SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
แนวคิด เกี่ย วกับ วิว ัฒ นาการ
      ของสิ่ง มีช ีว ิต
ทฤษฎีข องลามาร์ก (Lamarck’s
         theory)




   ชองบัป ติส ต์ เดลามาร์ก
(JeanBaptistedeLarmarck) เป็นนัก
ชีววิทยาชาวฝรั่งเศสเป็นบุคคลแรกที่ได้วาง
รากฐานทางวิวัฒนาการขึ้นและได้ตั้งทฤษฎีขึ้น
ทฤษฎีข องลามาร์ก ประกอบด้ว ย

   1. สิงมีชีวิตและส่วนต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตมีความโน้ม
        ่
   เอียงที่จะมีขนาดเพิมขึ้น
                      ่
   2. การเกิดอวัยวะใหม่มีผลมาจากความต้องการ
   ใหม่ในการดำารงชีวิต
    




รูป เปรียบลักษณะเท้าของนกทีหากินบนบกและในนำ้า
                           ่
 
    3. อวัยวะใดที่ถูกใช้อยู่เสมอ มีความโน้ม
เอียงที่จะมีการเจริญและมีขนาดเพิ่มขึ้น อวัยวะ
ใดไม่ค่อยได้ใช้จะเสือมหายไป ซึ่งพัฒนาไป
                     ่
เป็นกฎการใช้และไม่ใช้ (Law of Use and
Disuse)
   4. การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทั้ง 3
ประการข้างต้น สามารถถ่ายทอดไปสู่ลูกหลาน
ได้ เรียกว่า กฎแห่งการถ่ายทอดลักษณะที่เกิด
ขึ้นใหม่(Law of Inheritance of Acquired
Characteristics) อันเป็นผลให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะมากขึ้นตามระยะ
เวลา
ตัวอย่างเช่น
  ลัก ษณะคอยาวของยีร าฟ
      ยีราฟในอดีตนั้นคอสันกว่าปัจจุบน ยีราฟ
                         ้             ั
  ต้องยืดคอขึ้นกินยอดไม้ที่อยู่สูง ๆ เมื่อเป็นเช่นนี้
  นาน ๆ จึงทำาให้ลูกหลานยีราฟคอค่อย ๆ ยาว
  ขึ้นและลักษณะดังกล่าวสามารถถ่ายทอด
  ลักษณะไปสูลูกหลานได้
              ่
ทฤษฎีก ารคัด เลือ กโดยธรรมชาติ
         ของดาร์ว ิน

                 ชาร์ลส์ ดาร์วิน เป็นนัก
            ธรรมชาติวิทยาได้เดินทางไป
            กับเรือสำารวจบีเกิลของรัฐบาล
            อังกฤษ ซึ่งเดินทางไปสำารวจ
            และทำาแผนที่ของฝั่งของทะเล
            ทวีปอเมริกาใต้ ดาร์วินได้ตั้ง
            ข้อสังเกตและข้อสงสัย
            มากมายในขณะที่สำารวจ
            ธรรมชาติไปกับเรือหลวงบีเกิล
            เมื่อผ่านหมู่เกาะกาลาปากอส
            เขาได้สังเกตเห็นว่า นกฟินซ์
            (Finch) ที่แพร่กระจายอยู่ตาม
ลัก ษณะที่ส ัง เกตได้จ ากการ
ศึก ษานกฟิน ช์
      นกฟินช์แต่ละพื้นที่จะมี
 ลักษณะของจะงอยปากที่
 แตกต่างกัน ดาร์วินเชื่อว่า
 บรรพบุรุษของนกฟินช์บน
 เกาะกาลาปากอสน่าจะ สืบ
 เชือสายมาจากนกฟินช์บน
    ้
 แผ่นดินใหญ่แต่เนื่องจาก
 การเปลี่ยนแปลงทาง
 ธรณีวิทยา ทำาให้ เกิดการ
 แปรผันทางพันธุกรรม ของ
ทฤษฎีข องดาร์ว ิน และวอลเลช

