆ All rights reserved www.Thailandaccount.com 4
  • 5. สิ่งที่กิจการตองเผชิญเมื่อมีหนี้สินลนพนตัว (Financial distress) 1. 1 การทกจการไมสามารถชาระหนไดตามกาหนดเปนการชวคราวหรอเปนเหตุจากมูลคาสนคา ี่ ิ ไ  ํ ไ ี้ ํ ป ั่ ื ป  ิ ดอยกวาหนี้สนที่เปนภาระผูกพัน ิ 2. ถาปญหาดงกลาวเปนเพยงชวครงชวคราวการทาความตกลงกบเจาหนอาจขยายเวลา ถาปญหาดังกลาวเปนเพียงชั่วครั้งชัวคราวการทําความตกลงกับเจาหนีอาจขยายเวลา ่ ้ เพื่อใหปญหาผอนคลายได อยางไรก็ตามถามูลคาของสินทรัพยถาวรตกต่ํามากๆและกิจการ เกิดการขาดทุน ใครจะเปนผูรับภาระขาดทุนและใครจะเปนผูไดรับมูลคาที่ยังเหลืออยู 3. กิจการควรจะหยุดดําเนินการหรือดําเนินการตอไป กลาวคือเปนการดีหรือไมทจะดําเนิน ี่ กิจการตอไปหรือหยุดกิจการและขายสินทรัพยออกไปใหหมด 4. 4 ควรทกจการจะไดรบความคุ ครองจากศาลภายใตพระราชบญญตลมละลายหรอใชวธอนท ควรที่กิจการจะไดรับความคมครองจากศาลภายใตพระราชบัญญัติลมละลายหรือใชวิธีอื่นที่ ไมเปนทางการเพื่อฟนฟูกิจการ 5. 5 ใครจะเปนผู วบคมกิจการเมื่อมีการเลิกกิจการหรือฟนฟกิจการ ควรทจะใหผู ริหารชดเดิม ใครจะเปนผควบคุมกจการเมอมการเลกกจการหรอฟนฟูกจการ ควรทีจะใหผบรหารชุดเดม ่ รักษาการตอไปหรือจะใหผพิทักษทรัพย (Trustee) เขามาดูแลกิจการแทน ู All rights reserved www.Thailandaccount.com 5
  • 6. การแกไขปญหาอยางไมเปนทางการ • Workout ื W k t คอ การตกลงกนดวยความสมครใจระหวางเจาหนและลูกหนี้ และเจาหนยนยอมใหกจการ ั  ส ั ใ   ี้  ี้ ิ ใ ิ สามารถดําเนินธุรกิจตอไปได โดยมีการปรับปรุงฐานะทางการเงินใหกลับมามั่นคงอีกครัง ้ • Restructuring คือ การปรับโครงสรางหนี้ใหม เชน การเปลียนหนีบางรายการระยะสันเปนระยะยาว ่ ้ ้ หรือเปลี่ยนหนี้เปนทุน • Extension คือ การยืดเวลาการชะระหนี้ หมายถึง เจาหนียอมขยายกําหนดเวลาการชําระหนีออกไป ้ ้ สาหรบยอดหนทคางชาระหนเตมจานวนอยู ละเปนไปไดทเจาหนอาจใหเงนกู ํานวนหนึ่งแกลกหน สําหรับยอดหนีทคางชําระหนี้เต็มจํานวนอยและเปนไปไดที่เจาหนีอาจใหเงินกจานวนหนงแกลูกหนี้ ้ ี่ ้ เพื่อชําระหนีการคาในชวงเวลาที่ขยายการชําระหนีดวย ้ ้ • Composition คือ การประนอมหนี้ หมายถึง การที่เจาหนียนยอมลดจํานวนหนีสนลง จํานวนหนีที่ ้ิ ้ ิ ้ ยอมลดใหจะมากนอยแคไหนขันอยูกับการตอรองระหวางเจาหนีแมบางครั้งการชําระหนี้ไมสูงแตถอ ้  ้ ื วาดีกวาไปฟองรอง ซึ่งจะมีคาใชจายทางศาลและเปนการรักษาชือเสียงของเจาหนี้ รวมทังกิจการของ  ่ ้ ลูกหนกไมตองตกเปนการลมละลาย ลกหนีก็ไมตองตกเปนการลมละลาย ้  • Assignment เปนการเลิกกิจการอยางไมเปนทางการโดยลูกหนี้ขอเลิกกิจการกับเจาหนีโดยตรงแลว้ เจาหนียนยอม ้ิ All rights reserved www.Thailandaccount.com 6
