SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
อาร์ ต นูโว
นวศิลป
์
Art Nouveau

คริ สต์ศกราช 1880-1914
ั
“อาร์ ต นูโว พจนานุกรมศิลปะ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ กาหนดเป็ นศัพท์ภาษาไทยไว้ วา “นวศิลป” เป็ นศิลปะที่ได้ รับ
่

ความนิยมสูงสุดในยุโรปและสหรัฐอเมริ กาในระหว่าง ปี 1880-1914
มีจดเริ่ มต้ นมาจากชื่อร้ านของ แอส.บิง (S. Bing) เปิ ดในปารี สในปี 1895 ที่ชื่อว่า “ลา นูโว” (L’ Art Nouveau) แปลว่า
ุ
ศิลปะใหม่ (the New Art) ต่อมากลายเป็ นชื่อทีเ่ รี ยกศิลปะที่มีรูปแบบเฉพาะทังในด้ านสถาปั ตยกรรม การออกแบบ และ
้
ศิลปะอื่นๆ ในเยอรมนีเรี ยกว่า Jugendstil แปลว่า เยาว์ (youth) ในอิตาลีเรี ยกว่า Stile Liberty ในสเปนเรี ยกว่า
Modernista และในออสเตรี ย เรี ยกว่า Sezessionstil (secession style)

อาร์ ต นูโว มีความลักษณะพิเศษด้ วยการใช้ รูปทรงแบบอินทรี ย์รูปหรื อรูปทรงที่มีลกษณะเป็ นธรรมชาติ มีการใช้ เส้ นที่ออน
ั
่
ช้ อยเลือนไหล มีการผสมผสานลวดลายต่างๆ
่
ตัวอย่างเช่น ปาเล สโตเคล่ (Palais Stoclet) ในเมืองบรัสเซลส์ (Brussels) ประเทศเบลเยี่ยม งานกระเบื ้องของ กุสตาฟ
คลิมต์ (Gustav Klimt, 1862-1918) งานออกแบบซุ้มประตูโลหะทางลงสูสถานีรถไฟใต้ ดินที่ปารีสของ เฮ็คเตอร์ กุยมาร์
่
(Hector Guimard, 1867-1942) และผลงานของ เอมิล ชาล (Emile Galle, 1846-1904) และสถาปั ตยกรรมเลืองชื่อ
่
ของ อันโตนิโอ เกาดี ้ (Antonio Gaudi, 1852-1926)
อาร์ ต นูโว ปฏิเสธกระแส “ฟื นฟูศิลปะหลักวิชา (Academic Revivalism) ซึงครอบงาศิลปะและการออกแบบใน
้
่
คริ สต์ศตวรรษที่ 19 แหล่งที่มาของ อาร์ ต นูโว มีมาตังแต่ กลุมอาร์ ต แอนด์ คราฟท์ มูฟเมนต์ (Arts and Crafts
้
่
Movement) ในอังกฤษ และกลุม ซิมโบลิสม์ (Symbolism) และความนิยมในศิลปวัฒนธรรมญี่ปน และรู ปแบบสารพัด
่
ุ่

ทีผสมเข้ ามาตังแต่แนวอียิปต์โบราณและ โรโคโค (Rococo) ในคริสต์ศตวรรษที่ 18
่
้
อาร์ ต นูโว นิยมทางานที่มีเรื่ องของการเสพสังวาส (erotic) มักจะมีลกษณะการใช้ ปัจจัยต่างๆจากธรรมชาติและความเป็ น
ั
ผู้หญิง ซึงจะตรงกันข้ ามกับการสร้ างสรรค์ในศิลปวัฒนธรรมตะวันตกโดยทัวไปที่มักจะเกี่ยวโยงกับความเป็ นชาย
่
่
ศิลปิ น: ปาเล สโตเคล่ (Palais Stoclet), กุสตาฟ คลิมต์ (Gustav Klimt, 1862-1918), เฮ็คเตอร์ กุยมาร์ (Hector
Guimard, 1867-1942), เอมิล ชาล (Emile Galle, 1846-1904), อันโตนิโอ เกาดี ้ (Antonio Gaudi, 1852-1926)

