SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  30
Télécharger pour lire hors ligne
111 ปี กรมชลประทาน
ชลประทาน งานเพื่อแผ่นดินไทย
ก้าวย่างที่สําคัญในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งเป็นปีที่กรมชลประทานครบรอบ ๑๑๑ ปี คือ
การประกาศที่จะเป็นองค์กรนํา ด้านการพัฒนาแหล่งนํ้าและบริหารจัดการนํ้าอย่างบูรณาการ
โดยจะให้มีพื้นที่ชลประทานเพิ่มมากขึ้นติดอันดับ ๑ ใน ๑๐ ของโลก ซึ่งจะมีการพัฒนาแหล่งนํ้า
และการเพิ่มพื้นที่ชลประทานตามศักยภาพของลุ่มนํ้า ให้เกิดความสมดุลและบริหารจัดการนํ้า
อย่างเพียงพอ ทั่วถึง และเป็นธรรม พร้อมกับการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนใน
กระบวนการพัฒนาแหล่งนํ้าและกระบวนการบริหารจัดการนํ้า เพื่อลดกระแสความขัดแย้งใน
สังคม ภายไต้แนวคิดที่ว่า
เริ่มขึ้นอย่างจริงจังในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการขุดลอกคลองและขุดคลองขึ้นใหม่ในบริเวณ ทุ่งราบภาค
กลางจํานวนมาก ดําเนินการโดยเอกชน คือบริษัทขุดคลองแลคูนาสยาม Siam
Canals, Lands and Irrigation Company) ได้รับพระบรมราชานุญาติ เมื่อ พ.ศ.
2431 เริ่มขุดคลองเมื่อพ.ศ. 2433 มีระยะเวลาดําเนินการ ตามสัมปทาน 25 ปี
โครงการประกอบด้วยการ ก่อสร้างระบบคลอง ในบริเวณพื้นที่ราบฝั่งตะวันออกของ
แม่นํ้าเจ้าพระยา เขตจังหวัดปทุมธานี ที่เรียกว่า ทุ่งรังสิต โดยขุดคลองสายใหญ่ เชื่อม
ระหว่างแม่นํ้าเจ้าพระยา ตรงไปยังแม่นํ้านครนายก พร้อมกับการสร้างประตูระบายนํ้า
สําหรับ ควบคุมการเก็บกักนํ้าเพื่อการเพาะปลูก และสร้างประตู เรือสัญจรเพื่อการ
คมนาคมขนส่งทางนํ้าตลอดทั้งปี
ในพ.ศ. 2445 ได้ว่าจ้าง
วิศวกรชลประทานชาว
ฮอลันดา มาดําเนินงานชลประทานในประเทศ
ไทย และทรงแต่งตั้งให้ นายเย โฮมัน วันเดอร์
ไฮเด เข้ารับราชการ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน
2445 พร้อมทั้งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง
"กรมคลอง" และทรงแต่งตั้ง นาย เย โฮมัน วัน
เดอร์ ไฮเด เป็น เพื่อทํา
หน้าที่ดูแลทํานุบํารุงคลองต่างๆ ไม่ให้ตื้นเขิน
ผลงานของกรมคลองในยุคเริ่มต้น นอกจากแนวคิดของนายเย โฮมัน วัน
เดอร์ไฮเด ที่เสนอรายงานให้สร้างโครงการเจ้าพระยาใหญ่(The Greater
Chao Phraya Project) หรือที่เรียกกันในเวลานั้นว่า ขึ้น
เพื่อช่วยเหลือการทํานาในบริเวณทุ่งราบภาคกลางให้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นสมํ่าเสมอ
ไม่ผันแปรไปตามความวิปริตของลมฟ้ าอากาศในแต่ละปีแล้ว ยังเป็นผู้เสนอให้ขุด
คลองสําหรับเป็นทางนํ้าจืดลงมาจนถึงพระนครแล้วนํานํ้าจากคลองนั้นมาใช้ก็คือ
ในปัจจุบันนั่นเอง โดยมีคลองที่สําคัญได้แก่ คลองเปรมประชากร
คลองรังสิตประยูรศักดิ์ และ คลองพระองค์เจ้าไชยานุชิต เป็นต้น
• เขื่อนพระราม 6 ที่ตําบลท่าหลวง อําเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จนในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดําริว่า
หน้าที่ของกรมทดนํ้า มิได้ปฏิบัติงานอยู่เฉพาะแต่การทดนํ้าเพียงอย่างเดียว งานที่
กรมทดนํ้าปฏิบัติอยู่จริงในขณะนั้นมีทั้งการขุดคลอง การทดนํ้า รวมทั้งการส่ง นํ้า
ตามคลองต่าง ๆ อีกทั้งการสูบนํ้าเพื่อช่วยเหลือการเพาะปลูก จึงทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อจาก เป็น เมื่อวันที่ 21
มีนาคม 2476 โดยให้มีหน้าที่รับผิดชอบงานการขุดคลอง การทดนํ้า การส่งนํ้า
และการสูบนํ้าช่วยเหลือพื้ นที่เพาะปลูกอย่างทั่วถึงโดยมี