  • 7. การเลิกกิจการโดยไมสมัครใจ เกิิดขึึ้นใ ในกรณีีที่บรรดาเจาหนี้และกิิจการที่เปนลูกหนีี้ไมสามารถ ี ี ตกลงกันไดในเรื่องการชําระหนี้สิน จึงจําเปนตองนําเรื่องขึ้นสูศาลให เปนคนกลางในการพิจารณา All rights reserved www.Thailandaccount.com 7
  • 8. ลมละลาย ลมละลายคืือการทีี่ลูกหนีี้ที่มีหนี้ีสินลนพนตััวและไมสามารถชํําระ  ไ หนี้ไดตาม พ.ร.บ. ลมละลาย เมื่อศาลไดมีคําสั่งพิทักษทรัพยของลูกหนี้ เด็ดขาดแลวและเจาพนักงานพิทักษทรัพยรายงานวา เจาหนี้ไดลงมติใน การประชมเจาหนี้ครั้งแรกหรือในคราวที่ไดเลื่อนไป ขอใหศาลพิจารณา ุ ใหลูกหนี้ลมละลายก็ดีหรือไมลงมติประการใดก็ดีหรือไมมีเจาหนี้ไป ประชุมกด หรอการประนอมหนไมไดรบความเหนชอบกด ใหศาล ประชมก็ดี หรือการประนอมหนี้ไมไดรับความเห็นชอบก็ดี ใหศาล พิพากษาใหลูกหนี้ลมละลายและเจาพนักงานพิทักษทรัพยมีอํานาจ จััดการทรััพยสินของบุคคลลมละลาย เพืื่อแบงแกเจาหนี้ทั้งหลาย    ี All rights reserved www.Thailandaccount.com 8
  • 9. สรุปลักษณะสําคัญของกฎหมายลมละลาย หััวขอ คดีีลมละลาย 1. จํานวนหนี้ขนต่ํา ั้ ฟองบุคคลธรรมดาไมนอยกวา 1,000,000 บาท ฟอง นิติบุคคลไมนอยกวา 2,000,000 บาท 2. จุดประสงคในการฟองคดี ฟองเพื่อเขาจัดการทรัพยสินของลูกหนี้เพื่อชําระหนี้แก เจาหนีทงหลาย ี้ ั้ 3. ความรวดเร็วในการพิจารณา มีขนตอนในการดําเนินคดีรวบรัดและเนนความรวดเร็ว ั้ เปนสาคญ ป สํ ั 4. คาใชจายในการดําเนินคดี คาขึ้นศาลถูกกวาคดีแพงสามัญมาก 5. การยืื่นคํําใหการ ใ  ลูกหนีจะยืื่น หรืือ ไ ยื่นคํําใหการก็็ได ไ มีราย ี้ ไม ใ ไม แกลูกหนี้ All rights reserved www.Thailandaccount.com 9
  • 10. สรุปลักษณะสําคัญของกฎหมายลมละลาย หััวขอ คดีีลมละลาย 6. การอยูในอํานาจศาล หลังจากศาลรับฟอง ลูกหนนี้จะตองอยูใน อํํานาจศาล 7. การถอนฟอง ถอนไดตอเมือศาลอนุญาตเทานั้น  ่ 8. การจําหนายคดี กรณีคําสั่งพิทักษทรัพยชั่วคราวแลว ถาศาลจะ สั่ง จําหนายคดี ตองมีการโฆษณา ลวงหนาไม นอยกวา 7 วัน 9. การชั่งน้ําหนักพยานหลักฐาน พิจารณาพยาน เจาหนี้ผูเปนโจทยกอน ถาฟง ไม ไ ได ศาลยกฟองไดเลย แตฟงไ  จึึงฟงพยาน ฟ ไ ฟ ได ลูกหนี้ วาสามารถชําระหนี้ไดหรือไม All rights reserved www.Thailandaccount.com 10
