SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
Télécharger pour lire hors ligne
การสอนวิทยาศาสตร์
ด้วยโครงงาน
การสอนโครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นรูปแบบหนึ่งของกิจกรรมการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์ มีหลักการและแนวปฏิบัติเช่นเดียวกับกิจกรรมการเรียนการสอน
รูปแบบ การเรียนรู้ด้วยตนเอง การสอนโดยโครงงานจะบรรลุวัตถุประสงค์
ของหลักสูตรได้ครบถ้วนมากที่สุด ทั้งด้าน พุทธพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัย
จากการสารวจพบว่าครูได้นาวิธีการสอนแบบโครงงานไปใช้ค่อนข้างน้อย
ทั้งนี้เพราะครูไม่มีโอกาสได้รับการอบรมการสอนโดยวิธีโครงงาน ดังนั้นครู
จึงไม่มีความรู้ในการเป็นที่ปรึกษาโครงงาน จนบางครั้งอาจทาให้การสอน
ไม่ตรงประเด็นการสอนแบบโครงงาน เช่น ครูแสดงบทบาทมากเกินไป เริ่ม
ตั้งแต่ครูเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะทาเรื่องอะไร ออกแบบว่าจะทาอย่างไร จะแสดง
ผลงานอย่างไร นักเรียนจะมีบทบาทเพียงเป็นผู้ลงมือทาจริงภายใต้การสั่งการ
ของครู ทาให้โครงงานออกมาในลักษณะผลงานฝีมือครู ลายมือนักเรียน แต่
การเรียนรู้โครงงานที่พึงประสงค์ จะต้องเป็นผลงานฝีมือนักเรียน การสอน
โครงงานที่จะได้ผลงานนักเรียนโดยแท้จริง ครูจาเป็นต้องถอยห่างออกมาจาก
บทบาทผู้สอน มาเป็นที่ปรึกษา ผู้สนับสนุนคาถาม ถามนาเก่งๆ ให้ผู้เรียน
อธิบายมากๆ ซึ่งเป็นการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญอย่างแท้จริง (อัญชลี
สิรินทร์วราวงศ์,2543:19 )
การให้ความรู้ความเข้าใจแก่ครูเกี่ยวกับการสอนแบบโครงงาน จึงเป็น
ประเด็นสาคัญที่จะกระตุ้นและส่งเสริมให้ครูมีความมั่นใจ สามารถนาวิธีสอน
แบบโครงงานไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนต่อไป
ข้อดีของการสอนแบบโครงงานวิทยาศาสตร์
 ส่งเสริมความพึงพอใจใฝ่รู้
 พัฒนาเทคนิคกระบวนการแก้ปัญหา
 ส่งเสริมความคิดอิสระ
 ส่งเสริมให้มีความคิดวิจารณญาณอย่างรอบคอบ
 พัฒนาความชื่นชอบในงานด้านวิทยาศาสตร์ทาให้กฎต่างๆ
ทางวิทยาศาสตร์ถูกนาไปใช้และมีความหมายมากขึ้น
 ช่วยพัฒนาศักยภาพแต่ละบุคคลอย่างถึงที่สุด
 เพิ่มความเชื่อมั่นในตนเอง และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
บทบาทของครูที่ปรึกษาโครงงาน
เมื่อนักเรียนสนใจจะทาโครงงานเรื่องหนึ่งเรื่องใด ครูที่ปรึกษา
โครงงานควรปฏิบัติดังนี้
 พิจารณาร่วมกับนักเรียนถึงความเหมาะสมและความเป็น ไปได้
ของเรื่องที่จะศึกษา
 ให้นักเรียนจัดทาเค้าโครงของโครงงานและพิจารณาเสนอแนะ
แนวทางปรับปรุงแก้ไข
 ควบคุมการดาเนินการศึกษาค้นคว้าเท่าที่จาเป็น
 ให้นักเรียนเสนอรายงานภายหลังเมื่อเสร็จสิ้นโครงงาน
 ประเมินผลโครงงานในความสมบูรณ์แบบของแต่ละโครงงานโดย
ไม่นาโครงงานแต่ละชิ้นงานมาเปรียบเทียบกัน
 หาโอกาสจัดแสดงและสาธิตโครงงานของนักเรียน
บทบาทของนักเรียนและครูในการทาโครงงาน
กิจกรรม บทบาทของนักเรียน บทบาทของครู
1. การคิดและเลือก
หัวข้อเรื่องหรือ
ปัญหา
-สัมผัสสถานการณ์ที่เป็น
ปัญหา
- ตระหนักถึงปัญหา
- สนใจที่จะค้นคว้าหาคาตอบ
- อภิปรายและสนทนากับ
อาจารย์/เพื่อน ๆ
- กระตุ้นให้นักเรียนสนใจที่จะ
ทาโครงงาน โดยจัดกิจกรรม
ต่าง ๆ ที่จะช่วยให้นักเรียน
สัมผัสกับ ปัญหา เพื่อที่นักเรียน
จะได้มองเห็นปัญหา
2. การวางแผนใน
การทาโครงงาน
- กาหนดขอบเขต ของ
ปัญหา
- ตั้งวัตถุประสงค์
- ศึกษาเอกสาร
- ตั้งสมมุติฐาน
- ออกแบบการทดลองและ
กาหนดตัวแปร
-ให้คาปรึกษาแก่นักเรียนในการ
วางแผนทาโครงงาน
- ให้ความคิดเห็นในเรื่องความ
เป็นไปได้ของโครงงาน
-ชี้แนะแหล่งความรู้ต่าง ๆ
-ติชมแผนงานในการทา
โครงงานทั้งหมดของนักเรียน
3. การลงมือปฏิบัติ
โครงงาน
- สร้าง/จัดหาเครื่องมือ
- ทดลอง/รวบรวมข้อมูล
- วิเคราะห์ข้อมูลและแปร
ความหมายข้อมูล
- รายงานผลโครงงาน
-อานวยความสะดวกต่างๆ
ให้แก่นักเรียน
- ติดตามการทางานของนักเรียน
ทุกระยะ
-ให้กาลังใจ
-ช่วยแก้ปัญหาต่างๆ เมื่อจาเป็น
-ให้ข้อติชม วิธีวิเคราะห์และ
แปรผลการวิเคราะห์
-จัดหาเวทีให้นักเรียนได้
แสดงผลงาน
ขั้นตอนการสอนการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์
การทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องและมีการ
ดาเนินงานหลายขั้นตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงขั้นสุดท้าย ดังนี้
ขั้นที่ 1 ชื่อโครงงานทันสมัย
ขั้นที่ 2 ใส่ใจกับเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ขั้นที่ 3 เค้าโครงถูกต้องตามหลักการ
ขั้นที่ 4 สุขสาราญกับการปฏิบัติ
ขั้นที่ 5 คมชัดการเขียนรายงาน
ขั้นที่ 6 จัดนิทรรศการเผยแพร่
ขั้นที่ 1 ชื่อโครงงานทันสมัย
ขั้นที่สาคัญที่สุดของการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ คือการคิดหัวข้อเรื่อง
ของโครงงานซึ่งนักเรียนจะต้องคิดและเลือกด้วยตนเอง โดยทั่วไปหัวข้อเรื่อง
มักได้มาจากปัญหา คาถาม หรือความอยากรู้ อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ
ของนักเรียน หัวข้อเรื่องของโครงงาน ควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน บ่งชัด
ว่าจะศึกษาสิ่งใดหรือตัวแปรใดและควรเป็นเรื่องแปลกใหม่ มีแนวการศึกษา
ทดลองที่แปลกใหม่ ซึ่งแสดงถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และนอกจากนั้น
หากคานึงถึงเรื่องที่เป็นประโยชน์ด้วย ก็จะทาให้โครงงานนั้นมีคุณค่ายิ่งขึ้น
และแนวคิดในการเลือกหัวข้อเรื่องเพื่อทาโครงงาน พอสรุปได้ดังนี้
1. จากปัญหาใกล้ตัว
2. ความสงสัย อยากรู้อยากเห็น
3. ปัญหาท้องถิ่น
4. การสังเกต
5. คาบอกเล่า
6. การทดลองเล่น
7. ความรู้ในวิชาวิทยาศาสตร์
8. รวมบทคัดย่อหรือโครงงานอื่นที่มีผู้เคยทาไว้
9. การตั้งคาถามของครู
10. การฝึกตั้งปัญหา
11. การทา Web โครงงาน
12. การอ่านหนังสือต่างๆ เช่น วารสาร หนังสือพิมพ์ บทความ ตารา
13. การฟังคาบรรยายทางวิชาการ ชมรายการโทรทัศน์ ฟังวิทยุ
14. จากการสนทนากับครูอาจารย์ เพื่อนๆ หรือบุคคลอื่นๆ
15. จากการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว
16. จากการเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
อย่างไรก็ตามก่อนที่นักเรียนจะเลือกหัวข้อเรื่องในการทาโครงงานนั้น
บางครั้งจาเป็นต้องมีการกระตุ้นหรือเร้าความสนใจให้นักเรียนมีความอยากทา
โครงงานเสียก่อน เพราะถ้าไม่มีความสนใจแล้ว นักเรียนก็คงไม่สามารถเลือก
เรื่องมาทาโครงงานได้ เทคนิคการกระตุ้นหรือเร้าให้นักเรียนมีความสนใจ
ในการทาโครงงานอาจทาได้ดังนี้
1. หาโอกาสคุยกับนักเรียนบ่อยๆ เกี่ยวกับเรื่องของโครงงาน
วิทยาศาสตร์
2. นาโครงงานวิทยาศาสตร์ที่ง่ายๆ แต่น่าสนใจและมีคุณค่ามาเล่า
ให้นักเรียนฟัง
3. จัดให้นักเรียนที่เคยประสบความสาเร็จในการทาโครงงานมาเล่า
ประสบการณ์ให้ฟัง
4. จัดหาหรือแนะนาเอกสารต่างๆ สาหรับนักเรียนอ่าน
5. พานักเรียนไปชมงานนิทรรศการโครงงานต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์
และไม่ควรให้นักเรียนชมเฉยๆ ควรมอบหมายให้นักเรียนเลือกวิเคราะห์หรือ
วิจารณ์โครงงานที่นักเรียนสนใจ
6. ตั้งคาถามหรือปัญหาให้นักเรียนคิดอยู่เสมอ คาถามต่างๆ ที่จะเป็น
แนวทางสาหรับอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานใช้ถามให้นักเรียนคิดหาคาตอบ
เพื่อที่เขาจะได้วางแผนและดาเนินการทาโครงงานอย่างเหมาะสมเป็นขั้นตอน
เช่น ทาไมนักเรียนจึงคิดทาเรื่องนี้ เรื่องนี้ มีความสาคัญอย่างไร มีผู้อื่นได้ทา
เรื่องในทานองนี้ไว้บ้างหรือไม่ได้ผลอย่างไร เขาได้รายงานปัญหาและ
อุปสรรคในการทาอย่างไรบ้าง ตัวแปรอิสระและตัวแปรตามที่จะศึกษาครั้งนี้
คืออะไร ตัวแปรใดบ้าง ที่จะต้องควบคุม จะออกแบบการทดลองอย่างไร
นักเรียนคิดว่าจะทาการทดลองนี้ที่ไหน เมื่อใด ค่าใช้จ่ายในการทาโครงงานนี้
ประมาณเท่าใด และจะหาค่าใช้จ่ายจากที่ไหน อุปกรณ์เครื่องใช้ ที่จาเป็น
มีอะไรบ้าง จะหาได้จากที่ไหน อุปกรณ์ต้องสร้างเองเพิ่มเติมบ้างหรือไม่
ถ้าจาเป็นต้องสร้างขึ้นเองจะสร้างได้หรือไม่ เมื่อใด การทาโครงงานนี้
มีความปลอดภัย หรือมีความเสี่ยงตรงไหนบ้าง จะป้องกันอย่างไร มีเวลา
เพียงพอที่จะทาโครงงานหรือไม่ การทาโครงงานนี้จะเป็นผลกระทบต่อ
การเรียนภาคปกติหรือไม่ อย่างไร แผนกาหนดเวลาทางานเป็นอย่างไร
จะเริ่มต้นงานในแต่ละขั้นตอนเมื่อใด และคาดว่าจะแล้วเสร็จเมื่อใด เป็นต้น
กล่าวโดยสรุป การตั้งชื่อโครงงานที่ดีควรมีลักษณะดังนี้
1. ตรงกับเรื่อง เมื่ออ่านชื่อเรื่องแล้วสามารถบอกได้ว่าเรื่องนั้นมีลักษณะ
อย่างไร
2. สั้นกะทัดรัด ชื่อโครงงานไม่ควรยาวเกินไป ควรเขียนให้สั้น
กะทัดรัด แต่ต้องได้ใจความตรงกับเรื่อง
3. ไม่ควรเป็นประโยคคาถาม เพราะไม่ใช่คาถาม หรือปัญหา
4. ควรมีลักษณะเร้าความสนใจ แต่ต้องไม่ทาให้ผิดเพี้ยน
ไปจากเนื้อเรื่องของโครงงาน
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
1. ฟันสวยด้วยแก่นข่อย
2. เครื่องกาจัดควันพิษ
3. การเลี้ยงปลาไหลในบ่อ
4. ผมสวยด้วยน้าซาวข้าว
5. ปุ๋ยหมักกับการเจริญเติบโตของต้นพริก
6. เครื่องดักจับแมลงวัน
7. กระดาษรีไซเคิล
8. พฤติกรรมของมดแดง และมดดาที่มีต่อผลไม้รสเปรี้ยวและรสหวาน
9. ปุ๋ยคอกชนิดใดที่ทาให้ต้นพริกเจริญเติบโตได้ดี
10. กระดาษใบเตย
11. เห็ดป่าที่กินได้
12. ชีวิตมดแดง
13. อิฐจากกระดาษ
14. กระดาษสามหาว
15. กาจัดไรไก่ด้วยใบยูคาลิปตัส
16. ชาวนากับการเผาฟางข้าว
17. การดารงชีวิตของแย้
18. การกาจัดแมลงด้วยพริกชี้ฟ้า
19. การกาจัดกลากเกลื้อน ด้วยข่าและเหล้าขาว
20. พลังงานจากถั่ว
21. เชือกกลป้องกันนกกินลูกกุ้งในบ่อเลี้ยง
22. เชือกจากกล้วยน้าว้า
23. เชือกมหัศจรรย์ประหยัดน้า
24. เชื้อเพลิงจากเปลือกมะขาม
25. เชื่อเพลิงทดแทน “ทางเลือกใหม่สู่เศรษฐกิจพอเพียง”
26. เชื้อเพลิงยุคใหม่
27. เชื้อเพลิงอัดแท่งจากดินเยื่อกระดาษ
28. เชื้อเพลิงอุ่นอาหารจากน้ามันที่ใช้แล้วในครัวเรือน
29. เชื้อเพลิงอุ่นอาหารภูมิปัญญาชาวบ้าน
30. แชมพูสมุนไพรกาจัดเหา
31. ซังข้าวโพดทดแทนขี้เลื่อย
32. ซีเมนต์จากผักตบชวา
33. ซีอิ้วขาวจากราข้าว
34. เซลล์ไฟฟ้าจากขยะเปียก
35. เซลล์ไฟฟ้าจากพลังดิน
36. เซลล์สุริยะจากวัสดุเหลือใช้
37. ดองพืชสวยด้วยน้าเกลือ
38. ดับกลิ่นคาวง่ายๆ ด้วยเปลือกผลไม้อบแห้ง
ขั้นที่ 2 ใส่ใจกับเอกสารที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องในที่นี้ยังรวมถึงการขอคาปรึกษาจาก
ผู้ทรงคุณวุฒิและการสารวจวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย
หลังจากที่นักเรียนได้หัวข้อเรื่องที่สนใจจะศึกษาค้นคว้าแล้ว ขั้นตอน
ต่อไปที่อาจารย์ที่ปรึกษาควรแนะนา คือแหล่งที่นักเรียนจะสามารถศึกษา
หาความรู้เพิ่มเติม หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่นักเรียนสามารถขอคาปรึกษาเพื่อศึกษา
หาความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่เขาสนใจ การศึกษาเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องหรือ
ขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒินี้ อาจารย์ที่ปรึกษาต้องแนะนาให้นักเรียนรู้จัก
จดบันทึกไว้ในสมุดเป็นหลักฐานให้เรียบร้อย ผู้ทาโครงงานทุกคนจาเป็นต้อง
มีสมุดบันทึกประจาวัน ซึ่งควรนาไปแสดงในการแสดงโครงงานด้วย
การศึกษาที่เกี่ยวข้อง จะช่วยให้นักเรียนได้แนวความคิดที่จะกาหนด
ขอบข่ายของเรื่องที่จะศึกษาให้เฉพาะเจาะจงมากขึ้น และได้ความรู้ในเรื่อง
ที่จะทาการศึกษาเพิ่มเติมมากขึ้น จนสามารถออกแบบและวางแผนดาเนินการ
ทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม อาจารย์ที่ปรึกษาไม่ควรอนุญาตให้นักเรียน
ลงมือทาโครงงาน โดยไม่ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องเหล่านั้นจากเอกสาร
ที่เกี่ยวข้องอย่างเพียงพอเสียก่อน
อาจารย์ที่ปรึกษาจะต้องแนะนาเทคนิคและวิธีการต่างๆ ในการ
ค้นเอกสารจากห้องสมุด ซึ่งอาจแนะนาให้นักเรียนไปปรึกษา กับบรรณารักษ์
ห้องสมุดก็ได้ นอกจากนั้นอาจารย์ที่ปรึกษาอาจต้อง ให้ความช่วยเหลือใน
การติดต่อห้องสมุดอื่นๆ ในท้องถิ่นให้นักเรียนสามารถเข้าไปใช้บริการได้
ด้วย
ขั้นที่ 3 เค้าโครงถูกต้องตามหลักการ
หลังจากที่นักเรียนได้หัวข้อเรื่องทาโครงงานที่เฉพาะเจาะจง และ
ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องอย่างเพียงพอแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือการเขียนเค้า
โครงเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขอความเห็นชอบก่อนการดาเนินการ
ขั้นต่อไป
เค้าโครงย่อของโครงงานโดยทั่วๆ ไป จะเขียนขั้นตอนเพื่อแสดง
แนวความคิด แผนงานและการทาโครงงานนั้น ซึ่งประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
(สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี,2537:21-22)
1. ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมาย
ตรงและมีความเฉพาะเจาะจงว่าจะศึกษาอะไร
2. ชื่อผู้ทาโครงงาน
3. ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน อธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทา
โครงงานนี้ โครงงานเรื่องนี้มีความสาคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไร
ที่เกี่ยวข้อง เป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้เคยศึกษาค้นคว้าเรื่องทานองนี้ไว้บ้าง
แล้ว ถ้ามีได้ผลเป็นอย่างไร เรื่องที่ทานี้ได้ขยายเพิ่มเติมปรับปรุงจากเรื่องเดิม
อย่างไร หรือเป็นการทาซ้าเพื่อตรวจสอบผล
5. จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า ควรมีความเฉพาะเจาะจง
ที่สามารถบอกขอบเขตของงานที่จะทาให้ชัดเจนขึ้น
6. สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐาน เป็นคาตอบ
หรือคาอธิบายที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียน
สมมติฐานควรมีเหตุผล มีทฤษฎีหรือหลักการทางวิทยาศาสตร์รองรับ และ
ที่สาคัญต้องเป็นข้อความที่สามารถทดสอบได้
7. วิธีการดาเนินงาน
7.1 วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ ระบุว่าวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้
มีอะไรบ้าง จะได้อุปกรณ์เหล่านั้นมาจากไหนอ วัสดุอุปกรณ์อะไรบ้าง
ที่ต้องจัดซื้อ อะไรบ้างที่ต้องจัดทาเอง อะไรบ้างที่ขอยืมได้
7.2 แนวการศึกษาค้นคว้า อธิบายว่าจะออกแบบการทดลองอะไร
อย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้าง เก็บข้อมูลอย่างไรและเมื่อใด
8. แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกาหนดเวลาเริ่มต้นและเวลา
เสร็จสิ้นของการดาเนินงานในแต่ละขั้นตอน
9. งบประมาณที่ใช้ในการทาโครงงาน
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
11. เอกสารอ้างอิง
ขั้นที่ 4 สุขสาราญกับการปฏิบัติ
เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา
แล้วก็เสมือนว่างานของนักเรียนสาเร็จไปแล้วมากกว่าครึ่งหนึ่ง ต่อไปก็เป็น
ขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุไว้ในเค้าโครง ซึ่งควรคานึงถึงเรื่อง
ต่อไปนี้
1. เตรียมวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ให้พร้อมก่อนหรือลงมือ
ทดลอง
2. มีสมุดสาหรับบันทึกกิจกรรมประจาวันว่าได้ทาอะไร ได้ผล
อย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร
3. ปฏิบัติการทดลองด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึก
ข้อมูลไว้ให้เป็นระเบียบและครบถ้วน
4. คานึงถึงความประหยัดและปลอดภัยในการทางาน
5. พยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ตอนแรก แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือ
เพิ่มเติมบ้างหลังจากที่ได้เริ่มต้นทางานไปแล้ว ถ้าคิดว่าจะทาให้ผลงานดีขึ้น
6. ควรปฏิบัติการทดลองซ้าเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้มากขึ้น
7. ควรแบ่งงานเป็นส่วนย่อยๆ และทาแต่ละส่วนให้สาเร็จ
ก่อนทาส่วนอื่นต่อไป
8. ควรทางานส่วนที่เป็นหลักสาคัญๆ ให้เสร็จก่อน แล้วจึงทา
ส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อตกแต่งโครงงาน
9. อย่าทางานต่อเนื่องจนเมื่อยล้า จะทาให้ขาดความระมัดระวัง
10. ถ้าเป็นโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ควรคานึงถึงความคงทน
แข็งแรง และขนาดที่เหมาะสมของสิ่งประดิษฐ์นั้น
ความสาคัญของการทาโครงงานมิได้ขึ้นอยู่กับผลการทดลอง ที่ได้
จะตรงกับความคาดหวังหรือไม่ หากได้กระทาตามขั้นตอน กระบวนการที่
วางไว้ แม้ผลการทดลองจะไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง ก็ถือว่าโครงงานนั้น
มีคุณค่าและมีความสาเร็จในการทาเหมือนกัน ข้อสาคัญคือนักเรียนจะต้องทา
โครงงานจนสาเร็จครบขั้นตอนตามที่ได้วางแผนไว้ อย่าท้อถอยหรือ
เลิกกลางคัน
ขั้นที่ 5 คมชัดการเขียนรายงาน
เมื่อดาเนินการทาโครงงานจนครบขั้นตอน ได้ข้อมูลทาการวิเคราะห์
ข้อมูลพร้อมทั้งแปลผลและสรุปผลแล้ว งานขั้นตอนต่อไปที่ต้องทาก็คือ
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานโครงงาน เป็นการสื่อความหมายที่มี ประสิทธิภาพ วิธี
หนึ่ง เพื่อให้คนอื่นๆ เข้าใจถึงแนวความคิด วิธีการดาเนินการศึกษาค้นคว้า
ข้อมูล ผลที่ได้ตลอดจนข้อสรุปและข้อ เสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น
การเขียนรายงานควรจะใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจง่าย ชัดเจน สั้นๆ
กะทัดรัดและตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ ดังนี้(วิมลศรี สุวรรณ
รัตน์,2547:52-53)
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้ทาโครงงาน
3. ชื่อที่ปรึกษา
4. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน
วัตถุประสงค์ วิธีดาเนินการ ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปต่างๆ อย่างย่อ ประมาณ
300 – 350 คา
5. คาขอบคุณ ส่วนใหญ่โครงงานวิทยาศาสตร์มักจะเป็น
กิจกรรมที่ได้รับความร่วมมือจากหลายฝ่าย ดังนั้น เพื่อเป็นการเสริมสร้าง
บรรยากาศของความร่วมมือ จึงควรได้กล่าวขอบคุณบุคลากรหรือหน่วยงาน
ต่างๆ ที่มีส่วนช่วยให้โครงงานนี้สาเร็จด้วยดี
5. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน อธิบายความสาคัญของ
โครงงาน เหตุผลที่เลือกทาโครงงานนี้ หลักการหรือทฤษฎี
ที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทาเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นเคยศึกษาไว้บ้างแล้ว
ถ้ามีผลเป็นอย่างไร เรื่องที่ทานี้ได้ขยายเพิ่มเติม หรือปรับปรุงจาก
เรื่องที่ผู้อื่นทาไว้อย่างไรบ้าง หรือเป็นการทาซ้าเพื่อตรวจสอบผล
7. จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
8. สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี)
9. วิธีดาเนินการ อาจแบ่งเป็น 2 ข้อย่อย คือ
9.1 วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
9.2 วิธีดาเนินการทดลอง อธิบายขั้นตอนการดาเนินงาน
โดยละเอียด
10. ผลการศึกษาค้นคว้า นาเสนอข้อมูลหรือผลการทดลองต่างๆ
ที่สังเกตรวบรวมได้ รวมทั้งเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย
11. สรุปและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทา
โครงงาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐาน ควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้ สนับสนุนหรือ
คัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้ หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนี้ยังควรกล่าวถึงการนา
ผลการทดลองไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทาโครงงานหรือข้อสังเกต
ที่สาคัญหรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้น จากการทาโครงงานนี้ รวมทั้ง
เสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทานองนี้
ต่อไปในอนาคตด้วย
12. เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารต่างๆ ที่ผู้ทาโครงงานใช้ค้นคว้า
เพื่อศึกษาหาข้อมูลรายละเอียดต่างๆ ที่นามาใช้ประโยชน์ในการทาโครงงานนี้
ที่กล่าวมานี้เป็นรูปแบบหนึ่งของการเขียนรายงานเท่านั้น ซึ่งเป็นการ
เขียนรายงานในลักษณะทั่วๆ ไปรูปแบบดังกล่าวนี้อาจไม่เหมาะสมกับ
โครงงานทุกประเภทก็ได้ ทั้งนี้แล้วแต่ลักษณะของโครงงาน อย่างไรก็ตาม
ไม่ว่าจะเป็นโครงงานประเภทใด สิ่งสาคัญที่สุดที่ผู้เขียนรายงานควรตระหนัก
ไว้อยู่เสมอ ก็คือการเขียนรายงานให้ชัดเจน ใช้ศัพท์เทคนิคที่ถูกต้อง ใช้ภาษา
ที่เข้าใจง่ายและครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ ทั้งหมดของโครงงาน
ขั้นที่ 6 จัดนิทรรศการเผยแพร่
จัดนิทรรศการเผยแพร่ เป็นการนาเสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์
อาจทาได้ในแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงในรูปนิทรรศการ ซึ่งมีทั้งการจัด
แสดงและการอธิบายด้วยคาพูด หรือในรูปแบบของการรายงานปากเปล่า
ไม่ว่าการนาเสนอผลงานจะอยู่ในรูปแบบใด ควรครอบคลุมประเด็นสาคัญคือ
มีความชัดเจน เข้าใจง่ายและมีความถูกต้องในเนื้อหา
การแสดงผลงานจัดได้ว่าเป็นขั้นตอนสาคัญอีกประการหนึ่ง ของการทา
โครงงาน เรียกได้ว่าเป็นงานขั้นสุดท้ายของการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เป็น
การแสดงผลิตผลของงาน ความคิด และความพยายามทั้งหมดที่ผู้ทาโครงงาน
ได้ทุ่มเทลงไป และเป็นวิธีการที่จะทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้นๆ
มีผู้กล่าวว่าการวางแผนออกแบบเพื่อจัดแสดงผลงานนั้นมีความสาคัญเท่าๆ
กับการทาโครงงานนั่นเองผลงานที่ทาขึ้นจะดียอดเยี่ยมเพียงใด แต่ถ้าการจัด
แสดงผลงานทาได้ไม่ดีก็เท่ากับไม่ได้แสดงความดียอดเยี่ยมของผลงานนั่นเอง
ประเด็นสาคัญควรจัดให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์ของโครงงาน การแสดงผล
งานนั้นอาจทาได้หลายรูปแบบ เช่น การแสดงในรูปนิทรรศการ ซึ่งมีทั้งการจัด
แสดงและการอธิบายด้วยคาพูด หรือในรูปแบบของการจัดแสดงโดยไม่มีการ
อธิบายประกอบหรือในรูปแบบของการรายงานปากเปล่า ไม่ว่าการแสดงผล
งานจะอยู่ในรูปแบบใด ควรจัดทาให้ครอบคลุมประเด็นสาคัญดังต่อไปนี้
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้ทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
4. ความเป็นมาและความสาคัญของโครงงาน
5. วิธีดาเนินการ
6. การสาธิตหรือแสดงผลที่ได้จากการทดลอง
7. ผลการสังเกตและข้อมูลเด่นๆ ที่ได้จากการทาโครงงาน
ข้อคานึงถึงในการจัดนิทรรศการโครงงาน
วิทยาศาสตร์
1. ความปลอดภัยของการจัดแสดง
2. ความเหมาะสมกับเนื้อที่ที่จัดแสดง
3. คาอธิบายที่เขียนแสดง ควรเน้นเฉพาะประเด็นสาคัญและ
สิ่งที่น่าสนใจเท่านั้น โดยใช้ข้อความกะทัดรัด ชัดเจน และเข้าใจง่าย
4. ดึงดูดความสนใจของผู้เข้าชม โดยใช้รูปแบบการแสดง
ที่น่าสนใจ ใช้สีที่สดใสเน้นจุดสาคัญหรือใช้วัสดุต่างๆ ในการจัดแสดง
5. ใช้ตาราง และรูปภาพประกอบ โดยจัดวางอย่างเหมาะสม
6. สิ่งที่แสดงทุกอย่างและการเขียนข้อความต้องถูกต้อง ไม่มีการ
สะกดผิด หรืออธิบายหลักการที่ผิด
7. ในกรณีที่เป็นสิ่งประดิษฐ์ สิ่งนั้นควรอยู่ในสภาพที่ทางาน
ได้อย่างสมบูรณ์
ข้อคานึงถึงในการอธิบายหรือรายงานปากเปล่า
1. ต้องทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบายเป็นอย่างดี
2. คานึงถึงความเหมาะสมของภาษาที่ใช้กับระดับผู้ฟัง ควรให้ชัดเจน
และเข้าใจง่าย
3. ควรรายงานอย่างตรงไปตรงมา ไม่อ้อมค้อม
4. พยายามหลีกเลี่ยงการอ่านรายงาน แต่อาจเขียนหัวข้อสาคัญๆ ไว้เพื่อ
ช่วยให้การรายงานเป็นไปตามขั้นตอน
5. อย่าท่องจารายงาน เพราะทาให้ดูไม่เป็นธรรมชาติ
6. ขณะที่รายงาน ควรมองตรงไปยังผู้ฟัง
7. เตรียมตัวตอบคาถามที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ
8. ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา ไม่จาเป็นต้องกล่าวถึงสิ่งที่ไม่ได้ถาม
9. หากติดขัดในการอธิบาย ควรยอมรับโดยดี อย่ากลบเกลื่อนหรือ
หาทางเลี่ยงเป็นอย่างอื่น
10. ควรรายงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด
11. ควรใช้สื่อประเภทโสตทัศนูปกรณ์ประกอบการรายงาน
ด้วย เช่น แผ่นโปร่งใส หรือสไลด์ เป็นต้น
ข้อควรพิจารณาและคานึงถึงในประเด็นต่างๆ ที่กล่าวมาในการ
แสดงผลงานนั้นจะคล้ายคลึงกันในการแสดงผลงานทุกประเภท แต่อาจ
แตกต่างกันในรายละเอียดปลีกย่อยเพียงเล็กน้อย สิ่งสาคัญก็คือพยายามให้การ
แสดงผลงานนั้นดึงดูดความสนใจผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความ
ถูกต้องในเนื้อหา
การทาแผงสาหรับแสดงโครงงานให้ใช้ไม้อัดมีขนาดดังรูป