        ดาร์วิน และวอลเลชได้เสนอทฤษฎีการเกิด
   สปีชส์ใหม่อันเนืองมาจากการคัดเลือกโดย
        ี               ่
   ธรรมชาติ
   ทฤษฎีก ารคัด เลือ กโดยธรรมชาติ (theory
   of natural selection)
       1. สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันย่อมแตกต่างกัน
   บ้างเล็กน้อย เรียกว่า variation
       2. สิ่งมีชีวิตมีลูกหลานจำานวนมากตามลำาดับ
   เรขาคณิต แต่สงมีชีวิตแต่ละชนิดก็มี จำานวน
                     ิ่
        3.สิ่งมีชีวิตจําเป็นต้องมีการต่อสูเพื่อความอยู่
                                          ้
    รอด (struggle of existence) โดยการ
    แปรผันบางลักษณะ ให้เหมาะสมกับสิงแวดล้อม   ่
    และมีการสืบพันธุ์ถ่ายทอด ไปยังลูกหลาน
           4.สิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมที่สดเท่านั้นที่จะอยู่
                                       ุ
    รอด(survival the fittest ) และดํารง เผ่า
    พันธุ์ของตนไว้ ทําให้เกิด การคัดเลือกตาม
    ธรรมชาติส่งผลให้เกิดความแตกต่าง ไปจาก
    สปีชส์เดิมมากขึ้นจนเกิดสปีชส์ใหม่ สิ่งมีชีวิตที่
          ี                         ี
    จะอยู่รอด ไม่จําเป็นต้องเป็น สิ่งมีชวิต ที่แข็ง
                                            ี
    แรงที่สด แต่เป็นสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมกับสภาพ
             ุ
รูป ทฤษฎีการวิวัฒนาการของยีราฟของดาร์วินด้วยวิธี
            การคัดเลือกโดยธรรมชาติ
สรุป ทฤษฎีก ารคัด เลือ กโดยธรรมชาติ
แนวคิด เกี่ย วกับ วิว ัฒ นาการใน
             ปัจ จุบ ัน

    ปัจจุบนการศึกษาเรื่องวิวัฒนาการของสิ่งมี
          ั
ชีวิตจึงได้นําทฤษฎีการคัดเลือกตาม ธรรมชาติ
ของดาร์วินมาผสมผสานกับความรู้วิชาการด้าน
อื่นๆ เช่น บรรพชีวินวิทยา (palaeontology)
อนุกรมวิธาน (taxonomy) พันธุศาสตร์
(genetics) และชีวภูมิศาสตร์
(biogeography) โดยเฉพาะการนําความรู้
ด้าน พันธุศาสตร์ประชากรมาประยุกต์ใช้ในการ
อธิบายวิวัฒนาการยุคใหม่ ทําให้เกิดทฤษฎีที่
ทฤษฎีว ิว ัฒ นาการ สัง เคราะห์


     ทฤษฎี วิวัฒนาการสังเคราะห์จะเน้นถึงความ
สำาคัญของประชากรซึ่งถือเป็นหน่วยสำาคัญของ
วิวัฒนาการ สิงมีชีวิตแต่ละตัวในกลุ่มประชากร
               ่
จะมีความแปรผันแตกต่างกัน การแปรผันทาง
พันธุกรรมใดที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม จะ
ทำาให้สงมีชวิตนั้นสามารถอยู่รอดและสืบพันธุ์
        ิ่  ี
ถ่ายทอดลักษณะดังกล่าวไป สู่ลูกหลานรุ่นต่อไป
ได้ จึงถือได้ว่า
สิ่งแวดล้อมนับเป็นปัจจัยสำาคัญในการคัดเลือก
เอกสารอ้า งอิง

- http://www.thaigoodview.com
- https://sites.google.com/site/biologyroom610
- http://th.wikipedia.org
- http://farmjindasak.blogspot.com/
- http://www.dek-d.com/board/view.php?id=2013432

More Related Content

What's hot

กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการSumalee Khvamsuk
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
Bio is all around us
Bio is all around usBio is all around us
Bio is all around usAlisaYamba
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพLPRU
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพSupaluk Juntap
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศmaleela
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 

What's hot (18)

กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
10 intro-taxonomy
10 intro-taxonomy10 intro-taxonomy
10 intro-taxonomy
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
Bio is all around us
Bio is all around usBio is all around us
Bio is all around us
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 

Similar to วิวัฒนาการ

แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมwijitcom
 
เนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาเนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาDew Thamita
 
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตUnlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตmahachaisomdet
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนnokbiology
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 

Similar to วิวัฒนาการ (20)

แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
Diver i
Diver iDiver i
Diver i
 
เนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาเนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยา
 
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตUnlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
1
11
1
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
Minibook animal
Minibook animalMinibook animal
Minibook animal
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
Onet science
Onet scienceOnet science
Onet science
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 

วิวัฒนาการ

  • 1. แนวคิด เกี่ย วกับ วิว ัฒ นาการ ของสิ่ง มีช ีว ิต
  • 2. ทฤษฎีข องลามาร์ก (Lamarck’s theory) ชองบัป ติส ต์ เดลามาร์ก (JeanBaptistedeLarmarck) เป็นนัก ชีววิทยาชาวฝรั่งเศสเป็นบุคคลแรกที่ได้วาง รากฐานทางวิวัฒนาการขึ้นและได้ตั้งทฤษฎีขึ้น
  • 3. ทฤษฎีข องลามาร์ก ประกอบด้ว ย 1. สิงมีชีวิตและส่วนต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตมีความโน้ม ่ เอียงที่จะมีขนาดเพิมขึ้น ่ 2. การเกิดอวัยวะใหม่มีผลมาจากความต้องการ ใหม่ในการดำารงชีวิต   รูป เปรียบลักษณะเท้าของนกทีหากินบนบกและในนำ้า ่
  • 4.   3. อวัยวะใดที่ถูกใช้อยู่เสมอ มีความโน้ม เอียงที่จะมีการเจริญและมีขนาดเพิ่มขึ้น อวัยวะ ใดไม่ค่อยได้ใช้จะเสือมหายไป ซึ่งพัฒนาไป ่ เป็นกฎการใช้และไม่ใช้ (Law of Use and Disuse)    4. การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทั้ง 3 ประการข้างต้น สามารถถ่ายทอดไปสู่ลูกหลาน ได้ เรียกว่า กฎแห่งการถ่ายทอดลักษณะที่เกิด ขึ้นใหม่(Law of Inheritance of Acquired Characteristics) อันเป็นผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะมากขึ้นตามระยะ เวลา
  • 5. ตัวอย่างเช่น ลัก ษณะคอยาวของยีร าฟ ยีราฟในอดีตนั้นคอสันกว่าปัจจุบน ยีราฟ ้ ั ต้องยืดคอขึ้นกินยอดไม้ที่อยู่สูง ๆ เมื่อเป็นเช่นนี้ นาน ๆ จึงทำาให้ลูกหลานยีราฟคอค่อย ๆ ยาว ขึ้นและลักษณะดังกล่าวสามารถถ่ายทอด ลักษณะไปสูลูกหลานได้ ่