  • 11. การยื่นฟองคดีลมละลาย  การยืื่นฟองคดีีลมละลาย (เฉพาะในระหวางที่ีศาลลมละลายภาค ใ ยังไมเปดทําการ) ใหยื่นตอศาลชั้นตนที่ลูกหนี้ที่ภูมิลําเนา อยูในเขตศาล หรื อ ประกอบธุ ร กิ จ อยู ใ นเขตศาลต น นั้ น ต อ งส ง คํ า ร อ งต อ ไปยั ง ศาล ลมละลาย เมื่อศาลลมละลายรับฟองแลว ก็จะออกไปทําการไตสวน นั่ง พิจ ารณา และพิ พ ากษาคดี ณ ศาลจั ง หวั ด ดั ง กล า ว ที นี้ วิ ธี พิ จ ารณา ตามลาดบ กเรมดวยการตรวจคาฟองซงกใชหลกกฎหมายการตรวจคา ตามลําดับ ก็เริ่มดวยการตรวจคําฟองซึ่งก็ใชหลักกฎหมายการตรวจคํา คูความในคดีแพงสามัญ หลังจากรับฟองแลวจะสงหมายเรียกและ สํําเนาคํําฟองใหลูกหนี้ีเพืื่อทราบ (เพืื่อทราบไมใชเพืื่อแกคดีี) ดัังนัั้นใ ใ ไ ใน คดีลมละลายจําเลยหรือลูกหนี้ไมจําตองยื่นคําใหการก็ได All rights reserved www.Thailandaccount.com 11
  • 12. การฟนฟูกิจการ (Reorganization) ตามพระราชบััญญััติลมละลาย ( ับที่ี 4) พ.ศ. 2541 ละพระราชบััญญััติ (ฉบั ) ล ม ละลาย (ฉบั บ ที่ 5) พ.ศ. 2542 ซึ่ ง เป น การแก ไ ขเพิ่ ม เติ ม พระราชบั ญ ญั ติ ลมละลาย พุทธศกราช ลมละลาย พทธศักราช 2483 ไดมีขอกําหนดเกี่ยวกับการฟนฟกิจการของลูกหน้ ก็ ไดมขอกาหนดเกยวกบการฟนฟูกจการของลกหนี ก เนื่องจากบทบัญญัติบางมาตราของพระราชบัญญัติลมละลาย พุทธศักราช 2483 ไมเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปจจบัน โดยเฉพาะเมื่อลกหนี้ที่เปน ฐ ุ ู นิ ติ บุ ค คลประสบป ญ หาสภาพคล อ งทางการเงิ น ชั่ ว คราวอั น ควรได รั บ ความ ชวยเหลือทางการเงินจากผูประสงคจะใหความชวยเหลือทางการเงินแกลูกหนี้ เพื่อใหลูกหนี้มีโอกาสฟนฟูกิจการ แตเนื่องจากมาตรา 94 (2) แหงพระราชบัญญัติ ลมละลาย พุทธศักราช 2483 ไดกําหนดวา ในกรณีที่เจาหนี้ยินยอมใหลูกหนี้กอ หนีี้ขึ้นโ อยูแลววาลูกหนีี้มีหนีี้สินลนพนตััว เจาหนี้ีดังกลาวจะไมมีสิทธิิขอรัับ โดยรู ไ ชําระหนี้ในคดีลมละลาย  All rights reserved www.Thailandaccount.com 12
  • 13. การฟนฟูกิจการ (Reorganization) ขอบััญญััติน้ีทําใหไมมีสถาบัันการเงิินหรืือเอกชนรายใดยิินยอมให ใ ใ ใ ความชวยเหลือทางการเงินแกลูกหนี้ที่ประสบปญหาสภาพคลองทาง การเงินชั่วคราว ลูกหนี้จึงตองตกเปนบุคคลลมละลายทั้งๆที่กิจการของ ลกหนี้ อ ยู ใ นสภาพฟ น ฟได ห ากได รั บ ความช ว ยเหลื อ ทางการเงิ น แก ู ู ลู ก หนี้ เ พื่ อ ให มี โ อกาสฟ น ฟู กิ จ การซึ่ ง จะช ว ยให เ จ า หนี้ ไ ม มี ป ระกั น มี โอกาสไดรบชาระหนอยางเปนธรรม ซงจะเปนการชวยสงเสรมเศรษฐกจ โอกาสไดรับชําระหนี้อยางเปนธรรม ซึ่งจะเปนการชวยสงเสริมเศรษฐกิจ ของประเทศตอไป All rights reserved www.Thailandaccount.com 13
  • 14. ลักษณะของลูกหนี้ที่สามารถขอฟนฟูกิจการ • เป น บริิ ษั ท จํํ า กัั ด บริิ ษั ท มหาชนจํํ า กัั ด หรืื อ นิิ ติ บุ ค คลอื่ื น ทีี่ ก ฎหมาย ป กําหนด • มีหนี้สนลนพนตัว ิ • เปนหนีี้เจาหนี้ีคนเดีียวหรืือหลายคนรวมกัันเปนจานวนไมนอยกวา 10 ป ป ํ ไ ลานบาท ไมวาหนี้จะถึงกําหนดชําระโดยพลันหรือในอนาคตก็ตาม  • มีเหตุผลสมควรละมีชองทางที่จะฟนฟูกิจการของลูกหนี้ได All rights reserved www.Thailandaccount.com 14