ความกว้าง 120 cm
60 cm 60 cm
ความสูง 60 cm
ติดบานพับมีห่วงรับและขอสับกับตัวแผ่นกลาง
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(2549:30)
ข้อคานึงในการเขียนแผงโครงงาน
1. ต้องประกอบด้วยชื่อโครงงาน ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ
ที่ปรึกษา คาอธิบายย่อๆ ถึงเหตุจูงใจในการทาโครงงาน ความสาคัญของ
โครงงาน วิธีดาเนินการเลือกเฉพาะขั้นตอนที่สาคัญ ผลที่ได้จากการทดลอง
อาจแสดงเป็นตาราง กราฟ หรือรูปภาพก็ได้ ประโยชน์ของโครงงาน
สรุปผล เอกสารอ้างอิง
2. จัดเนื้อที่ให้เหมาะสม ไม่แน่นจนเกินไปหรือน้อยจนเกินไป
3. คาอธิบายความกะทัดรัดชัดเจน เข้าใจง่าย
4. ใช้สีสดใส เน้นจุดสาคัญ เป็นการดึงดูดความสนใจ
5. อุปกรณ์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ควรอยู่ในสภาพที่ทางานได้
อย่างสมบูรณ์
การประเมินผลโครงงาน
การประเมินผลโครงงาน เป็นการประเมินผลการเรียนการสอนของครู
เพื่อศึกษาผลสาเร็จของงาน ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดในระหว่างการทางาน
และสิ้นสุดการปฏิบัติงาน การประเมินผลจะประเมินตามจุดประสงค์ของการ
ปฏิบัติงาน ซึ่งจะต้องทาอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอและให้ข้อมูลย้อนกลับ
ต่อผู้ปฏิบัติงาน คือการนาผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาต่อไป
ในกรณีที่ครูมอบหมายให้นักเรียนทาโครงงานซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามปกติ และส่งเสริมให้นักเรียนทาตาม
ความสมัครใจ ครูควรประเมินผลของโครงงาน โดยมีวัตถุประสงค์คือ
1. เพื่อเป็นข้อมูลย้อนกลับให้กับนักเรียนได้ปรับปรุง หรือพัฒนางาน
ในโอกาสต่อไป
2. เพื่อคัดเลือกโครงงานที่ดีสมบูรณ์และน่าสนใจไปร่วมแสดง
ในงานต่างๆ หรือการประกวดในระดับต่างๆ ซึ่งในกรณีนี้อาจประเมิน
ในรูปของคณะกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่โรงเรียนเชิญมา
ก็ได้
เกณฑ์การประเมินโครงงาน
ในการประเมินผลการจัดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
มีเกณฑ์ที่ควรพิจารณาให้คะแนนหรือประเมินคุณค่าของโครงงานดังนี้
1. ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะทา
2. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ได้แก่ ความแปลกใหม่ วิธีการศึกษา
ค้นคว้า เครื่องมือหรือวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทาโครงงาน โดยเน้นความ
แปลกใหม่ตามระดับความสามารถของนักเรียน
3. ความถูกต้องและความเหมาะสมของวิธีการศึกษาค้นคว้า ให้
พิจารณาการนาวิธีการ กระบวนการมาใช้ในการจัดทาโครงงาน ได้ถูกต้อง
เหมาะสมเพียงใด
4.การเขียนรายงานโครงงาน พิจารณาถึงความถูกต้องความชัดเจนของ
การสื่อความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจโครงงาน เช่น รูปแบบการเขียน ความถูกต้อง
ครบถ้วนตามหลักการเขียนรายงานโครงงาน เป็นต้น
5.การจัดแสดงโครงงาน พิจารณาความสามารถในการพูดจา อธิบาย
และตอบข้อซักถามต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง คล่องแคล่วและเหมาะสมที่จะช่วย
ให้ผู้ที่ชมโครงงานมีความเข้าใจมากน้อยเพียงใด รวมทั้งความชัดเจน
ความสวยงามและการดึงดูดความสนใจ
ตัวอย่างแบบประเมินการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์
แบบประเมินตนเอง
รายการที่ประเมิน
ผลการประเมิน
5 4 3 2 1
1. โครงงานแสดงให้เห็นถึงความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ หรือมีแนวความคิดแปลกใหม่
2. สมมติฐานหรือปัญหาข้อสงสัยที่ต้องการค้นหา
คาตอบได้แถลงไว้ชัดเจนเพียงใด
3. มีการศึกษาค้นหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงต่างๆ
เพื่อเป็นพื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องที่กาลังศึกษา
เหมาะสมเพียงใด
4. การออกแบบวิธีการศึกษามีความสอดคล้องกับ
ปัญหาหรือสมมติฐานเพียงใด
5. การวัดและการควบคุมตัวแปรต่างๆ กระทาได้
ครบและถูกต้องเพียงใด
6. อุปกรณ์และเครื่องมือที่เลือกใช้ มีความ
เหมาะสมเพียงใด
7. การรวบรวมข้อมูลกระทาได้ละเอียดถูกต้อง
และตรงจุดประสงค์ที่ต้องการศึกษาเพียงใด
8. การบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการทาโครงงาน
กระทาอย่างต่อเนื่องและมีความเป็นระเบียบ
เรียบร้อยเพียงใด
รายการที่ประเมิน
ผลการประเมิน
5 4 3 2 1
9. การจัดกระทาข้อมูลและการนาเสนอข้อมูล
(ตาราง กราฟ รูปภาพ แผนภูมิฯลฯ) ทาได้
เหมาะสมเพียงใด
10. การแปลความหมายและการสรุปผลมีความ
สอดคล้องกับผลการทดลองที่นักเรียนทาได้จริงๆ
มากน้อยเพียงใด
11. มีการศึกษาหรือเก็บข้อมูลมากเพียงพอ
ที่จะทาให้ผลสรุปเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด
12. การเขียนรายงานทาได้อย่างสมบูรณ์
ครอบคลุมหัวข้อที่สาคัญมากน้องเพียงใด
13. การใช้ศัพท์เทคนิคและการสะกดคาถูกต้อง
หรือไม่
14. มีการอ้างอิงเอกสารเพื่อทาให้โครงงาน
น่าเชื่อถือเพียงใด
15. การออกแบบการจัดแสดงงผลงานทาได้
เด่นชัดและน่าสนใจเพียงใด
16. ผู้ทามีความรู้และความเข้าใจในเรื่องที่ทามาก
น้อยเพียงใด
17. การทาโครงงานได้แสดงให้เห็นถึงความทุ่มเท
ความมานะ อดทน และความตั้งใจจริงมากน้อย
เพียงใด
รวม
5 หมายถึง ดียอดเยี่ยม
4 หมายถึง ดีเยี่ยม
3 หมายถึง ดี
2 หมายถึง พอใช้
1 หมายถึง ควรปรับปรุง
การแปลความหมายของคะแนนที่ได้ เป็นดังนี้
75 – 85 ดียอดเยี่ยม
65 – 74 ดีเยี่ยม
50 – 64 ดี
17 – 49 พอใช้
ที่มา : สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี(2537:64-65)
นอกจากนักเรียนประเมินโครงงานของตนเองแล้ว ตามปกติครูผู้สอน
หรือครูที่ปรึกษาจะเป็นผู้ประเมินโครงงาน หรืออาจประเมินโดย
คณะกรรมการของโรงเรียน เพื่อคัดเลือกโครงงานไปแสดงในโอกาสอื่นๆ
ต่อไป ส่วนการประเมินโครงงานเพื่อตัดสินให้ได้รางวัลในวันแสดง
นิทรรศการโครงงาน ส่วนใหญ่จะประเมิน โดยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจาก
บุคคลภายนอกที่ได้รับเชิญ การประเมินผลไม่ว่าจะเพื่อวัตถุประสงค์ใด
มีหลักเกณฑ์ใหญ่ที่คล้ายกัน จะแตกต่างกันไปบ้างในรายละเอียด ดังตัวอย่าง
ต่อไปนี้
ตัวอย่างแบบประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์
ชื่อผู้ทาโครงงาน……………………................................ชั้น/ห้อง..............
……………………............................ชั้น/ห้อง..............
……………………............................ชั้น/ห้อง..............
……………………............................ชั้น/ห้อง..............
……………………...................................ชั้น/ห้อง..............
โรงเรียน..................................................................................................
ชื่อโครงงาน............................................................................................
คะแนนที่ได้....................ชื่อผู้ประเมินโครงงาน.....................................
ให้ O ล้อมรอบคะแนนที่ท่านเห็นว่าเหมาะสมในตารางต่อไปนี้
รายการพิจารณา ดียอดเยี่ยม ดีเยี่ยม ดี พอใช้
ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่ทา 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1
การใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์
ในการทาโครงงานหรือเทคนิค
ต่างๆ ที่ใช้ในการประดิษฐ์
คิดค้น
10 9 8 7 6 5 4 3 2 1
การเขียนรายงาน การจัดแสดง
โครงงาน และการอธิบาย
ปากเปล่า
10 9 8 7 6 5 4 3 2 1
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1
ที่มา : สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี(2537:65)
การที่นักเรียนสามารถทาโครงงานจนสาเร็จและนามาแสดงในงาน ได้ แสดง
ว่านักเรียนได้ใช้สติปัญญา กาลังความสามารถและได้เกิดการเรียนรู้แล้ว
การประเมินผลโครงงานจึงไม่ควรมีคาว่า ตก หรือ ใช้ไม่ได้ หรือ ไม่ผ่าน ทุกโครงงาน
ที่นามาแสดงถือว่าอย่างน้อยอยู่ในเกณฑ์ที่ใช้ได้แล้ว ดังนั้น การแปลความหมาย
ของคะแนนที่ได้ จึงอาจแปลดังนี้
36 – 40 ดียอดเยี่ยม 24 – 35 ดีเยี่ยม
12 – 23 ดี 4 – 11 พอใช้

Contenu connexe

Tendances

ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8 ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8 Fary Love
 
งานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมงานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมsomjit003
 
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8Niraporn Pousiri
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์PeeEllse
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11nilobon66
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมpimporn454
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอrainacid
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...Kobwit Piriyawat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Noonnu Ka-noon
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานSasithorn Horprasong
 
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรการนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรIps UbonFive
 

Tendances (20)

ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8 ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
 
งานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมงานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรม
 
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอม (1)
งานคอม (1)งานคอม (1)
งานคอม (1)
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรการนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
 

En vedette

ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานPermtrakul Khammoon
 
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์Ausa Suradech
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์Ausa Suradech
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์Attapon Phonkamchon
 

En vedette (8)

K15
K15K15
K15
 
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
 
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
 
3เฉลย 31
3เฉลย 313เฉลย 31
3เฉลย 31
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรมตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
 

Similaire à เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน

ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
คอม pdf
คอม pdfคอม pdf
คอม pdfaliceauto
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะPiyamas Songtronge
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2Kubgife Yrc
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)suparada
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1Piyamas Songtronge
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1ohmzariffer
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานfarains
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานannny002
 

Similaire à เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน (20)

ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
คอม pdf
คอม pdfคอม pdf
คอม pdf
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะ
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
K2
K2K2
K2
 
คอม01.doc
คอม01.docคอม01.doc
คอม01.doc
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 

เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน

  • 2. การสอนโครงงานวิทยาศาสตร์ โครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นรูปแบบหนึ่งของกิจกรรมการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์ มีหลักการและแนวปฏิบัติเช่นเดียวกับกิจกรรมการเรียนการสอน รูปแบบ การเรียนรู้ด้วยตนเอง การสอนโดยโครงงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ ของหลักสูตรได้ครบถ้วนมากที่สุด ทั้งด้าน พุทธพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัย จากการสารวจพบว่าครูได้นาวิธีการสอนแบบโครงงานไปใช้ค่อนข้างน้อย ทั้งนี้เพราะครูไม่มีโอกาสได้รับการอบรมการสอนโดยวิธีโครงงาน ดังนั้นครู จึงไม่มีความรู้ในการเป็นที่ปรึกษาโครงงาน จนบางครั้งอาจทาให้การสอน ไม่ตรงประเด็นการสอนแบบโครงงาน เช่น ครูแสดงบทบาทมากเกินไป เริ่ม ตั้งแต่ครูเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะทาเรื่องอะไร ออกแบบว่าจะทาอย่างไร จะแสดง ผลงานอย่างไร นักเรียนจะมีบทบาทเพียงเป็นผู้ลงมือทาจริงภายใต้การสั่งการ ของครู ทาให้โครงงานออกมาในลักษณะผลงานฝีมือครู ลายมือนักเรียน แต่ การเรียนรู้โครงงานที่พึงประสงค์ จะต้องเป็นผลงานฝีมือนักเรียน การสอน โครงงานที่จะได้ผลงานนักเรียนโดยแท้จริง ครูจาเป็นต้องถอยห่างออกมาจาก บทบาทผู้สอน มาเป็นที่ปรึกษา ผู้สนับสนุนคาถาม ถามนาเก่งๆ ให้ผู้เรียน อธิบายมากๆ ซึ่งเป็นการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญอย่างแท้จริง (อัญชลี สิรินทร์วราวงศ์,2543:19 ) การให้ความรู้ความเข้าใจแก่ครูเกี่ยวกับการสอนแบบโครงงาน จึงเป็น ประเด็นสาคัญที่จะกระตุ้นและส่งเสริมให้ครูมีความมั่นใจ สามารถนาวิธีสอน แบบโครงงานไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนต่อไป
  • 3. ข้อดีของการสอนแบบโครงงานวิทยาศาสตร์  ส่งเสริมความพึงพอใจใฝ่รู้  พัฒนาเทคนิคกระบวนการแก้ปัญหา  ส่งเสริมความคิดอิสระ  ส่งเสริมให้มีความคิดวิจารณญาณอย่างรอบคอบ  พัฒนาความชื่นชอบในงานด้านวิทยาศาสตร์ทาให้กฎต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ถูกนาไปใช้และมีความหมายมากขึ้น  ช่วยพัฒนาศักยภาพแต่ละบุคคลอย่างถึงที่สุด  เพิ่มความเชื่อมั่นในตนเอง และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ บทบาทของครูที่ปรึกษาโครงงาน เมื่อนักเรียนสนใจจะทาโครงงานเรื่องหนึ่งเรื่องใด ครูที่ปรึกษา โครงงานควรปฏิบัติดังนี้  พิจารณาร่วมกับนักเรียนถึงความเหมาะสมและความเป็น ไปได้ ของเรื่องที่จะศึกษา  ให้นักเรียนจัดทาเค้าโครงของโครงงานและพิจารณาเสนอแนะ แนวทางปรับปรุงแก้ไข  ควบคุมการดาเนินการศึกษาค้นคว้าเท่าที่จาเป็น  ให้นักเรียนเสนอรายงานภายหลังเมื่อเสร็จสิ้นโครงงาน  ประเมินผลโครงงานในความสมบูรณ์แบบของแต่ละโครงงานโดย ไม่นาโครงงานแต่ละชิ้นงานมาเปรียบเทียบกัน  หาโอกาสจัดแสดงและสาธิตโครงงานของนักเรียน
  • 4. บทบาทของนักเรียนและครูในการทาโครงงาน กิจกรรม บทบาทของนักเรียน บทบาทของครู 1. การคิดและเลือก หัวข้อเรื่องหรือ ปัญหา -สัมผัสสถานการณ์ที่เป็น ปัญหา - ตระหนักถึงปัญหา - สนใจที่จะค้นคว้าหาคาตอบ - อภิปรายและสนทนากับ อาจารย์/เพื่อน ๆ - กระตุ้นให้นักเรียนสนใจที่จะ ทาโครงงาน โดยจัดกิจกรรม ต่าง ๆ ที่จะช่วยให้นักเรียน สัมผัสกับ ปัญหา เพื่อที่นักเรียน จะได้มองเห็นปัญหา 2. การวางแผนใน การทาโครงงาน - กาหนดขอบเขต ของ ปัญหา - ตั้งวัตถุประสงค์ - ศึกษาเอกสาร - ตั้งสมมุติฐาน - ออกแบบการทดลองและ กาหนดตัวแปร -ให้คาปรึกษาแก่นักเรียนในการ วางแผนทาโครงงาน - ให้ความคิดเห็นในเรื่องความ เป็นไปได้ของโครงงาน -ชี้แนะแหล่งความรู้ต่าง ๆ -ติชมแผนงานในการทา โครงงานทั้งหมดของนักเรียน 3. การลงมือปฏิบัติ โครงงาน - สร้าง/จัดหาเครื่องมือ - ทดลอง/รวบรวมข้อมูล - วิเคราะห์ข้อมูลและแปร ความหมายข้อมูล - รายงานผลโครงงาน -อานวยความสะดวกต่างๆ ให้แก่นักเรียน - ติดตามการทางานของนักเรียน ทุกระยะ -ให้กาลังใจ -ช่วยแก้ปัญหาต่างๆ เมื่อจาเป็น -ให้ข้อติชม วิธีวิเคราะห์และ แปรผลการวิเคราะห์ -จัดหาเวทีให้นักเรียนได้ แสดงผลงาน
  • 5. ขั้นตอนการสอนการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ การทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องและมีการ ดาเนินงานหลายขั้นตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงขั้นสุดท้าย ดังนี้ ขั้นที่ 1 ชื่อโครงงานทันสมัย ขั้นที่ 2 ใส่ใจกับเอกสารที่เกี่ยวข้อง ขั้นที่ 3 เค้าโครงถูกต้องตามหลักการ ขั้นที่ 4 สุขสาราญกับการปฏิบัติ ขั้นที่ 5 คมชัดการเขียนรายงาน ขั้นที่ 6 จัดนิทรรศการเผยแพร่ ขั้นที่ 1 ชื่อโครงงานทันสมัย ขั้นที่สาคัญที่สุดของการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ คือการคิดหัวข้อเรื่อง ของโครงงานซึ่งนักเรียนจะต้องคิดและเลือกด้วยตนเอง โดยทั่วไปหัวข้อเรื่อง มักได้มาจากปัญหา คาถาม หรือความอยากรู้ อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของนักเรียน หัวข้อเรื่องของโครงงาน ควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน บ่งชัด ว่าจะศึกษาสิ่งใดหรือตัวแปรใดและควรเป็นเรื่องแปลกใหม่ มีแนวการศึกษา ทดลองที่แปลกใหม่ ซึ่งแสดงถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และนอกจากนั้น หากคานึงถึงเรื่องที่เป็นประโยชน์ด้วย ก็จะทาให้โครงงานนั้นมีคุณค่ายิ่งขึ้น และแนวคิดในการเลือกหัวข้อเรื่องเพื่อทาโครงงาน พอสรุปได้ดังนี้ 1. จากปัญหาใกล้ตัว 2. ความสงสัย อยากรู้อยากเห็น 3. ปัญหาท้องถิ่น 4. การสังเกต 5. คาบอกเล่า
  • 6. 6. การทดลองเล่น 7. ความรู้ในวิชาวิทยาศาสตร์ 8. รวมบทคัดย่อหรือโครงงานอื่นที่มีผู้เคยทาไว้ 9. การตั้งคาถามของครู 10. การฝึกตั้งปัญหา 11. การทา Web โครงงาน 12. การอ่านหนังสือต่างๆ เช่น วารสาร หนังสือพิมพ์ บทความ ตารา 13. การฟังคาบรรยายทางวิชาการ ชมรายการโทรทัศน์ ฟังวิทยุ 14. จากการสนทนากับครูอาจารย์ เพื่อนๆ หรือบุคคลอื่นๆ 15. จากการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว 16. จากการเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ อย่างไรก็ตามก่อนที่นักเรียนจะเลือกหัวข้อเรื่องในการทาโครงงานนั้น บางครั้งจาเป็นต้องมีการกระตุ้นหรือเร้าความสนใจให้นักเรียนมีความอยากทา โครงงานเสียก่อน เพราะถ้าไม่มีความสนใจแล้ว นักเรียนก็คงไม่สามารถเลือก เรื่องมาทาโครงงานได้ เทคนิคการกระตุ้นหรือเร้าให้นักเรียนมีความสนใจ ในการทาโครงงานอาจทาได้ดังนี้ 1. หาโอกาสคุยกับนักเรียนบ่อยๆ เกี่ยวกับเรื่องของโครงงาน วิทยาศาสตร์ 2. นาโครงงานวิทยาศาสตร์ที่ง่ายๆ แต่น่าสนใจและมีคุณค่ามาเล่า ให้นักเรียนฟัง 3. จัดให้นักเรียนที่เคยประสบความสาเร็จในการทาโครงงานมาเล่า ประสบการณ์ให้ฟัง 4. จัดหาหรือแนะนาเอกสารต่างๆ สาหรับนักเรียนอ่าน
  • 7. 5. พานักเรียนไปชมงานนิทรรศการโครงงานต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ และไม่ควรให้นักเรียนชมเฉยๆ ควรมอบหมายให้นักเรียนเลือกวิเคราะห์หรือ วิจารณ์โครงงานที่นักเรียนสนใจ 6. ตั้งคาถามหรือปัญหาให้นักเรียนคิดอยู่เสมอ คาถามต่างๆ ที่จะเป็น แนวทางสาหรับอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานใช้ถามให้นักเรียนคิดหาคาตอบ เพื่อที่เขาจะได้วางแผนและดาเนินการทาโครงงานอย่างเหมาะสมเป็นขั้นตอน เช่น ทาไมนักเรียนจึงคิดทาเรื่องนี้ เรื่องนี้ มีความสาคัญอย่างไร มีผู้อื่นได้ทา เรื่องในทานองนี้ไว้บ้างหรือไม่ได้ผลอย่างไร เขาได้รายงานปัญหาและ อุปสรรคในการทาอย่างไรบ้าง ตัวแปรอิสระและตัวแปรตามที่จะศึกษาครั้งนี้ คืออะไร ตัวแปรใดบ้าง ที่จะต้องควบคุม จะออกแบบการทดลองอย่างไร นักเรียนคิดว่าจะทาการทดลองนี้ที่ไหน เมื่อใด ค่าใช้จ่ายในการทาโครงงานนี้ ประมาณเท่าใด และจะหาค่าใช้จ่ายจากที่ไหน อุปกรณ์เครื่องใช้ ที่จาเป็น มีอะไรบ้าง จะหาได้จากที่ไหน อุปกรณ์ต้องสร้างเองเพิ่มเติมบ้างหรือไม่ ถ้าจาเป็นต้องสร้างขึ้นเองจะสร้างได้หรือไม่ เมื่อใด การทาโครงงานนี้ มีความปลอดภัย หรือมีความเสี่ยงตรงไหนบ้าง จะป้องกันอย่างไร มีเวลา เพียงพอที่จะทาโครงงานหรือไม่ การทาโครงงานนี้จะเป็นผลกระทบต่อ การเรียนภาคปกติหรือไม่ อย่างไร แผนกาหนดเวลาทางานเป็นอย่างไร จะเริ่มต้นงานในแต่ละขั้นตอนเมื่อใด และคาดว่าจะแล้วเสร็จเมื่อใด เป็นต้น กล่าวโดยสรุป การตั้งชื่อโครงงานที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ 1. ตรงกับเรื่อง เมื่ออ่านชื่อเรื่องแล้วสามารถบอกได้ว่าเรื่องนั้นมีลักษณะ อย่างไร 2. สั้นกะทัดรัด ชื่อโครงงานไม่ควรยาวเกินไป ควรเขียนให้สั้น กะทัดรัด แต่ต้องได้ใจความตรงกับเรื่อง 3. ไม่ควรเป็นประโยคคาถาม เพราะไม่ใช่คาถาม หรือปัญหา 4. ควรมีลักษณะเร้าความสนใจ แต่ต้องไม่ทาให้ผิดเพี้ยน ไปจากเนื้อเรื่องของโครงงาน
  • 8. ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ 1. ฟันสวยด้วยแก่นข่อย 2. เครื่องกาจัดควันพิษ 3. การเลี้ยงปลาไหลในบ่อ 4. ผมสวยด้วยน้าซาวข้าว 5. ปุ๋ยหมักกับการเจริญเติบโตของต้นพริก 6. เครื่องดักจับแมลงวัน 7. กระดาษรีไซเคิล 8. พฤติกรรมของมดแดง และมดดาที่มีต่อผลไม้รสเปรี้ยวและรสหวาน 9. ปุ๋ยคอกชนิดใดที่ทาให้ต้นพริกเจริญเติบโตได้ดี 10. กระดาษใบเตย 11. เห็ดป่าที่กินได้ 12. ชีวิตมดแดง 13. อิฐจากกระดาษ 14. กระดาษสามหาว 15. กาจัดไรไก่ด้วยใบยูคาลิปตัส 16. ชาวนากับการเผาฟางข้าว 17. การดารงชีวิตของแย้ 18. การกาจัดแมลงด้วยพริกชี้ฟ้า 19. การกาจัดกลากเกลื้อน ด้วยข่าและเหล้าขาว 20. พลังงานจากถั่ว 21. เชือกกลป้องกันนกกินลูกกุ้งในบ่อเลี้ยง 22. เชือกจากกล้วยน้าว้า 23. เชือกมหัศจรรย์ประหยัดน้า
  • 9. 24. เชื้อเพลิงจากเปลือกมะขาม 25. เชื่อเพลิงทดแทน “ทางเลือกใหม่สู่เศรษฐกิจพอเพียง” 26. เชื้อเพลิงยุคใหม่ 27. เชื้อเพลิงอัดแท่งจากดินเยื่อกระดาษ 28. เชื้อเพลิงอุ่นอาหารจากน้ามันที่ใช้แล้วในครัวเรือน 29. เชื้อเพลิงอุ่นอาหารภูมิปัญญาชาวบ้าน 30. แชมพูสมุนไพรกาจัดเหา 31. ซังข้าวโพดทดแทนขี้เลื่อย 32. ซีเมนต์จากผักตบชวา 33. ซีอิ้วขาวจากราข้าว 34. เซลล์ไฟฟ้าจากขยะเปียก 35. เซลล์ไฟฟ้าจากพลังดิน 36. เซลล์สุริยะจากวัสดุเหลือใช้ 37. ดองพืชสวยด้วยน้าเกลือ 38. ดับกลิ่นคาวง่ายๆ ด้วยเปลือกผลไม้อบแห้ง
  • 10. ขั้นที่ 2 ใส่ใจกับเอกสารที่เกี่ยวข้อง การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องในที่นี้ยังรวมถึงการขอคาปรึกษาจาก ผู้ทรงคุณวุฒิและการสารวจวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย หลังจากที่นักเรียนได้หัวข้อเรื่องที่สนใจจะศึกษาค้นคว้าแล้ว ขั้นตอน ต่อไปที่อาจารย์ที่ปรึกษาควรแนะนา คือแหล่งที่นักเรียนจะสามารถศึกษา หาความรู้เพิ่มเติม หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่นักเรียนสามารถขอคาปรึกษาเพื่อศึกษา หาความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่เขาสนใจ การศึกษาเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องหรือ ขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒินี้ อาจารย์ที่ปรึกษาต้องแนะนาให้นักเรียนรู้จัก จดบันทึกไว้ในสมุดเป็นหลักฐานให้เรียบร้อย ผู้ทาโครงงานทุกคนจาเป็นต้อง มีสมุดบันทึกประจาวัน ซึ่งควรนาไปแสดงในการแสดงโครงงานด้วย การศึกษาที่เกี่ยวข้อง จะช่วยให้นักเรียนได้แนวความคิดที่จะกาหนด ขอบข่ายของเรื่องที่จะศึกษาให้เฉพาะเจาะจงมากขึ้น และได้ความรู้ในเรื่อง ที่จะทาการศึกษาเพิ่มเติมมากขึ้น จนสามารถออกแบบและวางแผนดาเนินการ ทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม อาจารย์ที่ปรึกษาไม่ควรอนุญาตให้นักเรียน ลงมือทาโครงงาน โดยไม่ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องเหล่านั้นจากเอกสาร ที่เกี่ยวข้องอย่างเพียงพอเสียก่อน อาจารย์ที่ปรึกษาจะต้องแนะนาเทคนิคและวิธีการต่างๆ ในการ ค้นเอกสารจากห้องสมุด ซึ่งอาจแนะนาให้นักเรียนไปปรึกษา กับบรรณารักษ์ ห้องสมุดก็ได้ นอกจากนั้นอาจารย์ที่ปรึกษาอาจต้อง ให้ความช่วยเหลือใน การติดต่อห้องสมุดอื่นๆ ในท้องถิ่นให้นักเรียนสามารถเข้าไปใช้บริการได้ ด้วย
  • 11. ขั้นที่ 3 เค้าโครงถูกต้องตามหลักการ หลังจากที่นักเรียนได้หัวข้อเรื่องทาโครงงานที่เฉพาะเจาะจง และ ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องอย่างเพียงพอแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือการเขียนเค้า โครงเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขอความเห็นชอบก่อนการดาเนินการ ขั้นต่อไป เค้าโครงย่อของโครงงานโดยทั่วๆ ไป จะเขียนขั้นตอนเพื่อแสดง แนวความคิด แผนงานและการทาโครงงานนั้น ซึ่งประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ (สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี,2537:21-22) 1. ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมาย ตรงและมีความเฉพาะเจาะจงว่าจะศึกษาอะไร 2. ชื่อผู้ทาโครงงาน 3. ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน 4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน อธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทา โครงงานนี้ โครงงานเรื่องนี้มีความสาคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไร ที่เกี่ยวข้อง เป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้เคยศึกษาค้นคว้าเรื่องทานองนี้ไว้บ้าง แล้ว ถ้ามีได้ผลเป็นอย่างไร เรื่องที่ทานี้ได้ขยายเพิ่มเติมปรับปรุงจากเรื่องเดิม อย่างไร หรือเป็นการทาซ้าเพื่อตรวจสอบผล 5. จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า ควรมีความเฉพาะเจาะจง ที่สามารถบอกขอบเขตของงานที่จะทาให้ชัดเจนขึ้น 6. สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐาน เป็นคาตอบ หรือคาอธิบายที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียน สมมติฐานควรมีเหตุผล มีทฤษฎีหรือหลักการทางวิทยาศาสตร์รองรับ และ ที่สาคัญต้องเป็นข้อความที่สามารถทดสอบได้
  • 12. 7. วิธีการดาเนินงาน 7.1 วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ ระบุว่าวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ มีอะไรบ้าง จะได้อุปกรณ์เหล่านั้นมาจากไหนอ วัสดุอุปกรณ์อะไรบ้าง ที่ต้องจัดซื้อ อะไรบ้างที่ต้องจัดทาเอง อะไรบ้างที่ขอยืมได้ 7.2 แนวการศึกษาค้นคว้า อธิบายว่าจะออกแบบการทดลองอะไร อย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้าง เก็บข้อมูลอย่างไรและเมื่อใด 8. แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกาหนดเวลาเริ่มต้นและเวลา เสร็จสิ้นของการดาเนินงานในแต่ละขั้นตอน 9. งบประมาณที่ใช้ในการทาโครงงาน 10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 11. เอกสารอ้างอิง ขั้นที่ 4 สุขสาราญกับการปฏิบัติ เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา แล้วก็เสมือนว่างานของนักเรียนสาเร็จไปแล้วมากกว่าครึ่งหนึ่ง ต่อไปก็เป็น ขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุไว้ในเค้าโครง ซึ่งควรคานึงถึงเรื่อง ต่อไปนี้ 1. เตรียมวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ให้พร้อมก่อนหรือลงมือ ทดลอง 2. มีสมุดสาหรับบันทึกกิจกรรมประจาวันว่าได้ทาอะไร ได้ผล อย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร 3. ปฏิบัติการทดลองด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึก ข้อมูลไว้ให้เป็นระเบียบและครบถ้วน 4. คานึงถึงความประหยัดและปลอดภัยในการทางาน
  • 13. 5. พยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ตอนแรก แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือ เพิ่มเติมบ้างหลังจากที่ได้เริ่มต้นทางานไปแล้ว ถ้าคิดว่าจะทาให้ผลงานดีขึ้น 6. ควรปฏิบัติการทดลองซ้าเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้มากขึ้น 7. ควรแบ่งงานเป็นส่วนย่อยๆ และทาแต่ละส่วนให้สาเร็จ ก่อนทาส่วนอื่นต่อไป 8. ควรทางานส่วนที่เป็นหลักสาคัญๆ ให้เสร็จก่อน แล้วจึงทา ส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อตกแต่งโครงงาน 9. อย่าทางานต่อเนื่องจนเมื่อยล้า จะทาให้ขาดความระมัดระวัง 10. ถ้าเป็นโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ควรคานึงถึงความคงทน แข็งแรง และขนาดที่เหมาะสมของสิ่งประดิษฐ์นั้น ความสาคัญของการทาโครงงานมิได้ขึ้นอยู่กับผลการทดลอง ที่ได้ จะตรงกับความคาดหวังหรือไม่ หากได้กระทาตามขั้นตอน กระบวนการที่ วางไว้ แม้ผลการทดลองจะไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง ก็ถือว่าโครงงานนั้น มีคุณค่าและมีความสาเร็จในการทาเหมือนกัน ข้อสาคัญคือนักเรียนจะต้องทา โครงงานจนสาเร็จครบขั้นตอนตามที่ได้วางแผนไว้ อย่าท้อถอยหรือ เลิกกลางคัน ขั้นที่ 5 คมชัดการเขียนรายงาน เมื่อดาเนินการทาโครงงานจนครบขั้นตอน ได้ข้อมูลทาการวิเคราะห์ ข้อมูลพร้อมทั้งแปลผลและสรุปผลแล้ว งานขั้นตอนต่อไปที่ต้องทาก็คือ การเขียนรายงาน การเขียนรายงานโครงงาน เป็นการสื่อความหมายที่มี ประสิทธิภาพ วิธี หนึ่ง เพื่อให้คนอื่นๆ เข้าใจถึงแนวความคิด วิธีการดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูล ผลที่ได้ตลอดจนข้อสรุปและข้อ เสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น
  • 14. การเขียนรายงานควรจะใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจง่าย ชัดเจน สั้นๆ กะทัดรัดและตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ ดังนี้(วิมลศรี สุวรรณ รัตน์,2547:52-53) 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้ทาโครงงาน 3. ชื่อที่ปรึกษา 4. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์ วิธีดาเนินการ ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปต่างๆ อย่างย่อ ประมาณ 300 – 350 คา 5. คาขอบคุณ ส่วนใหญ่โครงงานวิทยาศาสตร์มักจะเป็น กิจกรรมที่ได้รับความร่วมมือจากหลายฝ่าย ดังนั้น เพื่อเป็นการเสริมสร้าง บรรยากาศของความร่วมมือ จึงควรได้กล่าวขอบคุณบุคลากรหรือหน่วยงาน ต่างๆ ที่มีส่วนช่วยให้โครงงานนี้สาเร็จด้วยดี 5. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน อธิบายความสาคัญของ โครงงาน เหตุผลที่เลือกทาโครงงานนี้ หลักการหรือทฤษฎี ที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทาเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นเคยศึกษาไว้บ้างแล้ว ถ้ามีผลเป็นอย่างไร เรื่องที่ทานี้ได้ขยายเพิ่มเติม หรือปรับปรุงจาก เรื่องที่ผู้อื่นทาไว้อย่างไรบ้าง หรือเป็นการทาซ้าเพื่อตรวจสอบผล 7. จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 8. สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) 9. วิธีดาเนินการ อาจแบ่งเป็น 2 ข้อย่อย คือ 9.1 วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 9.2 วิธีดาเนินการทดลอง อธิบายขั้นตอนการดาเนินงาน โดยละเอียด
  • 15. 10. ผลการศึกษาค้นคว้า นาเสนอข้อมูลหรือผลการทดลองต่างๆ ที่สังเกตรวบรวมได้ รวมทั้งเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย 11. สรุปและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทา โครงงาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐาน ควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้ สนับสนุนหรือ คัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้ หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนี้ยังควรกล่าวถึงการนา ผลการทดลองไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทาโครงงานหรือข้อสังเกต ที่สาคัญหรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้น จากการทาโครงงานนี้ รวมทั้ง เสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทานองนี้ ต่อไปในอนาคตด้วย 12. เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารต่างๆ ที่ผู้ทาโครงงานใช้ค้นคว้า เพื่อศึกษาหาข้อมูลรายละเอียดต่างๆ ที่นามาใช้ประโยชน์ในการทาโครงงานนี้ ที่กล่าวมานี้เป็นรูปแบบหนึ่งของการเขียนรายงานเท่านั้น ซึ่งเป็นการ เขียนรายงานในลักษณะทั่วๆ ไปรูปแบบดังกล่าวนี้อาจไม่เหมาะสมกับ โครงงานทุกประเภทก็ได้ ทั้งนี้แล้วแต่ลักษณะของโครงงาน อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นโครงงานประเภทใด สิ่งสาคัญที่สุดที่ผู้เขียนรายงานควรตระหนัก ไว้อยู่เสมอ ก็คือการเขียนรายงานให้ชัดเจน ใช้ศัพท์เทคนิคที่ถูกต้อง ใช้ภาษา ที่เข้าใจง่ายและครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ ทั้งหมดของโครงงาน ขั้นที่ 6 จัดนิทรรศการเผยแพร่ จัดนิทรรศการเผยแพร่ เป็นการนาเสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์ อาจทาได้ในแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงในรูปนิทรรศการ ซึ่งมีทั้งการจัด แสดงและการอธิบายด้วยคาพูด หรือในรูปแบบของการรายงานปากเปล่า ไม่ว่าการนาเสนอผลงานจะอยู่ในรูปแบบใด ควรครอบคลุมประเด็นสาคัญคือ มีความชัดเจน เข้าใจง่ายและมีความถูกต้องในเนื้อหา
  • 16. การแสดงผลงานจัดได้ว่าเป็นขั้นตอนสาคัญอีกประการหนึ่ง ของการทา โครงงาน เรียกได้ว่าเป็นงานขั้นสุดท้ายของการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เป็น การแสดงผลิตผลของงาน ความคิด และความพยายามทั้งหมดที่ผู้ทาโครงงาน ได้ทุ่มเทลงไป และเป็นวิธีการที่จะทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้นๆ มีผู้กล่าวว่าการวางแผนออกแบบเพื่อจัดแสดงผลงานนั้นมีความสาคัญเท่าๆ กับการทาโครงงานนั่นเองผลงานที่ทาขึ้นจะดียอดเยี่ยมเพียงใด แต่ถ้าการจัด แสดงผลงานทาได้ไม่ดีก็เท่ากับไม่ได้แสดงความดียอดเยี่ยมของผลงานนั่นเอง ประเด็นสาคัญควรจัดให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์ของโครงงาน การแสดงผล งานนั้นอาจทาได้หลายรูปแบบ เช่น การแสดงในรูปนิทรรศการ ซึ่งมีทั้งการจัด แสดงและการอธิบายด้วยคาพูด หรือในรูปแบบของการจัดแสดงโดยไม่มีการ อธิบายประกอบหรือในรูปแบบของการรายงานปากเปล่า ไม่ว่าการแสดงผล งานจะอยู่ในรูปแบบใด ควรจัดทาให้ครอบคลุมประเด็นสาคัญดังต่อไปนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้ทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน 4. ความเป็นมาและความสาคัญของโครงงาน 5. วิธีดาเนินการ 6. การสาธิตหรือแสดงผลที่ได้จากการทดลอง 7. ผลการสังเกตและข้อมูลเด่นๆ ที่ได้จากการทาโครงงาน
  • 17. ข้อคานึงถึงในการจัดนิทรรศการโครงงาน วิทยาศาสตร์ 1. ความปลอดภัยของการจัดแสดง 2. ความเหมาะสมกับเนื้อที่ที่จัดแสดง 3. คาอธิบายที่เขียนแสดง ควรเน้นเฉพาะประเด็นสาคัญและ สิ่งที่น่าสนใจเท่านั้น โดยใช้ข้อความกะทัดรัด ชัดเจน และเข้าใจง่าย 4. ดึงดูดความสนใจของผู้เข้าชม โดยใช้รูปแบบการแสดง ที่น่าสนใจ ใช้สีที่สดใสเน้นจุดสาคัญหรือใช้วัสดุต่างๆ ในการจัดแสดง 5. ใช้ตาราง และรูปภาพประกอบ โดยจัดวางอย่างเหมาะสม 6. สิ่งที่แสดงทุกอย่างและการเขียนข้อความต้องถูกต้อง ไม่มีการ สะกดผิด หรืออธิบายหลักการที่ผิด 7. ในกรณีที่เป็นสิ่งประดิษฐ์ สิ่งนั้นควรอยู่ในสภาพที่ทางาน ได้อย่างสมบูรณ์ ข้อคานึงถึงในการอธิบายหรือรายงานปากเปล่า 1. ต้องทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบายเป็นอย่างดี 2. คานึงถึงความเหมาะสมของภาษาที่ใช้กับระดับผู้ฟัง ควรให้ชัดเจน และเข้าใจง่าย 3. ควรรายงานอย่างตรงไปตรงมา ไม่อ้อมค้อม 4. พยายามหลีกเลี่ยงการอ่านรายงาน แต่อาจเขียนหัวข้อสาคัญๆ ไว้เพื่อ ช่วยให้การรายงานเป็นไปตามขั้นตอน 5. อย่าท่องจารายงาน เพราะทาให้ดูไม่เป็นธรรมชาติ 6. ขณะที่รายงาน ควรมองตรงไปยังผู้ฟัง 7. เตรียมตัวตอบคาถามที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ
  • 18. 8. ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา ไม่จาเป็นต้องกล่าวถึงสิ่งที่ไม่ได้ถาม 9. หากติดขัดในการอธิบาย ควรยอมรับโดยดี อย่ากลบเกลื่อนหรือ หาทางเลี่ยงเป็นอย่างอื่น 10. ควรรายงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด 11. ควรใช้สื่อประเภทโสตทัศนูปกรณ์ประกอบการรายงาน ด้วย เช่น แผ่นโปร่งใส หรือสไลด์ เป็นต้น ข้อควรพิจารณาและคานึงถึงในประเด็นต่างๆ ที่กล่าวมาในการ แสดงผลงานนั้นจะคล้ายคลึงกันในการแสดงผลงานทุกประเภท แต่อาจ แตกต่างกันในรายละเอียดปลีกย่อยเพียงเล็กน้อย สิ่งสาคัญก็คือพยายามให้การ แสดงผลงานนั้นดึงดูดความสนใจผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความ ถูกต้องในเนื้อหา การทาแผงสาหรับแสดงโครงงานให้ใช้ไม้อัดมีขนาดดังรูป ความกว้าง 120 cm 60 cm 60 cm ความสูง 60 cm ติดบานพับมีห่วงรับและขอสับกับตัวแผ่นกลาง ที่มา : สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(2549:30)
  • 19. ข้อคานึงในการเขียนแผงโครงงาน 1. ต้องประกอบด้วยชื่อโครงงาน ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ ที่ปรึกษา คาอธิบายย่อๆ ถึงเหตุจูงใจในการทาโครงงาน ความสาคัญของ โครงงาน วิธีดาเนินการเลือกเฉพาะขั้นตอนที่สาคัญ ผลที่ได้จากการทดลอง อาจแสดงเป็นตาราง กราฟ หรือรูปภาพก็ได้ ประโยชน์ของโครงงาน สรุปผล เอกสารอ้างอิง 2. จัดเนื้อที่ให้เหมาะสม ไม่แน่นจนเกินไปหรือน้อยจนเกินไป 3. คาอธิบายความกะทัดรัดชัดเจน เข้าใจง่าย 4. ใช้สีสดใส เน้นจุดสาคัญ เป็นการดึงดูดความสนใจ 5. อุปกรณ์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ควรอยู่ในสภาพที่ทางานได้ อย่างสมบูรณ์ การประเมินผลโครงงาน การประเมินผลโครงงาน เป็นการประเมินผลการเรียนการสอนของครู เพื่อศึกษาผลสาเร็จของงาน ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดในระหว่างการทางาน และสิ้นสุดการปฏิบัติงาน การประเมินผลจะประเมินตามจุดประสงค์ของการ ปฏิบัติงาน ซึ่งจะต้องทาอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอและให้ข้อมูลย้อนกลับ ต่อผู้ปฏิบัติงาน คือการนาผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาต่อไป ในกรณีที่ครูมอบหมายให้นักเรียนทาโครงงานซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามปกติ และส่งเสริมให้นักเรียนทาตาม ความสมัครใจ ครูควรประเมินผลของโครงงาน โดยมีวัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อเป็นข้อมูลย้อนกลับให้กับนักเรียนได้ปรับปรุง หรือพัฒนางาน ในโอกาสต่อไป 2. เพื่อคัดเลือกโครงงานที่ดีสมบูรณ์และน่าสนใจไปร่วมแสดง
  • 20. ในงานต่างๆ หรือการประกวดในระดับต่างๆ ซึ่งในกรณีนี้อาจประเมิน ในรูปของคณะกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่โรงเรียนเชิญมา ก็ได้ เกณฑ์การประเมินโครงงาน ในการประเมินผลการจัดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียน มีเกณฑ์ที่ควรพิจารณาให้คะแนนหรือประเมินคุณค่าของโครงงานดังนี้ 1. ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะทา 2. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ได้แก่ ความแปลกใหม่ วิธีการศึกษา ค้นคว้า เครื่องมือหรือวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทาโครงงาน โดยเน้นความ แปลกใหม่ตามระดับความสามารถของนักเรียน 3. ความถูกต้องและความเหมาะสมของวิธีการศึกษาค้นคว้า ให้ พิจารณาการนาวิธีการ กระบวนการมาใช้ในการจัดทาโครงงาน ได้ถูกต้อง เหมาะสมเพียงใด 4.การเขียนรายงานโครงงาน พิจารณาถึงความถูกต้องความชัดเจนของ การสื่อความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจโครงงาน เช่น รูปแบบการเขียน ความถูกต้อง ครบถ้วนตามหลักการเขียนรายงานโครงงาน เป็นต้น 5.การจัดแสดงโครงงาน พิจารณาความสามารถในการพูดจา อธิบาย และตอบข้อซักถามต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง คล่องแคล่วและเหมาะสมที่จะช่วย ให้ผู้ที่ชมโครงงานมีความเข้าใจมากน้อยเพียงใด รวมทั้งความชัดเจน ความสวยงามและการดึงดูดความสนใจ
  • 21. ตัวอย่างแบบประเมินการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ แบบประเมินตนเอง รายการที่ประเมิน ผลการประเมิน 5 4 3 2 1 1. โครงงานแสดงให้เห็นถึงความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ หรือมีแนวความคิดแปลกใหม่ 2. สมมติฐานหรือปัญหาข้อสงสัยที่ต้องการค้นหา คาตอบได้แถลงไว้ชัดเจนเพียงใด 3. มีการศึกษาค้นหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงต่างๆ เพื่อเป็นพื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องที่กาลังศึกษา เหมาะสมเพียงใด 4. การออกแบบวิธีการศึกษามีความสอดคล้องกับ ปัญหาหรือสมมติฐานเพียงใด 5. การวัดและการควบคุมตัวแปรต่างๆ กระทาได้ ครบและถูกต้องเพียงใด 6. อุปกรณ์และเครื่องมือที่เลือกใช้ มีความ เหมาะสมเพียงใด 7. การรวบรวมข้อมูลกระทาได้ละเอียดถูกต้อง และตรงจุดประสงค์ที่ต้องการศึกษาเพียงใด 8. การบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการทาโครงงาน กระทาอย่างต่อเนื่องและมีความเป็นระเบียบ เรียบร้อยเพียงใด
  • 22. รายการที่ประเมิน ผลการประเมิน 5 4 3 2 1 9. การจัดกระทาข้อมูลและการนาเสนอข้อมูล (ตาราง กราฟ รูปภาพ แผนภูมิฯลฯ) ทาได้ เหมาะสมเพียงใด 10. การแปลความหมายและการสรุปผลมีความ สอดคล้องกับผลการทดลองที่นักเรียนทาได้จริงๆ มากน้อยเพียงใด 11. มีการศึกษาหรือเก็บข้อมูลมากเพียงพอ ที่จะทาให้ผลสรุปเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด 12. การเขียนรายงานทาได้อย่างสมบูรณ์ ครอบคลุมหัวข้อที่สาคัญมากน้องเพียงใด 13. การใช้ศัพท์เทคนิคและการสะกดคาถูกต้อง หรือไม่ 14. มีการอ้างอิงเอกสารเพื่อทาให้โครงงาน น่าเชื่อถือเพียงใด 15. การออกแบบการจัดแสดงงผลงานทาได้ เด่นชัดและน่าสนใจเพียงใด 16. ผู้ทามีความรู้และความเข้าใจในเรื่องที่ทามาก น้อยเพียงใด 17. การทาโครงงานได้แสดงให้เห็นถึงความทุ่มเท ความมานะ อดทน และความตั้งใจจริงมากน้อย เพียงใด รวม
  • 23. 5 หมายถึง ดียอดเยี่ยม 4 หมายถึง ดีเยี่ยม 3 หมายถึง ดี 2 หมายถึง พอใช้ 1 หมายถึง ควรปรับปรุง การแปลความหมายของคะแนนที่ได้ เป็นดังนี้ 75 – 85 ดียอดเยี่ยม 65 – 74 ดีเยี่ยม 50 – 64 ดี 17 – 49 พอใช้ ที่มา : สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี(2537:64-65) นอกจากนักเรียนประเมินโครงงานของตนเองแล้ว ตามปกติครูผู้สอน หรือครูที่ปรึกษาจะเป็นผู้ประเมินโครงงาน หรืออาจประเมินโดย คณะกรรมการของโรงเรียน เพื่อคัดเลือกโครงงานไปแสดงในโอกาสอื่นๆ ต่อไป ส่วนการประเมินโครงงานเพื่อตัดสินให้ได้รางวัลในวันแสดง นิทรรศการโครงงาน ส่วนใหญ่จะประเมิน โดยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจาก บุคคลภายนอกที่ได้รับเชิญ การประเมินผลไม่ว่าจะเพื่อวัตถุประสงค์ใด มีหลักเกณฑ์ใหญ่ที่คล้ายกัน จะแตกต่างกันไปบ้างในรายละเอียด ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้
  • 24. ตัวอย่างแบบประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์ ชื่อผู้ทาโครงงาน……………………................................ชั้น/ห้อง.............. ……………………............................ชั้น/ห้อง.............. ……………………............................ชั้น/ห้อง.............. ……………………............................ชั้น/ห้อง.............. ……………………...................................ชั้น/ห้อง.............. โรงเรียน.................................................................................................. ชื่อโครงงาน............................................................................................ คะแนนที่ได้....................ชื่อผู้ประเมินโครงงาน..................................... ให้ O ล้อมรอบคะแนนที่ท่านเห็นว่าเหมาะสมในตารางต่อไปนี้ รายการพิจารณา ดียอดเยี่ยม ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่ทา 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 การใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ในการทาโครงงานหรือเทคนิค ต่างๆ ที่ใช้ในการประดิษฐ์ คิดค้น 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 การเขียนรายงาน การจัดแสดง โครงงาน และการอธิบาย ปากเปล่า 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 ที่มา : สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี(2537:65)
  • 25. การที่นักเรียนสามารถทาโครงงานจนสาเร็จและนามาแสดงในงาน ได้ แสดง ว่านักเรียนได้ใช้สติปัญญา กาลังความสามารถและได้เกิดการเรียนรู้แล้ว การประเมินผลโครงงานจึงไม่ควรมีคาว่า ตก หรือ ใช้ไม่ได้ หรือ ไม่ผ่าน ทุกโครงงาน ที่นามาแสดงถือว่าอย่างน้อยอยู่ในเกณฑ์ที่ใช้ได้แล้ว ดังนั้น การแปลความหมาย ของคะแนนที่ได้ จึงอาจแปลดังนี้ 36 – 40 ดียอดเยี่ยม 24 – 35 ดีเยี่ยม 12 – 23 ดี 4 – 11 พอใช้