ประวัติศาสตร์ศิลป์
ศิลปะเครื่องประดับอาร์ ตนูโว (Art Nouveau)
ยุคหลังปฏิวติอุตสาหกรรม เริ่ มเข้าสู่ความเป็ นสมัยใหม่ มีการศึกษาค้นหาสิ่ งใหม่มากขึ้นสิ่ งของเครื่ องใช้ต่างๆ เริ่ มมองเห็น
ั
่
ความงามมากขึ้น ศิลปะทัศนศิลป์ เข้าสู่ช่วง Post Impressionism ซึ่งอยูในยุคช่วงกลางศตวรรษที่19 เป็ นต้นมา
เป็ นช่วงที่ยโรปนิยมการค้าหาแผ่นดินใหม่เพื่อทรัพยากรธรรมชาติ การขยายพื้นที่เพื่อประชากรและการเผยแพร่ ศาสนา
ุ
คริ สต์ จึงทาให้เกิดการล่าอาณานิคมขึ้น
ยุคนี้จึงเป็ นยุคแห่งความรุ่ งเรื องของยุโรป และอาณาจักรที่มีอิทธิพลต่อความเป็ นไปของมนุษย์ชาติคือ สหราชอาณาจักร
หรื อประเทศอังกฤษ เป็ นช่วงที่เฟื่ องฟูเกี่ยวกับความงามและศิลปะใหม่ๆ เริ่ มที่ก่อตัวขึ้น โดยเฉพาะรู ปแบบสมัยใหม่
ศิลปะแบบอาร์ตนูโวเริ่ มต้นที่ประเทศอังกฤษ โดยมีศิลปิ นกลุ่มกลาสโกว์สคูลรวมตัวกันขึ้นเพื่อนาเสนอศิลปะแนวใหม่ที่ได้
ั
สร้างสรรค์กนขึ้นมา จึงทาให้เกิดการเคลื่อนไหวของกระแสที่เรี ยกว่า Art and Craft Movement จึงเกิดการ
ปฏิวติรูปแบบของงานช่างหลายแขนง ให้มีรูปแบบแนวใหม่หรื อรู ปแบบที่เรี ยกว่าอาร์ตนูโวนั้นเอง ซึ่งมีลกษณะอ่อนหวาน
ั
ั
พลิ้ว มีรูปร่ างยาวยืด มีการพันเกาะเกี่ยวไปมา หรื อเรี ยกอีกแบบว่า Noodle Style
ศิลปะเครื่ องประดับรู ปแบบอาร์ตนูโว เป็ นงานช่างแนวศิลปะที่ทาให้รูปแบบอาร์ตนูโวเป็ นที่เฟื่ องฟูมากงานหนึ่ง โดยนัก
ออกแบบเครื่ องประดับต่างได้รับอิทธิพลมาจากกระแสการเคลื่อนไหวของ Art and craft Movement และ
เนื่องจากเป็ นช่วงเริ่ มต้นเข้าสู่ความเป็ นสมัยใหม่ จึงทาให้รูปแบบงานช่างมีการผสมผสานระหว่างรู ปแบบเก่าและใหม่อยู่
แต่มีแรงบันดาลใจในการการสร้างสรรค์เครื่ องประดับรู ปแบบอาร์ตนูโวร่ วมกัน ซึ่งมีลกษณะดังนี้
ั
1. จากพืชธรรมชาติ เช่น ดอกไม้ ใบไม้
2. จากสัตว์และแมลง เช่น ผีเสื้ อ แมลงปอ งู ไก่ นกยูง ค้างคาว นกฮูก รวมทั้งสัตว์ในจินตนาการ เช่น สฟริ งซ์
3. จากวรรณกรรม เช่น เจ้าชายกบ
4. จากบุคคลสาคัญ
5. จากวัฒนธรรมต่างถิ่น เช่น วัฒนธรรมญี่ปุ่น
6. จากความงามของผูหญิง
้
จากแรงบันดาลใจดังกล่าว ศิลปะเครื่ องประดับอาร์ตนูโว จึงมีแนวทางการออกแบบ ทั้งรู ปแบบเหมือนจริ งและรู ปแบบ
นามธรรม
่
จากตัวอย่างข้างต้นเห็นได้วา เป็ นตัวอย่างจากรู ปแบบเหมือนจริ งทั้งสิ้น ส่วนแบบนามธรรมนักออกแบบยังคงใช้แรง
บันดาลใจเช่นเดิมจากธรรมชาติและความยาวยืดของรู ปทรง แต่มีการเปลี่ยนรู ปทรงให้มีลกษณะนามธรรม รู ปแบบอาร์ตนู
ั
โวได้เป็ นที่นิยมในการสร้างสรรค์งานศิลปะและงานช่างมาก ถือเป็ นยุคของการเปลี่ยนรสนิยมของสังคมชาวตะวันตก
ประเทศที่ได้รับความสาเร็ จสูงสุดต่อรู ปแบบนี้คือ ประเทศฝรั่งเศส โดยเฉพาะเครื่ องประดับได้รับการยกย่องมาก และเป็ นที่
รู ้จกกันในการเปิ ดตัวในงาน La Maison de Art Nouveau เมื่อปี ค.ศ.1895 ที่กรุ งปารี ส นักออกแบบที่มี
ั
ชื่อเสี ยงมาก ได้แก่ นาย Rene Lalique จากการชนะเลิศการประกวดออกแบบเครื่ องประดับในงาน Exposition
UniverselleFrench Art Nouveau Desk by Louis Majorelle
โต๊ะศิลปะอาร์ตนูโวสไตล์ฝรั่งเศส โดย Louis Majorelle ขาโต๊ะแกะสลักตกแต่งด้วยผัดโขมและใบไม้
รายละเอียดเพิ่มเติมhttp://www.1stdibs.com/furniture/tables/desks-writingtables/french-art-nouveau-desk-louis-majorelle/id-f_811498/
แปลโดย อาร์ตนูโว - Art Nouveau หากมีส่วนผิดพลาดประการใดรบกวนแจ้งทางเราให้ทราบด้วยนะคะ ขออภัยไว้
ล่วงหน้าค่ะ
อาร์ต นูโว

Contenu connexe

En vedette

การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้นการใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้นgemini_17
 
Op Art Middle School
Op Art Middle SchoolOp Art Middle School
Op Art Middle Schoolarteachertech
 
12 ageofstreamlining
12 ageofstreamlining12 ageofstreamlining
12 ageofstreamliningmotana
 

En vedette (8)

Op art
Op artOp art
Op art
 
Op art
Op artOp art
Op art
 
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลายหลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
 
OP ART
OP ARTOP ART
OP ART
 
การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้นการใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้น
 
Op Art Middle School
Op Art Middle SchoolOp Art Middle School
Op Art Middle School
 
Techniques op art
Techniques op artTechniques op art
Techniques op art
 
12 ageofstreamlining
12 ageofstreamlining12 ageofstreamlining
12 ageofstreamlining
 

อาร์ต นูโว

  • 1. อาร์ ต นูโว นวศิลป ์ Art Nouveau คริ สต์ศกราช 1880-1914 ั “อาร์ ต นูโว พจนานุกรมศิลปะ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ กาหนดเป็ นศัพท์ภาษาไทยไว้ วา “นวศิลป” เป็ นศิลปะที่ได้ รับ ่ ความนิยมสูงสุดในยุโรปและสหรัฐอเมริ กาในระหว่าง ปี 1880-1914 มีจดเริ่ มต้ นมาจากชื่อร้ านของ แอส.บิง (S. Bing) เปิ ดในปารี สในปี 1895 ที่ชื่อว่า “ลา นูโว” (L’ Art Nouveau) แปลว่า ุ ศิลปะใหม่ (the New Art) ต่อมากลายเป็ นชื่อทีเ่ รี ยกศิลปะที่มีรูปแบบเฉพาะทังในด้ านสถาปั ตยกรรม การออกแบบ และ ้ ศิลปะอื่นๆ ในเยอรมนีเรี ยกว่า Jugendstil แปลว่า เยาว์ (youth) ในอิตาลีเรี ยกว่า Stile Liberty ในสเปนเรี ยกว่า Modernista และในออสเตรี ย เรี ยกว่า Sezessionstil (secession style) อาร์ ต นูโว มีความลักษณะพิเศษด้ วยการใช้ รูปทรงแบบอินทรี ย์รูปหรื อรูปทรงที่มีลกษณะเป็ นธรรมชาติ มีการใช้ เส้ นที่ออน ั ่ ช้ อยเลือนไหล มีการผสมผสานลวดลายต่างๆ ่ ตัวอย่างเช่น ปาเล สโตเคล่ (Palais Stoclet) ในเมืองบรัสเซลส์ (Brussels) ประเทศเบลเยี่ยม งานกระเบื ้องของ กุสตาฟ คลิมต์ (Gustav Klimt, 1862-1918) งานออกแบบซุ้มประตูโลหะทางลงสูสถานีรถไฟใต้ ดินที่ปารีสของ เฮ็คเตอร์ กุยมาร์ ่ (Hector Guimard, 1867-1942) และผลงานของ เอมิล ชาล (Emile Galle, 1846-1904) และสถาปั ตยกรรมเลืองชื่อ ่ ของ อันโตนิโอ เกาดี ้ (Antonio Gaudi, 1852-1926) อาร์ ต นูโว ปฏิเสธกระแส “ฟื นฟูศิลปะหลักวิชา (Academic Revivalism) ซึงครอบงาศิลปะและการออกแบบใน ้ ่ คริ สต์ศตวรรษที่ 19 แหล่งที่มาของ อาร์ ต นูโว มีมาตังแต่ กลุมอาร์ ต แอนด์ คราฟท์ มูฟเมนต์ (Arts and Crafts ้ ่ Movement) ในอังกฤษ และกลุม ซิมโบลิสม์ (Symbolism) และความนิยมในศิลปวัฒนธรรมญี่ปน และรู ปแบบสารพัด ่ ุ่ ทีผสมเข้ ามาตังแต่แนวอียิปต์โบราณและ โรโคโค (Rococo) ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ่ ้
  • 2. อาร์ ต นูโว นิยมทางานที่มีเรื่ องของการเสพสังวาส (erotic) มักจะมีลกษณะการใช้ ปัจจัยต่างๆจากธรรมชาติและความเป็ น ั ผู้หญิง ซึงจะตรงกันข้ ามกับการสร้ างสรรค์ในศิลปวัฒนธรรมตะวันตกโดยทัวไปที่มักจะเกี่ยวโยงกับความเป็ นชาย ่ ่ ศิลปิ น: ปาเล สโตเคล่ (Palais Stoclet), กุสตาฟ คลิมต์ (Gustav Klimt, 1862-1918), เฮ็คเตอร์ กุยมาร์ (Hector Guimard, 1867-1942), เอมิล ชาล (Emile Galle, 1846-1904), อันโตนิโอ เกาดี ้ (Antonio Gaudi, 1852-1926) ประวัติศาสตร์ศิลป์ ศิลปะเครื่องประดับอาร์ ตนูโว (Art Nouveau) ยุคหลังปฏิวติอุตสาหกรรม เริ่ มเข้าสู่ความเป็ นสมัยใหม่ มีการศึกษาค้นหาสิ่ งใหม่มากขึ้นสิ่ งของเครื่ องใช้ต่างๆ เริ่ มมองเห็น ั ่ ความงามมากขึ้น ศิลปะทัศนศิลป์ เข้าสู่ช่วง Post Impressionism ซึ่งอยูในยุคช่วงกลางศตวรรษที่19 เป็ นต้นมา เป็ นช่วงที่ยโรปนิยมการค้าหาแผ่นดินใหม่เพื่อทรัพยากรธรรมชาติ การขยายพื้นที่เพื่อประชากรและการเผยแพร่ ศาสนา ุ คริ สต์ จึงทาให้เกิดการล่าอาณานิคมขึ้น ยุคนี้จึงเป็ นยุคแห่งความรุ่ งเรื องของยุโรป และอาณาจักรที่มีอิทธิพลต่อความเป็ นไปของมนุษย์ชาติคือ สหราชอาณาจักร หรื อประเทศอังกฤษ เป็ นช่วงที่เฟื่ องฟูเกี่ยวกับความงามและศิลปะใหม่ๆ เริ่ มที่ก่อตัวขึ้น โดยเฉพาะรู ปแบบสมัยใหม่ ศิลปะแบบอาร์ตนูโวเริ่ มต้นที่ประเทศอังกฤษ โดยมีศิลปิ นกลุ่มกลาสโกว์สคูลรวมตัวกันขึ้นเพื่อนาเสนอศิลปะแนวใหม่ที่ได้ ั สร้างสรรค์กนขึ้นมา จึงทาให้เกิดการเคลื่อนไหวของกระแสที่เรี ยกว่า Art and Craft Movement จึงเกิดการ ปฏิวติรูปแบบของงานช่างหลายแขนง