  • 15. ผูมีสิทธิขอใหฟนฟูกิจการลูกหนี้ • เจาหนซงอาจเปนคนเดยวหรอหลายคนรวมกนและมจานวนหนแนนอน  ี้ ึ่ ป ี ื ั ีํ ี้  ไมนอยกวา 10 ลานบาท • ลูกหนี้ซึ่งเขาลักษณะ 4 ขอ ขางตน • หนวยงานของรัฐที่มีอํานาจหนาที่กํากับดูแลการประกอบกิจการลููกหนี้ ู เชน - ธนาคารแหงประเทศไทยในกรณทลูกหนเปนธนาคารพาณชย บรษท  ป ศไ ใ ี ี่ ี้ ป ิช ิ ั เงินทุน บริษัทเงินทุนหลักทรัพย หรือบริษัทเครดิตฟองซิเอร - สานกงานคณะกรรมการกากบหลกทรพยและตลาดหลกทรพยในกรณที่ ํ ั ํ ั ั ั ั ั ี ลูกหนี้เปนบริษทหลักทรัพย ั All rights reserved www.Thailandaccount.com 15
  • 16. ผูมีสิทธิขอใหฟนฟูกิจการลูกหนี้ -กรมการประกัั น ภัั ย ใ ป ในกรณีี ที่ ลู ก หนีี้ เ ป น บริิ ษั ท ป ั น วิิ น าศภัั ย หรืื อ ประกั บริษทประกันชีวิต ั -หนวยงานรัฐอื่นที่มีอํานาจกํากับดูแลการประกอบกิจการของลูกหนี้ที่ เกยวของ เกี่ยวของ All rights reserved www.Thailandaccount.com 16
  • 17. คํารองขอใหฟนฟูกิจการและการตั้งผูทําแทน • ความมีีหนีี้สินลนพนตััวของลูกหนีี้ โ โดยแสดงสิินทรััพยและหนี้ีสินของ ลูกหนี้ • รายชื่อและที่อยูของเจาหนี้คนเดียวหรือหลายคนที่ลูกหนี้อยูรวมกันเปน จานวนไมนอยกวา ลานบาท จํานวนไมนอยกวา 10 ลานบาท • เหตุอันสมควรและชองทางที่จะฟนฟูกิจการ • ชื่อและคุณสมบัติของผูทําแผนฟนฟูกจการ ิ • หนังสือยินยอมของผทาแผนฟนฟูกจการ หนงสอยนยอมของผู ําแผนฟนฟกิจการ All rights reserved www.Thailandaccount.com 17
  • 18. การบริหารกิจการลูกหนี้เมื่อศาลสังใหฟนฟูกิจการ ่  • เมื่อศาลสั่งใหฟนฟูกิจการลูกหนี้แลว อํานาจหนาที่ในการจัดการกิจการ ั  สิ และทรพยสนของผูบรหารของลูกหนสนสุดลง รวมทงสทธทางกฎหมาย ิ ี้สิ้ ส ั้ สิ ิ ของผูถือหุนก็ระงับลง (ยกเวนสิทธิในการรับเงินปนผล) โดยสิทธิในการ บรหารและสทธของผู อหุ จะเปนของผ ริหารคนใหม ไดแก บริหารและสิทธิของผถือหนจะเปนของผูบรหารคนใหม ไดแก - กรณีที่ยังไมมีการตั้งผูทําแทน ผูบริหารชั่วคราวหรือผูพิทักษทรัพยจะ เปนผู ริหารกิจการ โดยผ รหารชวคราวอาจแตงตงจากผู ริหารของ เปนผบรหารกจการ โดยผูบริหารชั่วคราวอาจแตงตั้งจากผบรหารของ ลูกหนี้เองหรือบุคคลอื่นก็ได -กรณทมการตงผูทําแผนแลวใหผูทําแผนเปนผมีอานาจหนาทในการ กรณีที่มีการตั้งผ าแผนแลวใหผ าแผนเปนผู อํานาจหนาที่ในการ จัดการกิจการและทรัพยสินของลูกหนี้ (มาตรา 90/25) All rights reserved www.Thailandaccount.com 18