  • 6. ทฤษฎีก ารคัด เลือ กโดยธรรมชาติ ของดาร์ว ิน ชาร์ลส์ ดาร์วิน เป็นนัก ธรรมชาติวิทยาได้เดินทางไป กับเรือสำารวจบีเกิลของรัฐบาล อังกฤษ ซึ่งเดินทางไปสำารวจ และทำาแผนที่ของฝั่งของทะเล ทวีปอเมริกาใต้ ดาร์วินได้ตั้ง ข้อสังเกตและข้อสงสัย มากมายในขณะที่สำารวจ ธรรมชาติไปกับเรือหลวงบีเกิล เมื่อผ่านหมู่เกาะกาลาปากอส เขาได้สังเกตเห็นว่า นกฟินซ์ (Finch) ที่แพร่กระจายอยู่ตาม
  • 7. ลัก ษณะที่ส ัง เกตได้จ ากการ ศึก ษานกฟิน ช์ นกฟินช์แต่ละพื้นที่จะมี ลักษณะของจะงอยปากที่ แตกต่างกัน ดาร์วินเชื่อว่า บรรพบุรุษของนกฟินช์บน เกาะกาลาปากอสน่าจะ สืบ เชือสายมาจากนกฟินช์บน ้ แผ่นดินใหญ่แต่เนื่องจาก การเปลี่ยนแปลงทาง ธรณีวิทยา ทำาให้ เกิดการ แปรผันทางพันธุกรรม ของ
  • 8. ทฤษฎีข องดาร์ว ิน และวอลเลช         ดาร์วิน และวอลเลชได้เสนอทฤษฎีการเกิด สปีชส์ใหม่อันเนืองมาจากการคัดเลือกโดย ี ่ ธรรมชาติ ทฤษฎีก ารคัด เลือ กโดยธรรมชาติ (theory of natural selection) 1. สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันย่อมแตกต่างกัน บ้างเล็กน้อย เรียกว่า variation        2. สิ่งมีชีวิตมีลูกหลานจำานวนมากตามลำาดับ เรขาคณิต แต่สงมีชีวิตแต่ละชนิดก็มี จำานวน ิ่
  • 9.         3.สิ่งมีชีวิตจําเป็นต้องมีการต่อสูเพื่อความอยู่ ้ รอด (struggle of existence) โดยการ แปรผันบางลักษณะ ให้เหมาะสมกับสิงแวดล้อม ่ และมีการสืบพันธุ์ถ่ายทอด ไปยังลูกหลาน            4.สิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมที่สดเท่านั้นที่จะอยู่ ุ รอด(survival the fittest ) และดํารง เผ่า พันธุ์ของตนไว้ ทําให้เกิด การคัดเลือกตาม ธรรมชาติส่งผลให้เกิดความแตกต่าง ไปจาก สปีชส์เดิมมากขึ้นจนเกิดสปีชส์ใหม่ สิ่งมีชีวิตที่ ี ี จะอยู่รอด ไม่จําเป็นต้องเป็น สิ่งมีชวิต ที่แข็ง ี แรงที่สด แต่เป็นสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมกับสภาพ ุ
  • 11. สรุป ทฤษฎีก ารคัด เลือ กโดยธรรมชาติ
  • 12. แนวคิด เกี่ย วกับ วิว ัฒ นาการใน ปัจ จุบ ัน ปัจจุบนการศึกษาเรื่องวิวัฒนาการของสิ่งมี ั ชีวิตจึงได้นําทฤษฎีการคัดเลือกตาม ธรรมชาติ ของดาร์วินมาผสมผสานกับความรู้วิชาการด้าน อื่นๆ เช่น บรรพชีวินวิทยา (palaeontology) อนุกรมวิธาน (taxonomy) พันธุศาสตร์ (genetics) และชีวภูมิศาสตร์ (biogeography) โดยเฉพาะการนําความรู้ ด้าน พันธุศาสตร์ประชากรมาประยุกต์ใช้ในการ อธิบายวิวัฒนาการยุคใหม่ ทําให้เกิดทฤษฎีที่
  • 13. ทฤษฎีว ิว ัฒ นาการ สัง เคราะห์ ทฤษฎี วิวัฒนาการสังเคราะห์จะเน้นถึงความ สำาคัญของประชากรซึ่งถือเป็นหน่วยสำาคัญของ วิวัฒนาการ สิงมีชีวิตแต่ละตัวในกลุ่มประชากร ่ จะมีความแปรผันแตกต่างกัน การแปรผันทาง พันธุกรรมใดที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม จะ ทำาให้สงมีชวิตนั้นสามารถอยู่รอดและสืบพันธุ์ ิ่ ี ถ่ายทอดลักษณะดังกล่าวไป สู่ลูกหลานรุ่นต่อไป ได้ จึงถือได้ว่า สิ่งแวดล้อมนับเป็นปัจจัยสำาคัญในการคัดเลือก
  • 14. เอกสารอ้า งอิง - http://www.thaigoodview.com - https://sites.google.com/site/biologyroom610 - http://th.wikipedia.org - http://farmjindasak.blogspot.com/ - http://www.dek-d.com/board/view.php?id=2013432