ให้มีรูปแบบแนวใหม่หรื อรู ปแบบที่เรี ยกว่าอาร์ตนูโวนั้นเอง ซึ่งมีลกษณะอ่อนหวาน ั ั พลิ้ว มีรูปร่ างยาวยืด มีการพันเกาะเกี่ยวไปมา หรื อเรี ยกอีกแบบว่า Noodle Style ศิลปะเครื่ องประดับรู ปแบบอาร์ตนูโว เป็ นงานช่างแนวศิลปะที่ทาให้รูปแบบอาร์ตนูโวเป็ นที่เฟื่ องฟูมากงานหนึ่ง โดยนัก ออกแบบเครื่ องประดับต่างได้รับอิทธิพลมาจากกระแสการเคลื่อนไหวของ Art and craft Movement และ เนื่องจากเป็ นช่วงเริ่ มต้นเข้าสู่ความเป็ นสมัยใหม่ จึงทาให้รูปแบบงานช่างมีการผสมผสานระหว่างรู ปแบบเก่าและใหม่อยู่ แต่มีแรงบันดาลใจในการการสร้างสรรค์เครื่ องประดับรู ปแบบอาร์ตนูโวร่ วมกัน ซึ่งมีลกษณะดังนี้ ั 1. จากพืชธรรมชาติ เช่น ดอกไม้ ใบไม้ 2. จากสัตว์และแมลง เช่น ผีเสื้ อ แมลงปอ งู ไก่ นกยูง ค้างคาว นกฮูก รวมทั้งสัตว์ในจินตนาการ เช่น สฟริ งซ์ 3. จากวรรณกรรม เช่น เจ้าชายกบ 4. จากบุคคลสาคัญ 5. จากวัฒนธรรมต่างถิ่น เช่น วัฒนธรรมญี่ปุ่น
  • 3. 6. จากความงามของผูหญิง ้ จากแรงบันดาลใจดังกล่าว ศิลปะเครื่ องประดับอาร์ตนูโว จึงมีแนวทางการออกแบบ ทั้งรู ปแบบเหมือนจริ งและรู ปแบบ นามธรรม ่ จากตัวอย่างข้างต้นเห็นได้วา เป็ นตัวอย่างจากรู ปแบบเหมือนจริ งทั้งสิ้น ส่วนแบบนามธรรมนักออกแบบยังคงใช้แรง บันดาลใจเช่นเดิมจากธรรมชาติและความยาวยืดของรู ปทรง แต่มีการเปลี่ยนรู ปทรงให้มีลกษณะนามธรรม รู ปแบบอาร์ตนู ั โวได้เป็ นที่นิยมในการสร้างสรรค์งานศิลปะและงานช่างมาก ถือเป็ นยุคของการเปลี่ยนรสนิยมของสังคมชาวตะวันตก ประเทศที่ได้รับความสาเร็ จสูงสุดต่อรู ปแบบนี้คือ ประเทศฝรั่งเศส โดยเฉพาะเครื่ องประดับได้รับการยกย่องมาก และเป็ นที่ รู ้จกกันในการเปิ ดตัวในงาน La Maison de Art Nouveau เมื่อปี ค.ศ.1895 ที่กรุ งปารี ส นักออกแบบที่มี ั ชื่อเสี ยงมาก ได้แก่ นาย Rene Lalique จากการชนะเลิศการประกวดออกแบบเครื่ องประดับในงาน Exposition UniverselleFrench Art Nouveau Desk by Louis Majorelle โต๊ะศิลปะอาร์ตนูโวสไตล์ฝรั่งเศส โดย Louis Majorelle ขาโต๊ะแกะสลักตกแต่งด้วยผัดโขมและใบไม้ รายละเอียดเพิ่มเติมhttp://www.1stdibs.com/furniture/tables/desks-writingtables/french-art-nouveau-desk-louis-majorelle/id-f_811498/ แปลโดย อาร์ตนูโว - Art Nouveau หากมีส่วนผิดพลาดประการใดรบกวนแจ้งทางเราให้ทราบด้วยนะคะ ขออภัยไว้ ล่วงหน้าค่ะ