ดํารงตําแหน่งอธิบดีกรมชลประทานเป็นคนแรก พร้อมทั้งย้ายที่ทําการ
มาอยู่ ณ บริเวณถนนสามเสนจนถึงปัจจุบัน ...
ในสมัยรัชกาลที่ 9 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงสน
พระราชหฤทัยในการศึกษาและพระ ราชทานแนวพระราชดําริอันเป็นประโยชน์
อย่างยิ่ง ในการพัฒนาแหล่งนํ้ามาตลอด เช่น โครงการอ่างเก็บนํ้าเขาเต่า ที่อําเภอ
หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อันเป็นโครงการพัฒนาแหล่งนํ้า อันเนื่องมาจาก
พระราชดําริแห่งแรก ที่กรมชล ประทานก่อสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2506 ซึ่งในรัชกาล
ของ
• เขื่อนขุนด่านปราการชล จ.นครนายก
• อ่างเก็บนํ้าเขาเต่าอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.ประจวบคีรีขันธ์
ประตูระบายนํ้าธรณิศนฤมิต จ.นครพนม
โครงการประตูระบายนํ้าอุทกวิภาชประสิทธิ์ จ.นครศรีธรรมราช
โครงการเขื่อนแควน้อยบํารุงแดน จ.พิษณุโลก
โครงการอุโมงค์ส่งนํ้าลําพะยังภูมิพัฒน์ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.กาฬสินธุ์
เพื่อแสดงผลงานและความภาคภูมิใจในการรับใช้แผ่นดิน ซึ่งจะเป็นการนําเสนอเรื่อง
เกี่ยวกับความสําเร็จในการจัดหา และการพัฒนาแหล่งนํ้าด้วยจิตสํานึกในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนวิวัฒนาการงานชลประทานของประเทศไทยตั้งแต่
กรมคลองเมื่อ 111 ปีที่ผ่านมา จวบจนถึงปัจจุบัน
หน้าที่ความรับผิดชอบของกรมชลประทาน สามารถสรุปบทบาทหน้าที่
ภารกิจโครงการชลประทานได้ 3 ด้าน ดังนี้
ภารกิจด้านการส่งนํ้าและบํารุงรักษา มีหน้าที่รับผิดชอบในการวางแผน
จัดสรรนํ้าการส่งนํ้า การระบายนํ้า และการใช้นํ้าเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด และ
ควบคุมงานปรับปรุงซ่อมแซมบํารุงรักษาระบบชลประทานให้สามารถใช้การใช้
อย่างมีประสิทธิภาพ
ภารกิจด้านการพัฒนาแหล่งนํ้า มีหน้าที่ตรวจสอบคุณภาพของนํ้าที่ใช้ใน
การอุปโภคบริโภค และการพัฒนาแหล่งนํ้าให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด มี
ภารกิจวางโครงการพัฒนาแหล่งนํ้าในลุ่มนํ้าต่างๆทั่วประเทศ และวางระบบการส่ง
นํ้า การใช้นํ้าให้มีประสิทธิภาพ
ภารกิจด้านการป้ องกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากนํ้า มีหน้าที่ควบคุม
ปริมาณนํ้าให้อยู่ในระดับที่เพียงพอต่อการใช้อุปโภค บริโภครวมไปถึงใช้ในการด้าน
เกษตรกรรมอันเป็นอาชีพหลักของคนไทย และป้ องกันไม่ให้เกิดนํ้าท่วม นํ้าแล้ง อัน
จะส่งผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน และประเทศชาติ
เป็นการนําเสนอนวัตกรรมชลประทาน ที่มาพร้อมกับความก้าวหน้าทั้ง
ด้านเทคโนโลยีก่อสร้างการบริหารจัดการนํ้าและวิชาการ เพื่อให้งานชลประทาน
ของไทยมีความทันสมัย รวมทั้งจะมีการนําเสนอผลงานจัดการความรู้ของ
หน่วยงานชลประทานเพื่อก้าวสู่ความสําเร็จในการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยมี
การจัดแสดงนวัตกรรมต่าง ๆของหน่วยงานภายในกรมชลประทาน อาทิเช่นสํานัก
ชลประทานที่ 1 – 17 กองพัสดุ กองแผนงาน สํานักบริหารโครงการ สํานักวิจัย
และพัฒนา สํานักเครื่องจักรกล เป็นต้น
นําเสนอผลงาน เครื่องวัดกระแสนํ้าในคลองชลประทานโดยทุ่นวัดแรง
เฉือนการไหลสําหรับกลุ่มผู้ใช้นําชลประทาน
นําเสนอผลงาน การประยุกต์ใช้โครงข่ายประสาทเทียมในงาน
ชลประทาน
นําเสนอผลงาน เครื่องเตือนภัยทางนํ้ากึ่งอัตโนมัติ(เพชรพยากรณ์)
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU

Contenu connexe

Plus de Kasetsart University

รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...Kasetsart University
 
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบรายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบKasetsart University
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisKasetsart University
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisKasetsart University
 
Homework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.NimtimHomework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.NimtimKasetsart University
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisKasetsart University
 
โครงสร้าง ป้องกันและแก้ใขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งในประเทศไทย S.Nmtim
โครงสร้าง ป้องกันและแก้ใขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งในประเทศไทย S.Nmtimโครงสร้าง ป้องกันและแก้ใขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งในประเทศไทย S.Nmtim
โครงสร้าง ป้องกันและแก้ใขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งในประเทศไทย S.NmtimKasetsart University
 

Plus de Kasetsart University (20)

Applied hydrology
Applied hydrologyApplied hydrology
Applied hydrology
 
Applied hydrology nsn
Applied hydrology nsnApplied hydrology nsn
Applied hydrology nsn
 
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
 
Wave 1
Wave 1Wave 1
Wave 1
 
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบรายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysis
 
Compaction test
Compaction testCompaction test
Compaction test
 
Compaction test data sheet
Compaction test data sheetCompaction test data sheet
Compaction test data sheet
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysis
 
Homework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.NimtimHomework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
 
Grain size analysis By S.Nimtim
Grain size analysis By S.NimtimGrain size analysis By S.Nimtim
Grain size analysis By S.Nimtim
 
Compaction Test By S.Nimtim
Compaction Test By S.NimtimCompaction Test By S.Nimtim
Compaction Test By S.Nimtim
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysis
 
โครงสร้าง ป้องกันและแก้ใขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งในประเทศไทย S.Nmtim
โครงสร้าง ป้องกันและแก้ใขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งในประเทศไทย S.Nmtimโครงสร้าง ป้องกันและแก้ใขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งในประเทศไทย S.Nmtim
โครงสร้าง ป้องกันและแก้ใขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งในประเทศไทย S.Nmtim
 
01 coastal erosion 6 provinces
01 coastal erosion 6 provinces01 coastal erosion 6 provinces
01 coastal erosion 6 provinces
 
Homework 1 river
Homework 1 riverHomework 1 river
Homework 1 river
 
Atterberg’s limits
Atterberg’s limitsAtterberg’s limits
Atterberg’s limits
 
Atterberg’s limits
Atterberg’s limitsAtterberg’s limits
Atterberg’s limits
 
Atterberg's limits0001
Atterberg's limits0001Atterberg's limits0001
Atterberg's limits0001
 
A3
A3A3
A3
 

สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU