SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  145
Télécharger pour lire hors ligne
1
ชื่อเรื่อง รายงานผลการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
ปี 2556
Thailand Internet User Profile 2013
เรียบเรียงโดย ส่วนงานดัชนีและสารวจ
สานักนโยบายและส่งเสริมธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เลข ISBN ISBN 978-974-9765-47-0
พิมพ์ครั้งที่ 1 มิถุนายน 2556
พิมพ์จำนวน 1,500 เล่ม
รำคำ 120 บาท
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย
ร่วมสนับสนุนโดย
สำนักงำนพัฒนำธุรกรรมทำงอิเล็กทรอนิกส์ (องค์กำรมหำชน) หรือ สพธอ.
เลขที่ 120 หมู่ 3 ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550
อาคารรัฐประศาสนภักดี (อาคารบี) ชั้น 7
ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210
โทรศัพท์ 0-2142-1160
โทรสาร 0-2143-8071
www.etda.or.th
สำนักงำนคณะกรรมกำรธุรกรรมทำงอิเล็กทรอนิกส์
www.etcommission.go.th
กระทรวงเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร
www.mict.go.th
สมำคมผู้ประกอบกำรพำณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไทย
www.thaiecommerce.org
2
3
คำนำ
ปัจจุบัน อินเทอร์เน็ตเข้ามามี
บทบาทค่อนข้างมากในชีวิตประจาวัน
ของคนเรา ทั้งในเรื่องของการศึกษา
การปฏิบัติหน้าที่การงานของภาครัฐ
ภาคเอกชน การดาเนินธุรกิจ รวมทั้ง
การบันเทิงและนันทนาการ เป็นต้น
การนาอินเทอร์เน็ตไปใช้นั้น
หากนาไปใช้ในทางที่ถูกที่ควรก็จะ
ก่อให้เกิดคุณประโยชน์เอนกอนันต์
และการกาหนดนโยบายด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(ICT) เพื่อให้เกิดประโยชน์กับตัวท่าน
และประเทศชาติมากที่สุด จาเป็นที่
จะต้องมีข้อมูลส่วนหนึ่งเพื่อใช้สะท้อน
พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต
จากภาคประชาชนทุกกลุ่ม เพื่อให้การกาหนดนโยบายดังกล่าวสามารถตอบ
โจทย์และตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง รวมไปถึงการใช้
เป็นข้อมูลประกอบการเตรียมความพร้อมด้าน ICT ของประเทศไทยเพื่อเข้าสู่
ประชาคมอาเซียน ในปี 2558 นี้
สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ
สพธอ. ซึ่งมีภารกิจหลักในการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการทาธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ ให้เป็นไปตามความต้องการโครงสร้างพื้นฐาน
สารสนเทศที่เอื้อต่อการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และธุรกิจบริการเกี่ยวกับ
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนการมีมาตรฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารที่มีความมั่นคงปลอดภัยและน่าเชื่อถือ จึงได้จัดให้มีการสารวจ
พฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556 (Thailand Internet User
4
Profile 2013) ขึ้นมา เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลลักษณะของผู้ใช้และพฤติกรรมการ
ใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยไว้เป็นฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ลักษณะของ
ผู้ใช้งานและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต โดยมีแผนจะจัดทาการสารวจนี้เป็น
ประจาอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยข้อถามหลักจะคงไว้เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถนา
ข้อมูลไปใช้วิเคราะห์ผลเชิงเปรียบเทียบได้ แต่จะเพิ่มข้อถามเฉพาะสาหรับการ
สารวจในแต่ละปีในเรื่องที่กาลังได้รับความสนใจอยู่ในขณะนั้น โดยในปีนี้ได้มีการ
เพิ่มข้อถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย
ซึ่งเป็นประเด็นที่อยู่ในกระแสนิยมในปัจจุบัน และมีความเกี่ยวข้องกับธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์
อนึ่ง การสารวจครั้งนี้เป็นการสารวจผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยผู้ตอบจะ
เข้ามาตอบด้วยความสมัครใจ (Self-Selection) แม้ว่าโดยระเบียบวิธีทาง
วิชาการทางสถิติแล้ว ข้อมูลที่ประมวลผลได้ไม่ถือว่าเป็นตัวแทนของผู้ใช้
อินเทอร์เน็ตทั้งประเทศไทย แต่เนื่องจากมีผู้ให้ความร่วมมือกับการสารวจครั้งนี้
โดยสมัครใจเข้ามาให้ข้อมูลในแบบสารวจฯ มากถึง 23,907 คน ผลการประมาณ
ค่าจึงสามารถใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงถึงพฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ต รวมถึง
พฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการผ่านช่องทางโซเชียลมีเดียได้ในระดับหนึ่ง
นอกจากนี้ในการประมวลผลและวิเคราะห์ผลยังมีการจัดตั้งคณะทางานซึ่งมา
จากหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์สอดคล้องกับการ
ดาเนินการสารวจครั้งนี้ พร้อมทาการศึกษางานสารวจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
จากหน่วยงานที่เคยจัดทาไว้ เช่น ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
แห่งชาติ (เนคเทค) และสานักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) เพื่อให้ผลการสารวจ
ครั้งนี้มีความถูกต้องแม่นยาตามหลักวิชาการ
ในการสารวจครั้งนี้ได้รับความอนุเคราะห์เป็นอย่างดีจากหน่วยงาน
ภาครัฐและภาคเอกชนในการประชาสัมพันธ์ติดป้ายประกาศ (Banner) เชิญชวน
ให้มีผู้เข้ามาตอบแบบสารวจฯ จากเว็บไซต์หลายแห่ง รวมทั้งการประชาสัมพันธ์
ให้เจ้าหน้าที่/พนักงานภายใต้สังกัดหน่วยงานได้ร่วมตอบแบบสารวจฯ นี้ด้วย
5
ดังมีรายชื่อในภาคผนวกท้ายเล่ม สพธอ.จึงขอขอบพระคุณหน่วยงานดังกล่าว
ไว้ ณ ที่นี้ และหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์กับหน่วยงานต่างๆ ทั้ง
ภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะกลุ่มผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
และผู้ที่สนใจโดยทั่วไป
สุรางคณา วายุภาพ
ผู้อานวยการ
สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
มิถุนายน 2556
6
7
สำรบัญ
คานา...................................................................................................................3
สารบัญแผนภาพ...............................................................................................11
สารบัญตาราง...................................................................................................15
บทสรุปผู้บริหาร................................................................................................17
ผลการสารวจที่สาคัญ...................................................................................17
ข้อมูลลักษณะทั่วไปและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต................................17
การซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย...................................................18
บทนา................................................................................................................21
วัตถุประสงค์ของการสารวจ.........................................................................21
วิธีการสารวจ................................................................................................22
ส่วนที่ 1 ภาพรวมของผู้ตอบแบบสารวจฯ........................................................25
เพศ...............................................................................................................25
อายุ...............................................................................................................25
ที่พักอาศัย....................................................................................................26
ระดับการศึกษา............................................................................................27
อาชีพ............................................................................................................28
จานวนสมาชิกในครัวเรือนที่ใช้อินเทอร์เน็ต.................................................29
รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน................................................................30
ส่วนที่ 2 พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต.............................................................35
8
ระยะเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ต ..........................................................................35
ช่วงเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต.........................................................................40
สถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต...............................................................................43
อุปกรณ์การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ....................................................................45
การใช้บริการ Free WiFi ตามนโยบายรัฐบาล ............................................48
กิจกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ต...................................................................51
ความเห็นเกี่ยวกับปัญหาของการใช้งานอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน..................54
ส่วนที่ 3 พฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย........................59
การใช้บริการโซเชียลมีเดีย...........................................................................62
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงโซเชียลมีเดีย.........................................................65
โซเชียลมีเดียที่ใช้บริการเป็นประจา.............................................................68
กิจกรรมหลักที่ทาผ่านโซเชียลมีเดีย.............................................................70
ประสบการณ์การซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย.............................73
ประเภทสินค้าและบริการที่ซื้อผ่านโซเชียลมีเดีย.........................................75
มูลค่าการซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย..........................................77
ความถี่ในการซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย ในช่วง 3 เดือน
ที่ผ่านมา.......................................................................................................82
เหตุผลที่สั่งซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย.......................................83
ภาคผนวก.........................................................................................................87
9
รายชื่อหน่วยงานเอกชนผู้ให้ความอนุเคราะห์ในการติดป้ายประกาศ
(Banner)....................................................................................................137
รายชื่อคณะทางานจัดทาโครงการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
ในประเทศไทย ปี 2556.............................................................................143
10
11
สำรบัญแผนภำพ
แผนภาพที่ 1 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามเพศ.......................25
แผนภาพที่ 2 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามช่วงอายุ................26
แผนภาพที่ 3 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามที่พักอาศัย............27
แผนภาพที่ 4 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามระดับการศึกษา....28
แผนภาพที่ 5 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามอาชีพ....................29
แผนภาพที่ 6 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามจานวนสมาชิก
ในครัวเรือนที่ใช้อินเทอร์เน็ต.....................................................30
แผนภาพที่ 7 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามระดับรายได้เฉลี่ย
ต่อเดือนของครัวเรือน...............................................................31
แผนภาพที่ 8 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามจานวนชั่วโมง
การใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์...................................................36
แผนภาพที่ 9 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามจานวนชั่วโมง
การใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์ ปี 2544 – 2556.......................37
แผนภาพที่ 10 จานวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อสัปดาห์
จาแนกตามลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบสารวจฯ.................39
แผนภาพที่ 11 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามช่วงเวลา
ที่ใช้อินเทอร์เน็ต.....................................................................40
แผนภาพที่ 12 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามช่วงเวลา
ที่ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบระหว่างปี 2544 - 2556.........41
แผนภาพที่ 13 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ รายกลุ่มอายุ จาแนกตาม
ช่วงเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ต.......................................................42
แผนภาพที่ 14 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ เปรียบเทียบตามสถานที่
ที่ใช้อินเทอร์เน็ต.....................................................................44
12
แผนภาพที่ 15 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ รายเขตที่พักอาศัย
เปรียบเทียบตามสถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต..............................45
แผนภาพที่ 16 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ เปรียบเทียบตาม
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ปี 2555 - 2556........46
แผนภาพที่ 17 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามอุปกรณ์
ที่ใช้บ่อยที่สุดในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต..................................47
แผนภาพที่ 18 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ รายกลุ่มอายุ
จาแนกตามอุปกรณ์ที่ใช้บ่อยที่สุดในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต..48
แผนภาพที่ 19 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามประสบการณ์
และความพอใจในการใช้บริการ Free WiFi..........................49
แผนภาพที่ 20 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ที่เคยใช้ Free WiFi
และผู้ที่พอใจในการใช้ Free WiFi รายกลุ่มอายุ....................50
แผนภาพที่ 21 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ที่เคยใช้บริการ Free WiFi
รายเขตที่พักอาศัย จาแนกตามความพอใจในการใช้.............51
แผนภาพที่ 22 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ เปรียบเทียบตามกิจกรรม
การใช้งานอินเทอร์เน็ต...........................................................52
แผนภาพที่ 23 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ รายกลุ่มอายุ
เปรียบเทียบตามกิจกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ต..................53
แผนภาพที่ 24 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ เปรียบเทียบตาม
ปัญหาที่พบจากการใช้อินเทอร์เน็ต........................................54
แผนภาพที่ 25 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ เปรียบเทียบตามความเห็น
เกี่ยวกับปัญหาจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต ปี 2547-2556....56
แผนภาพที่ 26 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามประสบการณ์
การใช้บริการโซเชียลมีเดีย.....................................................63
13
แผนภาพที่ 27 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ รายกลุ่มอายุและอาชีพ
จาแนกตามประสบการณ์การใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย......64
แผนภาพที่ 28 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตและผู้เคยใช้บริการผ่าน
โซเชียลมีเดีย เปรียบเทียบตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึง ......65
แผนภาพที่ 29 ร้อยละของผู้ใช้การใช้สมาร์ทโฟนเป็นหลักในการเข้าถึง
โซเชียลมีเดีย รายกลุ่มอายุ เขตที่พักอาศัย และอาชีพ..........67
แผนภาพที่ 30 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย เปรียบเทียบ
ตามโซเชียลมีเดียที่ใช้บริการเป็นประจา................................68
แผนภาพที่ 31 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย รายเขตที่พักอาศัย
เปรียบเทียบตามโซเชียลมีเดียที่ใช้บริการเป็นประจา............69
แผนภาพที่ 32 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย รายกลุ่มอายุ
เปรียบเทียบตามโซเชียลมีเดียที่ใช้บริการเป็นประจา............70
แผนภาพที่ 33 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย
เปรียบเทียบตามกิจกรรมหลักที่ทาผ่านโซเชียลมีเดีย............71
แผนภาพที่ 34 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย รายเพศ
เปรียบเทียบตามกิจกรรมหลักที่ทาผ่านโซเชียลมีเดีย............72
แผนภาพที่ 35 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย จาแนกตาม
ประสบการณ์การซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย.......73
แผนภาพที่ 36 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย รายเพศและ
กลุ่มอายุ จาแนกตามประสบการณ์การซื้อสินค้าและบริการ
ผ่านโซเชียลมีเดีย....................................................................74
แผนภาพที่ 37 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย
เปรียบเทียบตามประเภทสินค้าและบริการ...........................76
14
แผนภาพที่ 38 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย
รายเพศ เปรียบเทียบตามสินค้าและบริการที่สนใจ...............77
แผนภาพที่ 39 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย
จาแนกตามมูลค่าการซื้อเฉลี่ยต่อครั้ง.....................................78
แผนภาพที่ 40 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย
รายเพศและกลุ่มอายุ จาแนกตามมูลค่าการสั่งซื้อเฉลี่ย
ต่อครั้ง....................................................................................79
แผนภาพที่ 41 มูลค่าการซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดียเฉลี่ยต่อครั้ง
จาแนกตามเพศ กลุ่มอายุ เขตที่พักอาศัย และอาชีพ............81
แผนภาพที่ 42 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย
จาแนกตามจานวนครั้งที่สั่งซื้อในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา.........82
แผนภาพที่ 43 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย
เปรียบเทียบตามเหตุผลในการซื้อ..........................................83
15
สำรบัญตำรำง
ตารางที่ 1 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามลักษณะทั่วไป
ของบุคคล (เพศ กลุ่มอายุ ที่พักอาศัย การศึกษา อาชีพ
รายได้ครัวเรือน)...........................................................................87
ตารางที่ 2 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล
จาแนกตามจานวนชั่วโมง การใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์............90
ตารางที่ 3 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล
จาแนกตามช่วงเวลา ที่ใช้อินเทอร์เน็ตเป็นส่วนใหญ่
ในแต่ละวัน...................................................................................92
ตารางที่ 4 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล
เปรียบเทียบตามสถานที่ ที่ใช้อินเทอร์เน็ตเป็นส่วนใหญ่..............95
ตารางที่ 5 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล
จาแนกตามอุปกรณ์ที่ใช้บ่อยที่สุดในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต........98
ตารางที่ 6 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล
จาแนกตามประสบการณ์ การใช้ Free WiFi และ
ความพอใจของผู้เคยใช้..............................................................101
ตารางที่ 7 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล
เปรียบเทียบตามกิจกรรม ที่นิยมทาผ่านอินเทอร์เน็ต................104
ตารางที่ 8 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล
เปรียบเทียบตาม ปัญหาของการใช้อินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน.......107
ตารางที่ 9 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล
จาแนกตามประสบการณ์ การใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย........112
16
ตารางที่ 10 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย ในแต่ละลักษณะ
ทั่วไปของบุคคล จาแนกตามอุปกรณ์ ที่ใช้บ่อยที่สุด
ในการเข้าถึงโซเชียลมีเดีย.......................................................114
ตารางที่ 11 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย ในแต่ละลักษณะ
ทั่วไปของบุคคล เปรียบเทียบตามโซเชียลมีเดีย
ที่ใช้บริการเป็นประจา.............................................................117
ตารางที่ 12 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย ในแต่ละลักษณะ
ทั่วไปของบุคคล เปรียบเทียบตามกิจกรรมที่นิยม
ทาผ่านโซเชียลมีเดีย................................................................119
ตารางที่ 13 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย ในแต่ละลักษณะ
ทั่วไปของบุคคล จาแนกตามประสบการณ์
การซื้อสินค้า/บริการผ่านโซเชียลมีเดีย...................................122
ตารางที่ 14 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้า/บริการผ่านโซเชียลมีเดีย
ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล เปรียบเทียบตามประเภท
สินค้า/บริการที่สนใจ...............................................................124
ตารางที่ 15 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้า/บริการผ่านโซเชียลมีเดีย
ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล จาแนกตามมูลค่า
การซื้อโดยเฉลี่ยต่อครั้ง............................................................127
ตารางที่ 16 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้า/บริการผ่านโซเชียลมีเดีย
ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล จาแนกตาม
จานวนครั้งที่สั่งซื้อในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา.............................130
ตารางที่ 17 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้า/บริการผ่านโซเชียลมีเดีย ในแต่ละ
ลักษณะทั่วไปของบุคคล เปรียบเทียบตามเหตุผลที่สั่งซื้อ.......133
17
บทสรุปผู้บริหำร
การสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556 นี้
มีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะและพฤติกรรมการใช้
อินเทอร์เน็ตของคนไทย ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาจากการใช้อินเทอร์เน็ต
รวมถึงการใช้บริการ Free WiFi ตามนโยบายรัฐบาล และพฤติกรรมการใช้
โซเชียลมีเดียในปัจจุบัน เป็นต้น การสารวจแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนแรก เป็นเรื่อง
ข้อมูลพื้นฐานและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต ซึ่งมีแผนจะจัดเก็บข้อมูลอย่าง
ต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี ส่วนที่ 2 เป็นเรื่องพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการ
ผ่านโซเชียลมีเดีย ซึ่งเป็นกระแสนิยมในปัจจุบัน ข้อมูลจากการสารวจนี้จะเป็น
ประโยชน์กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะกลุ่ม
ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และผู้ที่สนใจในการนาไปใช้กาหนด
นโยบายการส่งเสริมการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งการตัดสินใจใน
การประกอบกิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การสารวจครั้งนี้เป็นการสารวจทางอินเทอร์เน็ต ดาเนินการสารวจตั้งแต่
กลางเดือนเมษายนถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม 2556 มีผู้เข้ามาตอบแบบสารวจฯ
จานวนทั้งสิ้น 23,907 คน
ผลกำรสำรวจที่สำคัญ
ข้อมูลลักษณะทั่วไปและพฤติกรรมกำรใช้อินเทอร์เน็ต
จานวนผู้ตอบแบบสารวจฯ ประกอบด้วยผู้ที่อาศัยใน กทม. และ
ต่างจังหวัดในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน และมีการกระจายตัวของเพศ อายุ
การศึกษา อาชีพและรายได้ของครัวเรือน สอดคล้องกับโครงสร้างประชากร
สามารถนาไปวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มได้
สาหรับพฤติกรรมการใช้งานของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนั้น พบว่า ภายใน
ระยะเวลา 12 ปี นับตั้งแต่ปี 2544 ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมีจานวนชั่วโมงการใช้งาน
อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 76.3
18
และในการสารวจครั้งนี้มีถึงร้อยละ 9.0 ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่มีชั่วโมงการใช้งาน
ต่อสัปดาห์สูงถึง 105 ชั่วโมง ส่วนสถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ตนั้น ผู้ที่อาศัยอยู่นอก
เขตเทศบาลในต่างจังหวัด มีสัดส่วนการใช้จากศูนย์ไอซีทีชุมชนหรือสถานที่ที่
ภาครัฐจัดให้มากกว่าผู้ที่อาศัยในเขตเทศบาล และใน กทม. ในด้านอุปกรณ์การ
เข้าถึงอินเทอร์เน็ตนั้น ผู้ใช้มีแนวโน้มหันมาใช้อุปกรณ์ที่สามารถพกพาไปได้ทุก
สถานที่มากขึ้น ทั้งสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตพีซี นอกจากนี้ ยังพบว่ากลุ่มนักเรียน
หรือผู้มีอายุน้อยกว่า 15 ปี และกลุ่มผู้สูงอายุ ใช้แท็บเล็ตพีซีในการเข้าถึง
อินเทอร์เน็ตในสัดส่วนที่สูงกว่ากลุ่มอายุอื่น สาหรับผู้ที่เคยใช้บริการ Free WiFi
ตามนโยบายรัฐบาลนั้น ผู้ที่อาศัยอยู่นอกเขตเทศบาลในต่างจังหวัด มีความพึง
พอใจในบริการดังกล่าวถึงร้อยละ 66.1 ซึ่งสูงกว่าผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาล
และใน กทม.
กิจกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตที่กาลังเป็นที่นิยมเพิ่มขึ้น ได้แก่ การใช้งาน
โซเชียลมีเดีย ในขณะที่กิจกรรมหลักยังคงเป็นการรับส่งอีเมล และการค้นหา
ข้อมูล เช่นเดิม แต่เป็นที่น่ากังวลว่าในกลุ่มเด็กและเยาวชนยังคงนิยมใช้
อินเทอร์เน็ตเพื่อความบันเทิง เช่น เล่นเกมออนไลน์และดาวน์โหลดเพลง/ละคร/
เกม สาหรับปัญหาของการใช้อินเทอร์เน็ต ส่วนใหญ่มีความเห็นว่าความล่าช้า
ของการสื่อสารเป็นปัญหาหลัก ซึ่งแตกต่างจากผลการสารวจฯ ที่ผ่านมา
ที่ปัญหาหลักเป็นเรื่องการระบาดของไวรัสคอมพิวเตอร์ ในประเด็นเรื่องความ
ล่าช้านี้ อาจจะเกิดจากความหลากหลายของแอพพลิเคชั่นการใช้งานใหม่ๆ
ที่ต้องการความจุ ความเร็วของเครือข่ายเพิ่มมากขึ้น
กำรซื้อสินค้ำและบริกำรผ่ำนโซเชียลมีเดีย
จากผลการสารวจพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย
พบว่า ผู้ตอบแบบสารวจฯ ร้อยละ 93.8 เคยใช้บริการต่างๆ ผ่านโซเชียลมีเดีย
และเมื่อนาคนกลุ่มนี้มาวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้บริการต่างๆ ผ่านโซเชียลมีเดีย
จะเห็นได้ว่า อุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงโซเชียลมีเดียบ่อยที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่
สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและคอมพิวเตอร์พกพา เมื่อจาแนกตามกลุ่มอายุ
พบว่า ในแต่ละช่วงอายุจะมีความนิยมในการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่แตกต่าง
19
กันในการเข้าถึงโซเชียลมีเดีย โดยผู้มีอายุ 15 - 19 ปี และผู้มีอายุ 40 ปีขึ้นไป
นิยมเข้าถึงด้วยคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ ส่วนผู้มีอายุ 20 - 24 ปี นิยมเข้าถึงด้วย
คอมพิวเตอร์พกพา ผู้มีอายุ 25 - 39 ปี นิยมเข้าถึงด้วยสมาร์ทโฟน ในขณะที่
เว็บไซต์โซเชียลมีเดียที่มีผู้เลือกตอบมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ Facebook,
Google+ และ Line ทั้งนี้กิจกรรม 3 อันดับแรกที่ผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียล
มีเดียนิยม คือ ใช้เพื่อพูดคุย/แบ่งปันประสบการณ์/ความรู้ ความคิดเห็นต่างๆ
รองลงมา คือ ใช้ติดตามข้อมูลข่าวสารความเคลื่อนไหวให้ทันกับสถานการณ์
ที่กาลังเป็นกระแสนิยม และใช้เพื่ออัพโหลด/แชร์รูปภาพหรือวีดีโอ ตามลาดับ
นอกจากนี้ จากผลการสารวจฯ พบว่า ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ที่เคยใช้
บริการต่างๆ ผ่านโซเชียลมีเดีย เคยซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย ส่วน
ประเภทของสินค้าที่เป็นที่นิยมสั่งซื้อผ่านโซเชียลมีเดียสาหรับเพศหญิง คือ
สินค้าแฟชั่นและเครื่องสาอาง ส่วนเพศชาย นิยมสั่งซื้ออุปกรณ์ไอทีผ่านช่องทาง
ดังกล่าว ในขณะที่มูลค่าการสั่งซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดียเฉลี่ย
ต่อครั้ง จะแตกต่างกันไปตามช่วงอายุ โดยผู้ที่มีอายุน้อยกว่า 15 ปี จะมีมูลค่า
การซื้อสินค้าเฉลี่ยอยู่ที่น้อยกว่า 500 บาท ผู้มีอายุ 15 - 39 ปี จะมีมูลค่าการซื้อ
สินค้าเฉลี่ยอยู่ที่ 501 - 1,000 บาท ส่วนผู้มีอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป จะมีมูลค่าการ
ซื้อสินค้าเฉลี่ยอยู่ที่ 1,001 - 5,000 บาท
20
21
บทนา
การสารวจกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยดาเนินการเป็นประจาทุก
ปีในช่วงปี 2542 – 2553 โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
แห่งชาติ (เนคเทค) แต่เมื่อมีการจัดตั้งสานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจหลัก
ในการส่งเสริมและสนับสนุนการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ
ให้เกิดขึ้นในทุกภาคส่วนอย่างมั่นคงและปลอดภัยขึ้นมา ภารกิจดังกล่าวจึงถูก
โอนย้ายมาที่ สพธอ.
สพธอ. จึงได้จัดทาการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
ปี 2556 ขึ้นเป็นครั้งแรก และมีแผนจะจัดทาต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี ในการ
สารวจนี้เก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน ลักษณะและพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
และมีการผนวกคาถามพิเศษประจาปี โดยในปีนี้เป็นคาถามเกี่ยวกับพฤติกรรม
การซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย ซึ่งเป็นกระแสนิยมในปัจจุบัน ผลการ
สารวจจะเป็นประโยชน์สาหรับหน่วยงานภาครัฐที่จะนาไปใช้ในการวางแผน
กาหนดนโยบายให้สอดคล้องกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกลุ่มต่างๆ ที่มีความแตกต่างใน
เรื่องของเพศ อายุ ถิ่นที่พักอาศัย ระดับการศึกษา อาชีพ เป็นต้น รวมไปถึง
ภาคเอกชน โดยเฉพาะผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่จะใช้ในการ
วางแผนธุรกิจ กาหนดกลยุทธ์การตลาดเพื่อให้ตอบสนองกับกลุ่มเป้าหมาย
วัตถุประสงค์ของกำรสำรวจ
1. เพื่อรวบรวมข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับลักษณะของผู้ใช้และพฤติกรรมการ
ใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยอย่างต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึง
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย
2. เพื่อให้เป็นข้อมูลสาหรับผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่สนใจ
จะเข้ามาลงทุนหรือประกอบธุรกิจออนไลน์ได้เข้าใจพฤติกรรมของผู้บริโภคหรือ
ใช้เพื่อวางแผนการตลาดให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย
22
3. เพื่อนาไปใช้ในการกาหนดนโยบายผลักดันให้การใช้อินเทอร์เน็ต
เป็นไปอย่างแพร่หลายในทิศทางที่เหมาะสม
4. เพื่อสารวจข้อมูลที่เป็นเรื่องที่กาลังได้รับความสนใจในปัจจุบันและมี
ความเกี่ยวข้องกับการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ผลที่ได้จะนาไปเพื่อปรับใช้
ในการวางแผนกลยุทธ์หรือการกาหนดนโยบายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
5. เพื่อเผยแพร่ผลการสารวจดังกล่าวให้แก่หน่วยงานหรือบุคคลอื่นๆ
ไม่ว่าจะเกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการบริการของภาครัฐ การใช้
อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา การทาธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต หรืออื่นๆ ที่จะนาข้อมูล
เหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ได้
วิธีกำรสำรวจ
การสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556 นี้ เป็นการ
สารวจทางอินเทอร์เน็ต โดยแบบสารวจฯ ดังกล่าวจะอยู่ในหน้าเว็บไซต์ต่างๆ
ของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่ให้ความอนุเคราะห์ในการติดแบนเนอร์
รวมทั้งการกระจายแบบสารวจฯ ผ่านช่องทางโซเชียลมีเดีย เช่น Facebook
เพื่อให้ไปถึงกลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึง
การสารวจนี้ ได้ดาเนินการตั้งแต่กลางเดือนเมษายนถึงสิ้นเดือน
พฤษภาคม 2556 มีผู้เข้ามาตอบแบบสารวจฯ จานวนทั้งสิ้น 23,907 คน จากนั้น
นาผลการตอบแบบสารวจฯ ที่ได้ทั้งหมดเข้าสู่กระบวนการประมวลผลโดยใช้
โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ
¢ŒÍÁÙž×é¹°Ò¹
24
25
ส่วนที่ 1 ภำพรวมของผู้ตอบแบบสำรวจฯ
ในการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556 นี้ มีผู้ให้
ความร่วมมือตอบแบบสารวจฯ ผ่านทางเว็บไซต์และช่องทางโซเชียลมีเดีย
จานวนทั้งสิ้น 23,907 คน สามารถแจกแจงลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบสารวจ
ได้เป็นดังนี้
เพศ
ผู้ตอบแบบสารวจฯ ทั้งหมด ประกอบด้วยเพศชายจานวน 11,419 คน
คิดเป็นร้อยละ 47.8 และเพศหญิงจานวน 12,488 คน คิดเป็นร้อยละ 52.2
ดังแสดงในแผนภาพที่ 1
แผนภำพที่ 1 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมเพศ
อำยุ
ผู้ตอบแบบสารวจฯ ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงวัยทางาน โดยช่วงอายุ 40-49 ปี,
30-34 ปี และ 25-39 ปี เข้ามาตอบแบบสารวจฯ สูงเป็นอันดับ 1 – 3 คิดเป็น
ร้อยละ 19.4, 18.0 และ 15.9 ตามลาดับ ส่วนช่วงอายุ 20-24 ปี และ 35-39 ปี
มีสัดส่วนการเข้ามาตอบแบบสารวจฯ ใกล้เคียงกัน กล่าวคือ ร้อยละ 14.9 และ
14.7 ตามลาดับ ในขณะที่กลุ่มนักเรียนนักศึกษาที่มีช่วงอายุน้อยกว่า 20 ปี และ
กลุ่มวัยทางานตอนปลายจนถึงเกษียณอายุที่มีช่วงอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไปเข้ามา
26
ตอบแบบสารวจฯ น้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 6.6 และ 10.6 ตามลาดับ ดังแสดง
ในแผนภาพที่ 2
แผนภำพที่ 2 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมช่วงอำยุ
ที่พักอำศัย
เมื่อพิจารณาที่พักอาศัยของผู้ตอบแบบสารวจฯ พบว่า ผู้ตอบแบบสารวจ
เป็นผู้อยู่ในกรุงเทพมหานคร (กทม.) ร้อยละ 45.8 เป็นผู้อยู่ในต่างจังหวัด
ร้อยละ 54.2 ในจานวนนี้ เป็นผู้ที่อยู่ในเขตเทศบาล ร้อยละ 33.7 และนอกเขต
เทศบาล ร้อยละ 20.5 ดังแสดงในแผนภาพที่ 3
0.8
5.8
14.9
15.9
18.0
14.7
19.49.8
0.8
0 5 10 15 20
< 15
15 - 19
20 - 24
25 - 29
30 - 34
35 - 39
40 - 49
50 - 59
> 60
ร้อยละ
อำยุ (ปี)
27
แผนภำพที่ 3 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมที่พักอำศัย
ระดับกำรศึกษำ
กว่าร้อยละ 60.0 ของผู้ตอบแบบสารวจฯ มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี
รองลงมาเป็นผู้ที่มีการศึกษาในระดับปริญญาโท ระดับปวช./ปวส./ปวท./
อนุปริญญาโดยมีสัดส่วนผู้ตอบแบบสารวจฯ ร้อยละ 24.4 และ 6.6 ตามลาดับ
หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ กว่าร้อยละ 87.9 ของผู้ตอบแบบสารวจฯ ครั้งนี้ เป็นผู้ที่
มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ดังแสดงในแผนภาพที่ 4
กทม., 45.9
จังหวัดอื่น
ในเขตเทศบำล
33.7
จังหวัดอื่น
นอกเขต
เทศบำล, 20.4
ต่ำงจังหวัด,
54.1
28
แผนภำพที่ 4 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมระดับกำรศึกษำ
อำชีพ
ผู้ตอบแบบสารวจฯ ร้อยละ 49.7 ประกอบอาชีพข้าราชการ พนักงาน/
ลูกจ้างของรัฐ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ/องค์กรอิสระ รองลงมาร้อยละ 24.2 และ
16.4 เป็นพนักงาน/ลูกจ้างเอกขนและกลุ่มนักเรียน นักศึกษา ตามลาดับ
ดังแสดงในแผนภาพที่ 5
1.7
3.8
6.6
61.1
24.4
2.4
0 20 40 60
ต่ากว่ามัธยมปลาย
มัธยมปลาย
ปวช./ปวส./ปวท./
อนุปริญญา
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
สูงกว่าปริญญาโท
ร้อยละ
29
แผนภำพที่ 5 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมอำชีพ
จำนวนสมำชิกในครัวเรือนที่ใช้อินเทอร์เน็ต
ผู้ตอบแบบสารวจฯ ร้อยละ 24.2 ระบุว่ามาจากครัวเรือนที่มีสมาชิกที่ใช้
อินเทอร์เน็ตจานวน 4 คน รองลงมา ร้อยละ 19.2 15.9 และ 14.7 มาจาก
ครัวเรือนที่มีสมาชิกที่ใช้อินเทอร์เน็ตจานวน 3 คน 2 คน และ 1 คน ตามลาดับ
ดังแสดงไว้ในแผนภาพที่ 6
49.7
6.1
24.2
16.4
1.4
2.2
0 10 20 30 40 50
ข้าราชการ พนักงานลูกจ้างของรัฐ
/พนักงานรัฐวิสาหกิจ/องค์กรอิสระ
เจ้าของกิจการ/
ประกอบธุรกิจส่วนตัว
พนักงาน/ลูกจ้างเอกชน
นักเรียน/นักศึกษา
แม่บ้าน/พ่อบ้าน
อื่นๆ
ร้อยละ
30
แผนภำพที่ 6 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมจำนวนสมำชิก
ในครัวเรือนที่ใช้อินเทอร์เน็ต
รำยได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน
เมื่อพิจารณารายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนของผู้ตอบแบบสารวจฯ
พบว่า ส่วนใหญ่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน 10,001-50,000 บาท โดย
ลาดับที่ 1 มาจากครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ย 30,001-50,000 บาท คิดเป็นร้อยละ
21.5 ส่วนลาดับที่ 2 มาจากครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ย 10,001-20,000 บาท คิด
เป็นร้อยละ 19.5 และลาดับที่ 3 มาจากครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ย 20,001-
30,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 16.8 ดังแสดงไว้ในแผนภาพที่ 7
14.7
15.9
19.2
24.2
13.7
6.3
6.0
0 5 10 15 20 25
1
2
3
4
5
6
> 6
ร้อยละ
คน
31
แผนภำพที่ 7 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมระดับรำยได้
เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน
6.4
19.5
16.8
21.5
12.6
6.8
5.2
3.7
2.2
5.4
0 5 10 15 20 25
< 10,000
10,001 - 20,000
20,001 - 30,000
30,001 - 50,000
50,001 - 70,000
70,001 - 90,000
90,001 - 110,000
110,001 - 130,000
130,001 - 150,000
> 150,000
ร้อยละ
บำท
32
34
35
ส่วนที่ 2 พฤติกรรมกำรใช้อินเทอร์เน็ต
ในการวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของผู้ตอบแบบสารวจฯ
ข้อมูลจากการสารวจแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย
ในหลากหลายประเด็น ได้แก่ ระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต ช่วงเวลาการใช้
อินเทอร์เน็ต สถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต กิจกรรมที่
กระทาผ่านอินเทอร์เน็ต และปัญหาที่เกิดขึ้นกับการใช้อินเทอร์เน็ต รวมถึงการ
ใช้บริการ Free WiFi ตามนโยบายรัฐบาล โดยมีการเปรียบเทียบกับข้อมูลการ
สารวจพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตซึ่งเคยถูกสารวจมาอย่างต่อเนื่องโดย
เนคเทค เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมของคนไทยที่มีการเปลี่ยนแปลงในช่วง
10 กว่าปีที่ผ่านมา
ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตที่ได้จากการสารวจครั้งนี้
เป็นข้อมูลพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในรอบ 1 สัปดาห์ ก่อนคาบเวลาการ
สารวจ ซึ่งจะนามาวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มผู้ตอบแบบสารวจฯ โดยใช้
ลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบสารวจฯ ได้แก่ เพศ อายุ ที่พักอาศัย การศึกษา
อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน โดยผลการวิเคราะห์จะนาเสนอ
เฉพาะประเด็นสาคัญเท่านั้น หากผู้อ่านต้องการดูรายละเอียดของข้อมูลอื่นๆ
เพิ่มเติม สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมได้จากตารางสถิติในภาคผนวก
ระยะเวลำที่ใช้อินเทอร์เน็ต
จากการสารวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสารวจฯ ส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ต
ต่ากว่า 20 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตน้อยกว่า 11 ชั่วโมงต่อ
สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 35.7 และระหว่าง 11 - 20 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ คิดเป็น
ร้อยละ 25.8 นอกจากนี้ยังพบว่า มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมากกว่า 105 ชั่วโมงต่อ
สัปดาห์ หรือโดยเฉลี่ยมากกว่า 15 ชั่วโมงต่อวัน สูงถึงร้อยละ 9.0 ซึ่งจะเห็น
ได้ว่า อินเทอร์เน็ตกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจาวันของคนกลุ่มนี้ ดังแสดง
ในแผนภาพที่ 8
36
แผนภำพที่ 8 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมจำนวนชั่วโมง
กำรใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดำห์
เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลการสารวจย้อนหลังเป็นระยะเวลา 12 ปี กับ
รายงานผลการสารวจกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยเนคเทค พบว่า
จานวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์มีแนวโน้มสูงขึ้น โดยในปี 2544
มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตน้อยกว่า 10 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 53.6 แต่ในปี
2556 ผู้ใช้ในกลุ่มเดียวกันนี้ มีสัดส่วนลดลง เหลือเพียงร้อยละ 35.7 ในขณะที่
สัดส่วนของผู้ที่ใช้อินเทอร์เน็ตมากกว่า 20 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สูงถึงร้อยละ 38.9
ซึ่งในปี 2544 มีเพียงร้อยละ 18.7 เท่านั้น จึงสรุปได้ว่าภายในระยะเวลา 12 ปี
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมีระยะเวลาในการใช้อินเทอร์เน็ตในชีวิตประจาวันมากขึ้น
เรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง ส่วนหนึ่งเป็นผลพวงมาจากการพัฒนาอุปกรณ์สื่อสาร
ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต และการให้บริการสัญญาณเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
แบบไร้สาย (WiFi) ที่ทาให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้
สะดวกยิ่งขึ้น การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตไม่จาเป็นต้องอยู่เพียงในสถานที่ใดที่หนึ่งอีก
ต่อไป ดังแสดงในแผนภาพที่ 9
35.7
25.8
10.7 11.5
7.3 9.0
0
10
20
30
40
< 11 ชม. 11 – 20 ชม. 21- 41 ชม. 42 – 76 ชม. 77- 105 ชม. > 105 ชม.
ร้อยละ
37
แผนภำพที่ 9 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมจำนวนชั่วโมง
กำรใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดำห์ ปี 2544 – 2556
หมายเหตุ ข้อมูลปี 2544 - 2553 มาจากรายงานผลการสารวจกลุ่มผู้ใช้
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดย เนคเทค
การคานวณค่าเฉลี่ยของจานวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์
ตั้งแต่ปี 2544 - 2556 พบว่า มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก ปี 2544 ผู้ตอบแบบสารวจ
มีระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยประมาณ 18 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ แต่ใน
ปัจจุบัน (ปี 2556) ผู้ตอบแบบสารวจฯ มีระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ย
ประมาณ 32 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือประมาณ 4.6 ชั่วโมงต่อวัน สะท้อนให้เห็น
ได้ว่าอินเทอร์เน็ตมีอิทธิพลต่อคนไทยอย่างมากขึ้นเรื่อยๆ ในช่วงระยะเวลา
12 ปี ระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มสูงขึ้นประมาณร้อยละ 76
ในการเปรียบเทียบการใช้อินเทอร์เน็ตในกลุ่มผู้ตอบแบบสารวจฯ กลุ่ม
ต่างๆ ได้แก่ เพศ อายุ ที่พักอาศัย การศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
ของครัวเรือน ดังแสดงในแผนภาพที่ 10 พบว่า เพศชายมีค่าเฉลี่ยระยะเวลาการ
ใช้อินเทอร์เน็ตสูงกว่าเพศหญิง โดยเพศชายมีระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตโดย
เฉลี่ย 35.1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ในขณะที่เพศหญิงมีระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต
โดยเฉลี่ย 29.7 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
53.6
48.5
49.8
37.4
35.7
27.7
25.7
21.2
23.4
25.8
18.7
25.8
29.1
39.2
38.5
0 20 40 60 80 100
2544
2547
2550
2553
2556
ร้อยละ
ปี
น้อยกว่า 10 ชั่วโมง 11 – 20 ชั่วโมง มากกว่า 20 ชั่วโมง
38
เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบระหว่างผู้พักอาศัยใน กทม. กับผู้พักอาศัย
ในจังหวัดอื่น พบว่า ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่พักอาศัยในบริเวณที่มีความพร้อมของ
โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ที่ดีกว่าจะมีระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต
เฉลี่ยสูงกว่า โดยผู้ที่อาศัยอยู่ใน กทม. มีระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ย
34.2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ในขณะที่ ผู้อยู่ในต่างจังหวัดในเขตเทศบาลและนอกเขต
เทศบาลมีระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ย 31.3 และ 29.6 ชั่วโมงต่อ
สัปดาห์ ตามลาดับ ในด้านระดับการศึกษา และระดับรายได้ของครัวเรือน
พบว่า มีความสัมพันธ์กับค่าเฉลี่ยของระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตในลักษณะ
แปรผันตามกัน โดยผู้ตอบแบบสารวจฯ ที่มีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นจะมี
ระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตสูงขึ้น และระดับรายได้ครัวเรือนที่สูงขึ้น จะมี
ระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตสูงขึ้นเช่นเดียวกัน ดังแสดงในแผนภาพที่ 10
39
แผนภำพที่ 10 จำนวนชั่วโมงกำรใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อสัปดำห์
จำแนกตำมลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบสำรวจฯ
32.3
29.7
35.1
22.1
32.5
36.8
38.2
35.6
32.6
26.7
21.7
20.5
34.2
31.3
29.6
19.7
26.9
25.4
31.5
37.0
39.0
29.6
37.9
35.0
34.9
26.1
31.4
25.3
28.5
29.3
31.5
34.4
35.5
39.0
37.4
39.3
44.8
0 10 20 30 40 50
ค่าเฉลี่ยรวม
หญิง
ชาย
น้อยกว่า 15 ปี
15 - 19 ปี
20 – 24 ปี
25 - 29 ปี
30 – 34 ปี
35 - 39 ปี
40 – 49 ปี
50 - 59 ปี
60 ปีขึ้นไป
กทม.
จังหวัดอื่นในเขตเทศบาล
จังหวัดอื่นนอกเขตเทศบาล
ต่ากว่ามัธยมปลาย
มัธยมปลาย
ปวช./ปวส./ปวท./ปทส./อนุปริญญา
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
สูงกว่าปริญญาโท
ข้าราชการ พนักงานรัฐ
เจ้าของกิจการ/ประกอบธุรกิจส่วนตัว
พนักงาน/ลูกจ้างเอกชน
นักเรียน/นักศึกษา
แม่บ้าน/พ่อบ้าน
อื่นๆ
ต่ากว่า 10,000 บาท
10,001 – 20,000 บาท
20,001 – 30,000 บาท
30,001 – 50,000 บาท
50,001 – 70,000 บาท
70,001 – 90,000 บาท
90,001 – 110,000 บาท
110,001 – 130,000 บาท
130,001 – 150,000 บาท
มากกว่า 150,000 บาท
เพศอายุที่พักอาศัยการศึกษาอาชีพรายได้ครัวเรือน
40
ช่วงเวลำกำรใช้อินเทอร์เน็ต
จากการสารวจเกี่ยวกับช่วงเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ต ซึ่งได้สอบถามผู้ตอบ
แบบสารวจฯ ว่าใช้อินเทอร์เน็ตในช่วงเวลาใดเป็นส่วนใหญ่ พบว่า ผู้ตอบแบบ
สารวจ ใช้อินเทอร์เน็ตสูงสุดในช่วงเวลากลางคืนระหว่างเวลา 20.01-24.00 น.
คิดเป็นร้อยละ 36.9 ในขณะที่ช่วงเวลาที่มีการใช้อินเทอร์เน็ตน้อยที่สุด คือ
ช่วงเวลา 0.01-8.00 น. คิดเป็น ร้อยละ 1.0 เท่านั้น ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาการใช้
อินเทอร์เน็ตในช่วงเวลากลางวัน ระหว่างเวลา 8.01-16.00 น. จะเห็นได้ว่า
เป็นช่วงเวลาที่มีผู้ใช้งานสูงถึงร้อยละ 41.9 ดังแสดงในแผนภาพที่ 11
แผนภำพที่ 11 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมช่วงเวลำ
ที่ใช้อินเทอร์เน็ต
เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลการสารวจย้อนหลังเป็นระยะเวลา 12 ปี
กับรายงานผลการสารวจกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยเนคเทค พบว่า
ช่วงเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ตโดยส่วนใหญ่ของผู้ตอบแบบสารวจฯ มีลักษณะ
ไม่แตกต่างจากเดิมมากนัก กล่าวคือ คนส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ตในช่วงเวลา
กลางคืนระหว่างเวลา 20.01 - 24.00 น. เป็นหลัก แต่ข้อสังเกตที่พบเพิ่มเติม
คือ ในช่วงเวลา 0.01 - 8.00 น. มีจานวนผู้เลือกช่วงเวลาดังกล่าวน้อยลงจาก
20.9 21.0 20.2
36.9
1.0
0
5
10
15
20
25
30
35
40
08.01 - 12.00 น. 12.01 - 16.00 น. 16.01 - 20.00 น. 20.01 - 24.00 น. 00.01 - 08.00 น.
ร้อยละ
41
ในอดีต ซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าเป็นเพราะคุณภาพและความเร็วของอินเทอร์เน็ต
ที่ดีขึ้นทาให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตไม่จาเป็นต้องเลือกใช้เน็ตในช่วงเวลากลางดึก
ซึ่งมีจานวนผู้ใช้น้อยกว่าปกติ ดังแสดงในแผนภาพที่ 12
แผนภำพที่ 12 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมช่วงเวลำ
ที่ใช้อินเทอร์เน็ต ปี 2544 - 2556
หมายเหตุ ข้อมูลปี 2544 - 2553 มาจากรายงานผลการสารวจกลุ่มผู้ใช้
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดย เนคเทค
เมื่อพิจารณาถึงช่วงเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตของผู้ที่อยู่ในกลุ่มอายุต่างๆ
พบว่า กลุ่มระดับวัยเรียนชั้นประถมและมัธยมศึกษาตอนต้น ช่วงอายุน้อยกว่า
15 ปี ใช้อินเทอร์เน็ตสูงในช่วงเวลาหลังเลิกเรียนถึงหัวค่า (เวลา 16.01-20.00
น.) คิดเป็นร้อยละ 41.2, กลุ่มระดับวัยเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายถึง
มหาวิทยาลัย ช่วงอายุ 15-19 ปี และ 20-24 ปี ใช้อินเทอร์เน็ตสูงในช่วงเวลา
กลางคืน (เวลา 20.01-24.00 น.) คิดเป็นร้อยละ 47.0 และ 54.5 ตามลาดับ ดัง
แสดงในแผนภาพที่ 13 จากผลการสารวจสะท้อนให้เห็นว่า เกือบครึ่งของกลุ่ม
เยาวชนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใช้ช่วงเวลากลางคืนหลังเลิกเรียนสาหรับการเข้าถึง
14.8
20.4
17.4
21.1
20.9
20.1
23.2
28.3
21.9
21.0
19.7
19
16.6
16.8
20.2
37.6
33.9
34.7
37.3
36.9
7.8
3.4
2.9
2.9
1.0
0 20 40 60 80 100
2544
2547
2550
2553
2556
ร้อยละ
08.01 - 12.00 น. 12.01 - 16.00 น. 16.01 - 20.00 น.
20.01 - 24.00 น. 00.01 - 08.00 น.
42
อินเทอร์เน็ต เป็นสิ่งที่ผู้ปกครองควรให้ความสนใจว่าบุตรหลานใช้อินเทอร์เน็ต
เพื่อกิจกรรมใดบ้าง เป็นไปในทิศทางที่เหมาะสมหรือไม่
แผนภำพที่ 13 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ รำยกลุ่มอำยุ
จำแนกตำมช่วงเวลำที่ใช้อินเทอร์เน็ต
14.9
6.0
8.0
16.7
22.5
25.4
29.0
30.4
26.4
21.6
17.9
14.5
20.9
22.9
24.1
22.1
22.1
22.0
41.2
27.6
21.1
21.2
20.4
18.2
18.4
17.6
18.1
22.2
47.0
54.5
40.0
33.5
31.4
29.7
29.0
31.9
-
1.5
2.0
1.1
0.7
0.8
0.7
0.9
1.6
0 20 40 60 80 100
< 15 ปี
15 - 19 ปี
20 – 24 ปี
25 - 29 ปี
30 – 34 ปี
35 - 39 ปี
40 – 49 ปี
50 - 59 ปี
> 59 ปี
ร้อยละ
08.01 - 12.00 น. 12.01 - 16.00 น. 16.01 - 20.00 น.
20.01 - 24.00 น. 00.01 - 08.00 น.
43
สถำนที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต
ในเรื่องสถานที่ที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใช้เป็นส่วนใหญ่นั้น จากผลการสารวจ
พบว่า ส่วนใหญ่ใช้ที่บ้านและสถานที่ทางาน คิดเป็นร้อยละ 79.3 และ 61.3
ตามลาดับ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า ในปัจจุบันกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถเข้าถึง
อินเทอร์เน็ตได้จากบ้านได้มากขึ้น ซึ่งน่าจะเป็นผลมาจากการขยายตัวของบริการ
อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่ครอบคลุมพื้นที่ได้มากขึ้นและอาจจะมีอัตราค่าบริการ
ที่ต่าลงด้วย นอกจากนี้ ยังพบว่ามีผู้เคยใช้อินเทอร์เน็ตจากศูนย์ไอซีทีชุมชน หรือ
สถานที่ที่ภาครัฐจัดไว้ให้ คิดเป็นร้อยละ 4.0 นับเป็นก้าวแรกของความสาเร็จใน
การให้บริการโครงสร้างพื้นฐานทางด้านอินเทอร์เน็ต
แม้ว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพียงร้อยละ 5.4 ระบุว่าใช้จากอินเทอร์เน็ต
คาเฟ่ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มอาชีพต่างๆ พบว่า กลุ่มนักเรียน/นักศึกษา
ใช้อินเทอร์เน็ตจากอินเทอร์เน็ตคาเฟ่ ในสัดส่วนสูงที่สุด คือร้อยละ 12.2 ในขณะ
ที่กลุ่มอาชีพอื่นใช้น้อยกว่าร้อยละ 6.0 ซึ่งผู้ที่เกี่ยวข้องควรจะให้ความสาคัญและ
วางมาตรการดูแลการให้บริการของสถานที่ดังกล่าวอย่างเข้มงวด เพื่อป้องกัน
ไม่ให้เยาวชนใช้อินเทอร์เน็ตอย่างไม่เหมาะสมได้โดยง่าย ดังแสดงในแผนภาพที่
14
44
แผนภำพที่ 14 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ เปรียบเทียบตำมสถำนที่
ที่ใช้อินเทอร์เน็ต
หมายเหตุ เลือกตอบได้มากกว่า 1 ข้อ
สัดส่วนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่พักอาศัยอยู่นอกเขตเทศบาลที่มีการใช้
อินเทอร์เน็ตในสถานศึกษา อินเทอร์เน็ตคาเฟ่ และศูนย์ไอซีทีชุมชน คิดเป็น
ร้อยละ 20.2, 7.0 และ 5.3 ตามลาดับ ซึ่งสูงกว่าผู้ที่พักอาศัยอยู่ใน กทม. และ
ผู้ที่พักอาศัยอยู่ในเขตเทศบาล แสดงว่า ผู้ที่พักอาศัยอยู่นอกเขตเทศบาลยังต้อง
พึ่งบริการอินเทอร์เน็ตในสถานที่อื่นๆ นอกเหนือจากบ้านและสถานที่ทางาน
มากกว่าผู้ที่อาศัยอยู่ใน กทม.และในเขตเทศบาล ดังแสดงในแผนภาพที่ 15
79.3
61.3
14.0
5.4 4.0 4.9
0
20
40
60
80
ร้อยละ
45
แผนภำพที่ 15 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ รำยเขตที่พักอำศัย
เปรียบเทียบตำมสถำนที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต
อุปกรณ์กำรเข้ำถึงอินเทอร์เน็ต
เมื่อถามถึงชนิดของอุปกรณ์ที่ใช้เข้าถึงอินเทอร์เน็ต อันได้แก่
คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา สมาร์ทโฟน และแท็บเล็ตพีซี เป็นต้น
โดยให้ผู้ตอบเลือกตอบได้ 3 ชนิด เรียงตามลาดับความสาคัญ ผลการสารวจใน
ภาพรวม พบว่า อุปกรณ์ที่ใช้กันมากในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ได้แก่
คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา และสมาร์ทโฟน คิดเป็นร้อยละ 77.5,
67.9 และ 69.5 ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ตามลาดับ ส่วนแท็บเล็ตพีซีมีผู้ใช้ ร้อยละ
35.3 ดังแสดงในแผนภาพที่ 16 การที่มีการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านทางอุปกรณ์
เคลื่อนที่ในสัดส่วนที่สูง ซึ่งสอดคล้องกับ ผลการสารวจฯ ดังแผนภาพที่ 14
ที่พบว่า ร้อยละ 4.9 ของผู้ตอบแบบสารวจฯ ระบุว่าใช้อินเทอร์เน็ตจากสถานที่
อื่นๆ ที่ไม่ใช่ที่บ้านและสถานที่ทางานฯ นั้น ส่วนหนึ่งอาจจะเนื่องมาจาก
ในปัจจุบันการใช้อินเทอร์เน็ตไม่ได้ถูกจากัดเฉพาะที่ เช่น ที่บ้าน สถานที่ทางาน
หรือสถานศึกษาเท่านั้น แต่ยังสามารถใช้อินเทอร์เน็ตจากที่อื่นๆ ได้ทุกที่
ผ่านบริการ WiFi การให้บริการระบบ 3G และ Edge ของผู้ให้บริการโทรศัพท์
10.4
4.7 3.1
15.0
5.5 4.4
20.2
7.0 5.3
0
5
10
15
20
สถานศึกษา อินเทอร์เน็ตคาเฟ่ ศูนย์ไอซีทีชุมชน
ร้อยละ
กทม. จังหวัดอื่นในเขตเทศบาล จังหวัดอื่นนอกเขตเทศบาล
46
เคลื่อนที่ เช่น การใช้อินเทอร์เน็ตในระหว่างเดินทาง ในห้างสรรพสินค้า ใน
ร้านอาหาร หรือตามสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ เป็นต้น
แผนภำพที่ 16 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ เปรียบเทียบตำม
อุปกรณ์ที่ใช้ในกำรเข้ำถึงอินเทอร์เน็ต ปี 2555 - 2556
หมายเหตุ เลือกตอบได้มากกว่า 1 ข้อ และข้อมูล ICT2555 มาจากรายงานการ
สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน
พ.ศ.2555 โดยสานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร
ในเรื่องอุปกรณ์การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตที่ใช้บ่อยที่สุดนั้น ผู้ตอบแบบ
สารวจร้อยละ 45.0 ระบุว่า ได้แก่ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ รองลงมาคือ
คอมพิวเตอร์พกพา สมาร์ทโฟน และแท็บเล็ตพีซี โดยมีผู้ระบุว่าใช้บ่อยที่สุดร้อย
ละ 25.3, ร้อยละ 22.7, และร้อยละ 6.8 ตามลาดับ ดังแสดงในแผนภาพที่ 17
92.1
36.1
12.2 3.2 0.4
77.5 67.9 69.5
35.3
2.3
0
20
40
60
80
100
คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา สมาร์ทโฟน แท็บเล็ตพีซี อื่นๆ
ร้อยละ
ICT2555 internet user profile 2556
47
แผนภำพที่ 17 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมอุปกรณ์
ที่ใช้บ่อยที่สุดในกำรเข้ำถึงอินเทอร์เน็ต
และเมื่อเปรียบเทียบการใช้อุปกรณ์การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตที่ใช้บ่อยที่สุด
อันดับหนึ่งระหว่างผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกลุ่มอายุต่างๆ พบว่า ทุกกลุ่มยังคงระบุว่า
ใช้คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะบ่อยที่สุด ยกเว้น กลุ่มอายุ 20-24 ปี ที่ระบุว่าเป็น
คอมพิวเตอร์พกพา คิดเป็นร้อยละ 37.9 และนอกจากนี้ ยังพบว่าการใช้สมาร์ท
โฟนได้รับความนิยมสูงสุดในกลุ่มอายุ 25-29 ปี และการใช้แท็บเล็ต
พีซีเป็นที่นิยมในกลุ่มผู้มีอายุ 60 ปีขึ้นไป และผู้ที่มีอายุน้อยกว่า 15 ปี ซึ่งกรณี
หลังนี้ อาจจะเนื่องมาจากผลของนโยบายการแจกแท็บเล็ตพีซีให้นักเรียน ดัง
แสดงในแผนภาพที่ 18
คอมพิวเตอร์ตั้ง
โต๊ะ, 45.0%
คอมพิวเตอร์
พกพำ, 25.3%
สมำร์ทโฟน,
22.7%
แท็บเล็ตพีซี,
6.8%
อื่นๆ, 0.2%
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013

Contenu connexe

Similaire à Thailand Internet User Profile 2013

Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)Morraget Morraget
 
Thailand internet user profile 2014
Thailand internet user profile 2014Thailand internet user profile 2014
Thailand internet user profile 2014Peerasak C.
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
Thailand internet user_profile_2018_th
Thailand internet user_profile_2018_thThailand internet user_profile_2018_th
Thailand internet user_profile_2018_thETDAofficialRegist
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารMapowzee Dahajee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsmileoic
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2sawitri555
 
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-2019083102 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-20190831thanaruk theeramunkong
 
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAsina Pornwasin
 

Similaire à Thailand Internet User Profile 2013 (20)

Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
 
Cyber threat alerts 2011
Cyber threat alerts 2011Cyber threat alerts 2011
Cyber threat alerts 2011
 
Ict
IctIct
Ict
 
Thailand internet user profile 2014
Thailand internet user profile 2014Thailand internet user profile 2014
Thailand internet user profile 2014
 
200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Thailand internet user_profile_2018_th
Thailand internet user_profile_2018_thThailand internet user_profile_2018_th
Thailand internet user_profile_2018_th
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2
 
STKS Handbook
STKS HandbookSTKS Handbook
STKS Handbook
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-2019083102 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
 
Ifbl handbook
Ifbl handbookIfbl handbook
Ifbl handbook
 
Thailand E commerce survey 2015
Thailand E commerce survey 2015 Thailand E commerce survey 2015
Thailand E commerce survey 2015
 
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
e-Government Thailand
e-Government Thailande-Government Thailand
e-Government Thailand
 

Plus de Boonlert Aroonpiboon

Plus de Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandMOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
 

Thailand Internet User Profile 2013

  • 1.
  • 2. 1 ชื่อเรื่อง รายงานผลการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556 Thailand Internet User Profile 2013 เรียบเรียงโดย ส่วนงานดัชนีและสารวจ สานักนโยบายและส่งเสริมธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เลข ISBN ISBN 978-974-9765-47-0 พิมพ์ครั้งที่ 1 มิถุนายน 2556 พิมพ์จำนวน 1,500 เล่ม รำคำ 120 บาท สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย ร่วมสนับสนุนโดย สำนักงำนพัฒนำธุรกรรมทำงอิเล็กทรอนิกส์ (องค์กำรมหำชน) หรือ สพธอ. เลขที่ 120 หมู่ 3 ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 อาคารรัฐประศาสนภักดี (อาคารบี) ชั้น 7 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ 0-2142-1160 โทรสาร 0-2143-8071 www.etda.or.th สำนักงำนคณะกรรมกำรธุรกรรมทำงอิเล็กทรอนิกส์ www.etcommission.go.th กระทรวงเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร www.mict.go.th สมำคมผู้ประกอบกำรพำณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไทย www.thaiecommerce.org
  • 3. 2
  • 4. 3 คำนำ ปัจจุบัน อินเทอร์เน็ตเข้ามามี บทบาทค่อนข้างมากในชีวิตประจาวัน ของคนเรา ทั้งในเรื่องของการศึกษา การปฏิบัติหน้าที่การงานของภาครัฐ ภาคเอกชน การดาเนินธุรกิจ รวมทั้ง การบันเทิงและนันทนาการ เป็นต้น การนาอินเทอร์เน็ตไปใช้นั้น หากนาไปใช้ในทางที่ถูกที่ควรก็จะ ก่อให้เกิดคุณประโยชน์เอนกอนันต์ และการกาหนดนโยบายด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) เพื่อให้เกิดประโยชน์กับตัวท่าน และประเทศชาติมากที่สุด จาเป็นที่ จะต้องมีข้อมูลส่วนหนึ่งเพื่อใช้สะท้อน พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต จากภาคประชาชนทุกกลุ่ม เพื่อให้การกาหนดนโยบายดังกล่าวสามารถตอบ โจทย์และตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง รวมไปถึงการใช้ เป็นข้อมูลประกอบการเตรียมความพร้อมด้าน ICT ของประเทศไทยเพื่อเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ในปี 2558 นี้ สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. ซึ่งมีภารกิจหลักในการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการทาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ ให้เป็นไปตามความต้องการโครงสร้างพื้นฐาน สารสนเทศที่เอื้อต่อการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และธุรกิจบริการเกี่ยวกับ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนการมีมาตรฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารที่มีความมั่นคงปลอดภัยและน่าเชื่อถือ จึงได้จัดให้มีการสารวจ พฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556 (Thailand Internet User
  • 5. 4 Profile 2013) ขึ้นมา เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลลักษณะของผู้ใช้และพฤติกรรมการ ใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยไว้เป็นฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ลักษณะของ ผู้ใช้งานและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต โดยมีแผนจะจัดทาการสารวจนี้เป็น ประจาอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยข้อถามหลักจะคงไว้เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถนา ข้อมูลไปใช้วิเคราะห์ผลเชิงเปรียบเทียบได้ แต่จะเพิ่มข้อถามเฉพาะสาหรับการ สารวจในแต่ละปีในเรื่องที่กาลังได้รับความสนใจอยู่ในขณะนั้น โดยในปีนี้ได้มีการ เพิ่มข้อถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย ซึ่งเป็นประเด็นที่อยู่ในกระแสนิยมในปัจจุบัน และมีความเกี่ยวข้องกับธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ อนึ่ง การสารวจครั้งนี้เป็นการสารวจผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยผู้ตอบจะ เข้ามาตอบด้วยความสมัครใจ (Self-Selection) แม้ว่าโดยระเบียบวิธีทาง วิชาการทางสถิติแล้ว ข้อมูลที่ประมวลผลได้ไม่ถือว่าเป็นตัวแทนของผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตทั้งประเทศไทย แต่เนื่องจากมีผู้ให้ความร่วมมือกับการสารวจครั้งนี้ โดยสมัครใจเข้ามาให้ข้อมูลในแบบสารวจฯ มากถึง 23,907 คน ผลการประมาณ ค่าจึงสามารถใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงถึงพฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ต รวมถึง พฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการผ่านช่องทางโซเชียลมีเดียได้ในระดับหนึ่ง นอกจากนี้ในการประมวลผลและวิเคราะห์ผลยังมีการจัดตั้งคณะทางานซึ่งมา จากหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์สอดคล้องกับการ ดาเนินการสารวจครั้งนี้ พร้อมทาการศึกษางานสารวจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง จากหน่วยงานที่เคยจัดทาไว้ เช่น ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (เนคเทค) และสานักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) เพื่อให้ผลการสารวจ ครั้งนี้มีความถูกต้องแม่นยาตามหลักวิชาการ ในการสารวจครั้งนี้ได้รับความอนุเคราะห์เป็นอย่างดีจากหน่วยงาน ภาครัฐและภาคเอกชนในการประชาสัมพันธ์ติดป้ายประกาศ (Banner) เชิญชวน ให้มีผู้เข้ามาตอบแบบสารวจฯ จากเว็บไซต์หลายแห่ง รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ ให้เจ้าหน้าที่/พนักงานภายใต้สังกัดหน่วยงานได้ร่วมตอบแบบสารวจฯ นี้ด้วย
  • 6. 5 ดังมีรายชื่อในภาคผนวกท้ายเล่ม สพธอ.จึงขอขอบพระคุณหน่วยงานดังกล่าว ไว้ ณ ที่นี้ และหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์กับหน่วยงานต่างๆ ทั้ง ภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะกลุ่มผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และผู้ที่สนใจโดยทั่วไป สุรางคณา วายุภาพ ผู้อานวยการ สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) มิถุนายน 2556
  • 7. 6
  • 8. 7 สำรบัญ คานา...................................................................................................................3 สารบัญแผนภาพ...............................................................................................11 สารบัญตาราง...................................................................................................15 บทสรุปผู้บริหาร................................................................................................17 ผลการสารวจที่สาคัญ...................................................................................17 ข้อมูลลักษณะทั่วไปและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต................................17 การซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย...................................................18 บทนา................................................................................................................21 วัตถุประสงค์ของการสารวจ.........................................................................21 วิธีการสารวจ................................................................................................22 ส่วนที่ 1 ภาพรวมของผู้ตอบแบบสารวจฯ........................................................25 เพศ...............................................................................................................25 อายุ...............................................................................................................25 ที่พักอาศัย....................................................................................................26 ระดับการศึกษา............................................................................................27 อาชีพ............................................................................................................28 จานวนสมาชิกในครัวเรือนที่ใช้อินเทอร์เน็ต.................................................29 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน................................................................30 ส่วนที่ 2 พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต.............................................................35
  • 9. 8 ระยะเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ต ..........................................................................35 ช่วงเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต.........................................................................40 สถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต...............................................................................43 อุปกรณ์การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ....................................................................45 การใช้บริการ Free WiFi ตามนโยบายรัฐบาล ............................................48 กิจกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ต...................................................................51 ความเห็นเกี่ยวกับปัญหาของการใช้งานอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน..................54 ส่วนที่ 3 พฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย........................59 การใช้บริการโซเชียลมีเดีย...........................................................................62 อุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงโซเชียลมีเดีย.........................................................65 โซเชียลมีเดียที่ใช้บริการเป็นประจา.............................................................68 กิจกรรมหลักที่ทาผ่านโซเชียลมีเดีย.............................................................70 ประสบการณ์การซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย.............................73 ประเภทสินค้าและบริการที่ซื้อผ่านโซเชียลมีเดีย.........................................75 มูลค่าการซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย..........................................77 ความถี่ในการซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย ในช่วง 3 เดือน ที่ผ่านมา.......................................................................................................82 เหตุผลที่สั่งซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย.......................................83 ภาคผนวก.........................................................................................................87
  • 11. 10
  • 12. 11 สำรบัญแผนภำพ แผนภาพที่ 1 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามเพศ.......................25 แผนภาพที่ 2 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามช่วงอายุ................26 แผนภาพที่ 3 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามที่พักอาศัย............27 แผนภาพที่ 4 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามระดับการศึกษา....28 แผนภาพที่ 5 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามอาชีพ....................29 แผนภาพที่ 6 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามจานวนสมาชิก ในครัวเรือนที่ใช้อินเทอร์เน็ต.....................................................30 แผนภาพที่ 7 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามระดับรายได้เฉลี่ย ต่อเดือนของครัวเรือน...............................................................31 แผนภาพที่ 8 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามจานวนชั่วโมง การใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์...................................................36 แผนภาพที่ 9 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามจานวนชั่วโมง การใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์ ปี 2544 – 2556.......................37 แผนภาพที่ 10 จานวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อสัปดาห์ จาแนกตามลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบสารวจฯ.................39 แผนภาพที่ 11 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามช่วงเวลา ที่ใช้อินเทอร์เน็ต.....................................................................40 แผนภาพที่ 12 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามช่วงเวลา ที่ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบระหว่างปี 2544 - 2556.........41 แผนภาพที่ 13 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ รายกลุ่มอายุ จาแนกตาม ช่วงเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ต.......................................................42 แผนภาพที่ 14 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ เปรียบเทียบตามสถานที่ ที่ใช้อินเทอร์เน็ต.....................................................................44
  • 13. 12 แผนภาพที่ 15 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ รายเขตที่พักอาศัย เปรียบเทียบตามสถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต..............................45 แผนภาพที่ 16 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ เปรียบเทียบตาม อุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ปี 2555 - 2556........46 แผนภาพที่ 17 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามอุปกรณ์ ที่ใช้บ่อยที่สุดในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต..................................47 แผนภาพที่ 18 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ รายกลุ่มอายุ จาแนกตามอุปกรณ์ที่ใช้บ่อยที่สุดในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต..48 แผนภาพที่ 19 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามประสบการณ์ และความพอใจในการใช้บริการ Free WiFi..........................49 แผนภาพที่ 20 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ที่เคยใช้ Free WiFi และผู้ที่พอใจในการใช้ Free WiFi รายกลุ่มอายุ....................50 แผนภาพที่ 21 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ที่เคยใช้บริการ Free WiFi รายเขตที่พักอาศัย จาแนกตามความพอใจในการใช้.............51 แผนภาพที่ 22 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ เปรียบเทียบตามกิจกรรม การใช้งานอินเทอร์เน็ต...........................................................52 แผนภาพที่ 23 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ รายกลุ่มอายุ เปรียบเทียบตามกิจกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ต..................53 แผนภาพที่ 24 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ เปรียบเทียบตาม ปัญหาที่พบจากการใช้อินเทอร์เน็ต........................................54 แผนภาพที่ 25 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ เปรียบเทียบตามความเห็น เกี่ยวกับปัญหาจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต ปี 2547-2556....56 แผนภาพที่ 26 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามประสบการณ์ การใช้บริการโซเชียลมีเดีย.....................................................63
  • 14. 13 แผนภาพที่ 27 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ รายกลุ่มอายุและอาชีพ จาแนกตามประสบการณ์การใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย......64 แผนภาพที่ 28 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตและผู้เคยใช้บริการผ่าน โซเชียลมีเดีย เปรียบเทียบตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึง ......65 แผนภาพที่ 29 ร้อยละของผู้ใช้การใช้สมาร์ทโฟนเป็นหลักในการเข้าถึง โซเชียลมีเดีย รายกลุ่มอายุ เขตที่พักอาศัย และอาชีพ..........67 แผนภาพที่ 30 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย เปรียบเทียบ ตามโซเชียลมีเดียที่ใช้บริการเป็นประจา................................68 แผนภาพที่ 31 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย รายเขตที่พักอาศัย เปรียบเทียบตามโซเชียลมีเดียที่ใช้บริการเป็นประจา............69 แผนภาพที่ 32 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย รายกลุ่มอายุ เปรียบเทียบตามโซเชียลมีเดียที่ใช้บริการเป็นประจา............70 แผนภาพที่ 33 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย เปรียบเทียบตามกิจกรรมหลักที่ทาผ่านโซเชียลมีเดีย............71 แผนภาพที่ 34 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย รายเพศ เปรียบเทียบตามกิจกรรมหลักที่ทาผ่านโซเชียลมีเดีย............72 แผนภาพที่ 35 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย จาแนกตาม ประสบการณ์การซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย.......73 แผนภาพที่ 36 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย รายเพศและ กลุ่มอายุ จาแนกตามประสบการณ์การซื้อสินค้าและบริการ ผ่านโซเชียลมีเดีย....................................................................74 แผนภาพที่ 37 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย เปรียบเทียบตามประเภทสินค้าและบริการ...........................76
  • 15. 14 แผนภาพที่ 38 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย รายเพศ เปรียบเทียบตามสินค้าและบริการที่สนใจ...............77 แผนภาพที่ 39 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย จาแนกตามมูลค่าการซื้อเฉลี่ยต่อครั้ง.....................................78 แผนภาพที่ 40 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย รายเพศและกลุ่มอายุ จาแนกตามมูลค่าการสั่งซื้อเฉลี่ย ต่อครั้ง....................................................................................79 แผนภาพที่ 41 มูลค่าการซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดียเฉลี่ยต่อครั้ง จาแนกตามเพศ กลุ่มอายุ เขตที่พักอาศัย และอาชีพ............81 แผนภาพที่ 42 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย จาแนกตามจานวนครั้งที่สั่งซื้อในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา.........82 แผนภาพที่ 43 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย เปรียบเทียบตามเหตุผลในการซื้อ..........................................83
  • 16. 15 สำรบัญตำรำง ตารางที่ 1 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ จาแนกตามลักษณะทั่วไป ของบุคคล (เพศ กลุ่มอายุ ที่พักอาศัย การศึกษา อาชีพ รายได้ครัวเรือน)...........................................................................87 ตารางที่ 2 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล จาแนกตามจานวนชั่วโมง การใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์............90 ตารางที่ 3 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล จาแนกตามช่วงเวลา ที่ใช้อินเทอร์เน็ตเป็นส่วนใหญ่ ในแต่ละวัน...................................................................................92 ตารางที่ 4 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล เปรียบเทียบตามสถานที่ ที่ใช้อินเทอร์เน็ตเป็นส่วนใหญ่..............95 ตารางที่ 5 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล จาแนกตามอุปกรณ์ที่ใช้บ่อยที่สุดในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต........98 ตารางที่ 6 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล จาแนกตามประสบการณ์ การใช้ Free WiFi และ ความพอใจของผู้เคยใช้..............................................................101 ตารางที่ 7 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล เปรียบเทียบตามกิจกรรม ที่นิยมทาผ่านอินเทอร์เน็ต................104 ตารางที่ 8 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล เปรียบเทียบตาม ปัญหาของการใช้อินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน.......107 ตารางที่ 9 ร้อยละของผู้ตอบแบบสารวจฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล จาแนกตามประสบการณ์ การใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย........112
  • 17. 16 ตารางที่ 10 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย ในแต่ละลักษณะ ทั่วไปของบุคคล จาแนกตามอุปกรณ์ ที่ใช้บ่อยที่สุด ในการเข้าถึงโซเชียลมีเดีย.......................................................114 ตารางที่ 11 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย ในแต่ละลักษณะ ทั่วไปของบุคคล เปรียบเทียบตามโซเชียลมีเดีย ที่ใช้บริการเป็นประจา.............................................................117 ตารางที่ 12 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย ในแต่ละลักษณะ ทั่วไปของบุคคล เปรียบเทียบตามกิจกรรมที่นิยม ทาผ่านโซเชียลมีเดีย................................................................119 ตารางที่ 13 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียลมีเดีย ในแต่ละลักษณะ ทั่วไปของบุคคล จาแนกตามประสบการณ์ การซื้อสินค้า/บริการผ่านโซเชียลมีเดีย...................................122 ตารางที่ 14 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้า/บริการผ่านโซเชียลมีเดีย ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล เปรียบเทียบตามประเภท สินค้า/บริการที่สนใจ...............................................................124 ตารางที่ 15 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้า/บริการผ่านโซเชียลมีเดีย ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล จาแนกตามมูลค่า การซื้อโดยเฉลี่ยต่อครั้ง............................................................127 ตารางที่ 16 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้า/บริการผ่านโซเชียลมีเดีย ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล จาแนกตาม จานวนครั้งที่สั่งซื้อในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา.............................130 ตารางที่ 17 ร้อยละของผู้เคยซื้อสินค้า/บริการผ่านโซเชียลมีเดีย ในแต่ละ ลักษณะทั่วไปของบุคคล เปรียบเทียบตามเหตุผลที่สั่งซื้อ.......133
  • 18. 17 บทสรุปผู้บริหำร การสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556 นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะและพฤติกรรมการใช้ อินเทอร์เน็ตของคนไทย ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาจากการใช้อินเทอร์เน็ต รวมถึงการใช้บริการ Free WiFi ตามนโยบายรัฐบาล และพฤติกรรมการใช้ โซเชียลมีเดียในปัจจุบัน เป็นต้น การสารวจแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนแรก เป็นเรื่อง ข้อมูลพื้นฐานและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต ซึ่งมีแผนจะจัดเก็บข้อมูลอย่าง ต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี ส่วนที่ 2 เป็นเรื่องพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการ ผ่านโซเชียลมีเดีย ซึ่งเป็นกระแสนิยมในปัจจุบัน ข้อมูลจากการสารวจนี้จะเป็น ประโยชน์กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะกลุ่ม ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และผู้ที่สนใจในการนาไปใช้กาหนด นโยบายการส่งเสริมการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งการตัดสินใจใน การประกอบกิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การสารวจครั้งนี้เป็นการสารวจทางอินเทอร์เน็ต ดาเนินการสารวจตั้งแต่ กลางเดือนเมษายนถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม 2556 มีผู้เข้ามาตอบแบบสารวจฯ จานวนทั้งสิ้น 23,907 คน ผลกำรสำรวจที่สำคัญ ข้อมูลลักษณะทั่วไปและพฤติกรรมกำรใช้อินเทอร์เน็ต จานวนผู้ตอบแบบสารวจฯ ประกอบด้วยผู้ที่อาศัยใน กทม. และ ต่างจังหวัดในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน และมีการกระจายตัวของเพศ อายุ การศึกษา อาชีพและรายได้ของครัวเรือน สอดคล้องกับโครงสร้างประชากร สามารถนาไปวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มได้ สาหรับพฤติกรรมการใช้งานของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนั้น พบว่า ภายใน ระยะเวลา 12 ปี นับตั้งแต่ปี 2544 ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมีจานวนชั่วโมงการใช้งาน อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 76.3
  • 19. 18 และในการสารวจครั้งนี้มีถึงร้อยละ 9.0 ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่มีชั่วโมงการใช้งาน ต่อสัปดาห์สูงถึง 105 ชั่วโมง ส่วนสถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ตนั้น ผู้ที่อาศัยอยู่นอก เขตเทศบาลในต่างจังหวัด มีสัดส่วนการใช้จากศูนย์ไอซีทีชุมชนหรือสถานที่ที่ ภาครัฐจัดให้มากกว่าผู้ที่อาศัยในเขตเทศบาล และใน กทม. ในด้านอุปกรณ์การ เข้าถึงอินเทอร์เน็ตนั้น ผู้ใช้มีแนวโน้มหันมาใช้อุปกรณ์ที่สามารถพกพาไปได้ทุก สถานที่มากขึ้น ทั้งสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตพีซี นอกจากนี้ ยังพบว่ากลุ่มนักเรียน หรือผู้มีอายุน้อยกว่า 15 ปี และกลุ่มผู้สูงอายุ ใช้แท็บเล็ตพีซีในการเข้าถึง อินเทอร์เน็ตในสัดส่วนที่สูงกว่ากลุ่มอายุอื่น สาหรับผู้ที่เคยใช้บริการ Free WiFi ตามนโยบายรัฐบาลนั้น ผู้ที่อาศัยอยู่นอกเขตเทศบาลในต่างจังหวัด มีความพึง พอใจในบริการดังกล่าวถึงร้อยละ 66.1 ซึ่งสูงกว่าผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาล และใน กทม. กิจกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตที่กาลังเป็นที่นิยมเพิ่มขึ้น ได้แก่ การใช้งาน โซเชียลมีเดีย ในขณะที่กิจกรรมหลักยังคงเป็นการรับส่งอีเมล และการค้นหา ข้อมูล เช่นเดิม แต่เป็นที่น่ากังวลว่าในกลุ่มเด็กและเยาวชนยังคงนิยมใช้ อินเทอร์เน็ตเพื่อความบันเทิง เช่น เล่นเกมออนไลน์และดาวน์โหลดเพลง/ละคร/ เกม สาหรับปัญหาของการใช้อินเทอร์เน็ต ส่วนใหญ่มีความเห็นว่าความล่าช้า ของการสื่อสารเป็นปัญหาหลัก ซึ่งแตกต่างจากผลการสารวจฯ ที่ผ่านมา ที่ปัญหาหลักเป็นเรื่องการระบาดของไวรัสคอมพิวเตอร์ ในประเด็นเรื่องความ ล่าช้านี้ อาจจะเกิดจากความหลากหลายของแอพพลิเคชั่นการใช้งานใหม่ๆ ที่ต้องการความจุ ความเร็วของเครือข่ายเพิ่มมากขึ้น กำรซื้อสินค้ำและบริกำรผ่ำนโซเชียลมีเดีย จากผลการสารวจพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย พบว่า ผู้ตอบแบบสารวจฯ ร้อยละ 93.8 เคยใช้บริการต่างๆ ผ่านโซเชียลมีเดีย และเมื่อนาคนกลุ่มนี้มาวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้บริการต่างๆ ผ่านโซเชียลมีเดีย จะเห็นได้ว่า อุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงโซเชียลมีเดียบ่อยที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและคอมพิวเตอร์พกพา เมื่อจาแนกตามกลุ่มอายุ พบว่า ในแต่ละช่วงอายุจะมีความนิยมในการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่แตกต่าง
  • 20. 19 กันในการเข้าถึงโซเชียลมีเดีย โดยผู้มีอายุ 15 - 19 ปี และผู้มีอายุ 40 ปีขึ้นไป นิยมเข้าถึงด้วยคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ ส่วนผู้มีอายุ 20 - 24 ปี นิยมเข้าถึงด้วย คอมพิวเตอร์พกพา ผู้มีอายุ 25 - 39 ปี นิยมเข้าถึงด้วยสมาร์ทโฟน ในขณะที่ เว็บไซต์โซเชียลมีเดียที่มีผู้เลือกตอบมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ Facebook, Google+ และ Line ทั้งนี้กิจกรรม 3 อันดับแรกที่ผู้เคยใช้บริการผ่านโซเชียล มีเดียนิยม คือ ใช้เพื่อพูดคุย/แบ่งปันประสบการณ์/ความรู้ ความคิดเห็นต่างๆ รองลงมา คือ ใช้ติดตามข้อมูลข่าวสารความเคลื่อนไหวให้ทันกับสถานการณ์ ที่กาลังเป็นกระแสนิยม และใช้เพื่ออัพโหลด/แชร์รูปภาพหรือวีดีโอ ตามลาดับ นอกจากนี้ จากผลการสารวจฯ พบว่า ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ที่เคยใช้ บริการต่างๆ ผ่านโซเชียลมีเดีย เคยซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย ส่วน ประเภทของสินค้าที่เป็นที่นิยมสั่งซื้อผ่านโซเชียลมีเดียสาหรับเพศหญิง คือ สินค้าแฟชั่นและเครื่องสาอาง ส่วนเพศชาย นิยมสั่งซื้ออุปกรณ์ไอทีผ่านช่องทาง ดังกล่าว ในขณะที่มูลค่าการสั่งซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดียเฉลี่ย ต่อครั้ง จะแตกต่างกันไปตามช่วงอายุ โดยผู้ที่มีอายุน้อยกว่า 15 ปี จะมีมูลค่า การซื้อสินค้าเฉลี่ยอยู่ที่น้อยกว่า 500 บาท ผู้มีอายุ 15 - 39 ปี จะมีมูลค่าการซื้อ สินค้าเฉลี่ยอยู่ที่ 501 - 1,000 บาท ส่วนผู้มีอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป จะมีมูลค่าการ ซื้อสินค้าเฉลี่ยอยู่ที่ 1,001 - 5,000 บาท
  • 21. 20
  • 22. 21 บทนา การสารวจกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยดาเนินการเป็นประจาทุก ปีในช่วงปี 2542 – 2553 โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (เนคเทค) แต่เมื่อมีการจัดตั้งสานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจหลัก ในการส่งเสริมและสนับสนุนการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ ให้เกิดขึ้นในทุกภาคส่วนอย่างมั่นคงและปลอดภัยขึ้นมา ภารกิจดังกล่าวจึงถูก โอนย้ายมาที่ สพธอ. สพธอ. จึงได้จัดทาการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556 ขึ้นเป็นครั้งแรก และมีแผนจะจัดทาต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี ในการ สารวจนี้เก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน ลักษณะและพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต และมีการผนวกคาถามพิเศษประจาปี โดยในปีนี้เป็นคาถามเกี่ยวกับพฤติกรรม การซื้อสินค้าและบริการผ่านโซเชียลมีเดีย ซึ่งเป็นกระแสนิยมในปัจจุบัน ผลการ สารวจจะเป็นประโยชน์สาหรับหน่วยงานภาครัฐที่จะนาไปใช้ในการวางแผน กาหนดนโยบายให้สอดคล้องกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกลุ่มต่างๆ ที่มีความแตกต่างใน เรื่องของเพศ อายุ ถิ่นที่พักอาศัย ระดับการศึกษา อาชีพ เป็นต้น รวมไปถึง ภาคเอกชน โดยเฉพาะผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่จะใช้ในการ วางแผนธุรกิจ กาหนดกลยุทธ์การตลาดเพื่อให้ตอบสนองกับกลุ่มเป้าหมาย วัตถุประสงค์ของกำรสำรวจ 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับลักษณะของผู้ใช้และพฤติกรรมการ ใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยอย่างต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึง แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย 2. เพื่อให้เป็นข้อมูลสาหรับผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่สนใจ จะเข้ามาลงทุนหรือประกอบธุรกิจออนไลน์ได้เข้าใจพฤติกรรมของผู้บริโภคหรือ ใช้เพื่อวางแผนการตลาดให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย
  • 23. 22 3. เพื่อนาไปใช้ในการกาหนดนโยบายผลักดันให้การใช้อินเทอร์เน็ต เป็นไปอย่างแพร่หลายในทิศทางที่เหมาะสม 4. เพื่อสารวจข้อมูลที่เป็นเรื่องที่กาลังได้รับความสนใจในปัจจุบันและมี ความเกี่ยวข้องกับการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ผลที่ได้จะนาไปเพื่อปรับใช้ ในการวางแผนกลยุทธ์หรือการกาหนดนโยบายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5. เพื่อเผยแพร่ผลการสารวจดังกล่าวให้แก่หน่วยงานหรือบุคคลอื่นๆ ไม่ว่าจะเกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการบริการของภาครัฐ การใช้ อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา การทาธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต หรืออื่นๆ ที่จะนาข้อมูล เหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ได้ วิธีกำรสำรวจ การสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556 นี้ เป็นการ สารวจทางอินเทอร์เน็ต โดยแบบสารวจฯ ดังกล่าวจะอยู่ในหน้าเว็บไซต์ต่างๆ ของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่ให้ความอนุเคราะห์ในการติดแบนเนอร์ รวมทั้งการกระจายแบบสารวจฯ ผ่านช่องทางโซเชียลมีเดีย เช่น Facebook เพื่อให้ไปถึงกลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึง การสารวจนี้ ได้ดาเนินการตั้งแต่กลางเดือนเมษายนถึงสิ้นเดือน พฤษภาคม 2556 มีผู้เข้ามาตอบแบบสารวจฯ จานวนทั้งสิ้น 23,907 คน จากนั้น นาผลการตอบแบบสารวจฯ ที่ได้ทั้งหมดเข้าสู่กระบวนการประมวลผลโดยใช้ โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ
  • 25. 24
  • 26. 25 ส่วนที่ 1 ภำพรวมของผู้ตอบแบบสำรวจฯ ในการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556 นี้ มีผู้ให้ ความร่วมมือตอบแบบสารวจฯ ผ่านทางเว็บไซต์และช่องทางโซเชียลมีเดีย จานวนทั้งสิ้น 23,907 คน สามารถแจกแจงลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบสารวจ ได้เป็นดังนี้ เพศ ผู้ตอบแบบสารวจฯ ทั้งหมด ประกอบด้วยเพศชายจานวน 11,419 คน คิดเป็นร้อยละ 47.8 และเพศหญิงจานวน 12,488 คน คิดเป็นร้อยละ 52.2 ดังแสดงในแผนภาพที่ 1 แผนภำพที่ 1 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมเพศ อำยุ ผู้ตอบแบบสารวจฯ ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงวัยทางาน โดยช่วงอายุ 40-49 ปี, 30-34 ปี และ 25-39 ปี เข้ามาตอบแบบสารวจฯ สูงเป็นอันดับ 1 – 3 คิดเป็น ร้อยละ 19.4, 18.0 และ 15.9 ตามลาดับ ส่วนช่วงอายุ 20-24 ปี และ 35-39 ปี มีสัดส่วนการเข้ามาตอบแบบสารวจฯ ใกล้เคียงกัน กล่าวคือ ร้อยละ 14.9 และ 14.7 ตามลาดับ ในขณะที่กลุ่มนักเรียนนักศึกษาที่มีช่วงอายุน้อยกว่า 20 ปี และ กลุ่มวัยทางานตอนปลายจนถึงเกษียณอายุที่มีช่วงอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไปเข้ามา
  • 27. 26 ตอบแบบสารวจฯ น้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 6.6 และ 10.6 ตามลาดับ ดังแสดง ในแผนภาพที่ 2 แผนภำพที่ 2 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมช่วงอำยุ ที่พักอำศัย เมื่อพิจารณาที่พักอาศัยของผู้ตอบแบบสารวจฯ พบว่า ผู้ตอบแบบสารวจ เป็นผู้อยู่ในกรุงเทพมหานคร (กทม.) ร้อยละ 45.8 เป็นผู้อยู่ในต่างจังหวัด ร้อยละ 54.2 ในจานวนนี้ เป็นผู้ที่อยู่ในเขตเทศบาล ร้อยละ 33.7 และนอกเขต เทศบาล ร้อยละ 20.5 ดังแสดงในแผนภาพที่ 3 0.8 5.8 14.9 15.9 18.0 14.7 19.49.8 0.8 0 5 10 15 20 < 15 15 - 19 20 - 24 25 - 29 30 - 34 35 - 39 40 - 49 50 - 59 > 60 ร้อยละ อำยุ (ปี)
  • 28. 27 แผนภำพที่ 3 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมที่พักอำศัย ระดับกำรศึกษำ กว่าร้อยละ 60.0 ของผู้ตอบแบบสารวจฯ มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี รองลงมาเป็นผู้ที่มีการศึกษาในระดับปริญญาโท ระดับปวช./ปวส./ปวท./ อนุปริญญาโดยมีสัดส่วนผู้ตอบแบบสารวจฯ ร้อยละ 24.4 และ 6.6 ตามลาดับ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ กว่าร้อยละ 87.9 ของผู้ตอบแบบสารวจฯ ครั้งนี้ เป็นผู้ที่ มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ดังแสดงในแผนภาพที่ 4 กทม., 45.9 จังหวัดอื่น ในเขตเทศบำล 33.7 จังหวัดอื่น นอกเขต เทศบำล, 20.4 ต่ำงจังหวัด, 54.1
  • 29. 28 แผนภำพที่ 4 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมระดับกำรศึกษำ อำชีพ ผู้ตอบแบบสารวจฯ ร้อยละ 49.7 ประกอบอาชีพข้าราชการ พนักงาน/ ลูกจ้างของรัฐ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ/องค์กรอิสระ รองลงมาร้อยละ 24.2 และ 16.4 เป็นพนักงาน/ลูกจ้างเอกขนและกลุ่มนักเรียน นักศึกษา ตามลาดับ ดังแสดงในแผนภาพที่ 5 1.7 3.8 6.6 61.1 24.4 2.4 0 20 40 60 ต่ากว่ามัธยมปลาย มัธยมปลาย ปวช./ปวส./ปวท./ อนุปริญญา ปริญญาตรี ปริญญาโท สูงกว่าปริญญาโท ร้อยละ
  • 30. 29 แผนภำพที่ 5 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมอำชีพ จำนวนสมำชิกในครัวเรือนที่ใช้อินเทอร์เน็ต ผู้ตอบแบบสารวจฯ ร้อยละ 24.2 ระบุว่ามาจากครัวเรือนที่มีสมาชิกที่ใช้ อินเทอร์เน็ตจานวน 4 คน รองลงมา ร้อยละ 19.2 15.9 และ 14.7 มาจาก ครัวเรือนที่มีสมาชิกที่ใช้อินเทอร์เน็ตจานวน 3 คน 2 คน และ 1 คน ตามลาดับ ดังแสดงไว้ในแผนภาพที่ 6 49.7 6.1 24.2 16.4 1.4 2.2 0 10 20 30 40 50 ข้าราชการ พนักงานลูกจ้างของรัฐ /พนักงานรัฐวิสาหกิจ/องค์กรอิสระ เจ้าของกิจการ/ ประกอบธุรกิจส่วนตัว พนักงาน/ลูกจ้างเอกชน นักเรียน/นักศึกษา แม่บ้าน/พ่อบ้าน อื่นๆ ร้อยละ
  • 31. 30 แผนภำพที่ 6 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมจำนวนสมำชิก ในครัวเรือนที่ใช้อินเทอร์เน็ต รำยได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน เมื่อพิจารณารายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนของผู้ตอบแบบสารวจฯ พบว่า ส่วนใหญ่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน 10,001-50,000 บาท โดย ลาดับที่ 1 มาจากครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ย 30,001-50,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 21.5 ส่วนลาดับที่ 2 มาจากครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ย 10,001-20,000 บาท คิด เป็นร้อยละ 19.5 และลาดับที่ 3 มาจากครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ย 20,001- 30,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 16.8 ดังแสดงไว้ในแผนภาพที่ 7 14.7 15.9 19.2 24.2 13.7 6.3 6.0 0 5 10 15 20 25 1 2 3 4 5 6 > 6 ร้อยละ คน
  • 32. 31 แผนภำพที่ 7 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมระดับรำยได้ เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน 6.4 19.5 16.8 21.5 12.6 6.8 5.2 3.7 2.2 5.4 0 5 10 15 20 25 < 10,000 10,001 - 20,000 20,001 - 30,000 30,001 - 50,000 50,001 - 70,000 70,001 - 90,000 90,001 - 110,000 110,001 - 130,000 130,001 - 150,000 > 150,000 ร้อยละ บำท
  • 33. 32
  • 34.
  • 35. 34
  • 36. 35 ส่วนที่ 2 พฤติกรรมกำรใช้อินเทอร์เน็ต ในการวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของผู้ตอบแบบสารวจฯ ข้อมูลจากการสารวจแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย ในหลากหลายประเด็น ได้แก่ ระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต ช่วงเวลาการใช้ อินเทอร์เน็ต สถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต กิจกรรมที่ กระทาผ่านอินเทอร์เน็ต และปัญหาที่เกิดขึ้นกับการใช้อินเทอร์เน็ต รวมถึงการ ใช้บริการ Free WiFi ตามนโยบายรัฐบาล โดยมีการเปรียบเทียบกับข้อมูลการ สารวจพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตซึ่งเคยถูกสารวจมาอย่างต่อเนื่องโดย เนคเทค เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมของคนไทยที่มีการเปลี่ยนแปลงในช่วง 10 กว่าปีที่ผ่านมา ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตที่ได้จากการสารวจครั้งนี้ เป็นข้อมูลพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในรอบ 1 สัปดาห์ ก่อนคาบเวลาการ สารวจ ซึ่งจะนามาวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มผู้ตอบแบบสารวจฯ โดยใช้ ลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบสารวจฯ ได้แก่ เพศ อายุ ที่พักอาศัย การศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน โดยผลการวิเคราะห์จะนาเสนอ เฉพาะประเด็นสาคัญเท่านั้น หากผู้อ่านต้องการดูรายละเอียดของข้อมูลอื่นๆ เพิ่มเติม สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมได้จากตารางสถิติในภาคผนวก ระยะเวลำที่ใช้อินเทอร์เน็ต จากการสารวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสารวจฯ ส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ต ต่ากว่า 20 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตน้อยกว่า 11 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 35.7 และระหว่าง 11 - 20 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ คิดเป็น ร้อยละ 25.8 นอกจากนี้ยังพบว่า มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมากกว่า 105 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ หรือโดยเฉลี่ยมากกว่า 15 ชั่วโมงต่อวัน สูงถึงร้อยละ 9.0 ซึ่งจะเห็น ได้ว่า อินเทอร์เน็ตกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจาวันของคนกลุ่มนี้ ดังแสดง ในแผนภาพที่ 8
  • 37. 36 แผนภำพที่ 8 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมจำนวนชั่วโมง กำรใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดำห์ เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลการสารวจย้อนหลังเป็นระยะเวลา 12 ปี กับ รายงานผลการสารวจกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยเนคเทค พบว่า จานวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์มีแนวโน้มสูงขึ้น โดยในปี 2544 มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตน้อยกว่า 10 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 53.6 แต่ในปี 2556 ผู้ใช้ในกลุ่มเดียวกันนี้ มีสัดส่วนลดลง เหลือเพียงร้อยละ 35.7 ในขณะที่ สัดส่วนของผู้ที่ใช้อินเทอร์เน็ตมากกว่า 20 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สูงถึงร้อยละ 38.9 ซึ่งในปี 2544 มีเพียงร้อยละ 18.7 เท่านั้น จึงสรุปได้ว่าภายในระยะเวลา 12 ปี ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมีระยะเวลาในการใช้อินเทอร์เน็ตในชีวิตประจาวันมากขึ้น เรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง ส่วนหนึ่งเป็นผลพวงมาจากการพัฒนาอุปกรณ์สื่อสาร ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต และการให้บริการสัญญาณเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แบบไร้สาย (WiFi) ที่ทาให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ สะดวกยิ่งขึ้น การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตไม่จาเป็นต้องอยู่เพียงในสถานที่ใดที่หนึ่งอีก ต่อไป ดังแสดงในแผนภาพที่ 9 35.7 25.8 10.7 11.5 7.3 9.0 0 10 20 30 40 < 11 ชม. 11 – 20 ชม. 21- 41 ชม. 42 – 76 ชม. 77- 105 ชม. > 105 ชม. ร้อยละ
  • 38. 37 แผนภำพที่ 9 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมจำนวนชั่วโมง กำรใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดำห์ ปี 2544 – 2556 หมายเหตุ ข้อมูลปี 2544 - 2553 มาจากรายงานผลการสารวจกลุ่มผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดย เนคเทค การคานวณค่าเฉลี่ยของจานวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์ ตั้งแต่ปี 2544 - 2556 พบว่า มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก ปี 2544 ผู้ตอบแบบสารวจ มีระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยประมาณ 18 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ แต่ใน ปัจจุบัน (ปี 2556) ผู้ตอบแบบสารวจฯ มีระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ย ประมาณ 32 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือประมาณ 4.6 ชั่วโมงต่อวัน สะท้อนให้เห็น ได้ว่าอินเทอร์เน็ตมีอิทธิพลต่อคนไทยอย่างมากขึ้นเรื่อยๆ ในช่วงระยะเวลา 12 ปี ระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มสูงขึ้นประมาณร้อยละ 76 ในการเปรียบเทียบการใช้อินเทอร์เน็ตในกลุ่มผู้ตอบแบบสารวจฯ กลุ่ม ต่างๆ ได้แก่ เพศ อายุ ที่พักอาศัย การศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ของครัวเรือน ดังแสดงในแผนภาพที่ 10 พบว่า เพศชายมีค่าเฉลี่ยระยะเวลาการ ใช้อินเทอร์เน็ตสูงกว่าเพศหญิง โดยเพศชายมีระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตโดย เฉลี่ย 35.1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ในขณะที่เพศหญิงมีระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต โดยเฉลี่ย 29.7 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 53.6 48.5 49.8 37.4 35.7 27.7 25.7 21.2 23.4 25.8 18.7 25.8 29.1 39.2 38.5 0 20 40 60 80 100 2544 2547 2550 2553 2556 ร้อยละ ปี น้อยกว่า 10 ชั่วโมง 11 – 20 ชั่วโมง มากกว่า 20 ชั่วโมง
  • 39. 38 เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบระหว่างผู้พักอาศัยใน กทม. กับผู้พักอาศัย ในจังหวัดอื่น พบว่า ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่พักอาศัยในบริเวณที่มีความพร้อมของ โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ที่ดีกว่าจะมีระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต เฉลี่ยสูงกว่า โดยผู้ที่อาศัยอยู่ใน กทม. มีระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ย 34.2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ในขณะที่ ผู้อยู่ในต่างจังหวัดในเขตเทศบาลและนอกเขต เทศบาลมีระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ย 31.3 และ 29.6 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ ตามลาดับ ในด้านระดับการศึกษา และระดับรายได้ของครัวเรือน พบว่า มีความสัมพันธ์กับค่าเฉลี่ยของระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตในลักษณะ แปรผันตามกัน โดยผู้ตอบแบบสารวจฯ ที่มีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นจะมี ระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตสูงขึ้น และระดับรายได้ครัวเรือนที่สูงขึ้น จะมี ระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตสูงขึ้นเช่นเดียวกัน ดังแสดงในแผนภาพที่ 10
  • 40. 39 แผนภำพที่ 10 จำนวนชั่วโมงกำรใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อสัปดำห์ จำแนกตำมลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบสำรวจฯ 32.3 29.7 35.1 22.1 32.5 36.8 38.2 35.6 32.6 26.7 21.7 20.5 34.2 31.3 29.6 19.7 26.9 25.4 31.5 37.0 39.0 29.6 37.9 35.0 34.9 26.1 31.4 25.3 28.5 29.3 31.5 34.4 35.5 39.0 37.4 39.3 44.8 0 10 20 30 40 50 ค่าเฉลี่ยรวม หญิง ชาย น้อยกว่า 15 ปี 15 - 19 ปี 20 – 24 ปี 25 - 29 ปี 30 – 34 ปี 35 - 39 ปี 40 – 49 ปี 50 - 59 ปี 60 ปีขึ้นไป กทม. จังหวัดอื่นในเขตเทศบาล จังหวัดอื่นนอกเขตเทศบาล ต่ากว่ามัธยมปลาย มัธยมปลาย ปวช./ปวส./ปวท./ปทส./อนุปริญญา ปริญญาตรี ปริญญาโท สูงกว่าปริญญาโท ข้าราชการ พนักงานรัฐ เจ้าของกิจการ/ประกอบธุรกิจส่วนตัว พนักงาน/ลูกจ้างเอกชน นักเรียน/นักศึกษา แม่บ้าน/พ่อบ้าน อื่นๆ ต่ากว่า 10,000 บาท 10,001 – 20,000 บาท 20,001 – 30,000 บาท 30,001 – 50,000 บาท 50,001 – 70,000 บาท 70,001 – 90,000 บาท 90,001 – 110,000 บาท 110,001 – 130,000 บาท 130,001 – 150,000 บาท มากกว่า 150,000 บาท เพศอายุที่พักอาศัยการศึกษาอาชีพรายได้ครัวเรือน
  • 41. 40 ช่วงเวลำกำรใช้อินเทอร์เน็ต จากการสารวจเกี่ยวกับช่วงเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ต ซึ่งได้สอบถามผู้ตอบ แบบสารวจฯ ว่าใช้อินเทอร์เน็ตในช่วงเวลาใดเป็นส่วนใหญ่ พบว่า ผู้ตอบแบบ สารวจ ใช้อินเทอร์เน็ตสูงสุดในช่วงเวลากลางคืนระหว่างเวลา 20.01-24.00 น. คิดเป็นร้อยละ 36.9 ในขณะที่ช่วงเวลาที่มีการใช้อินเทอร์เน็ตน้อยที่สุด คือ ช่วงเวลา 0.01-8.00 น. คิดเป็น ร้อยละ 1.0 เท่านั้น ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาการใช้ อินเทอร์เน็ตในช่วงเวลากลางวัน ระหว่างเวลา 8.01-16.00 น. จะเห็นได้ว่า เป็นช่วงเวลาที่มีผู้ใช้งานสูงถึงร้อยละ 41.9 ดังแสดงในแผนภาพที่ 11 แผนภำพที่ 11 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมช่วงเวลำ ที่ใช้อินเทอร์เน็ต เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลการสารวจย้อนหลังเป็นระยะเวลา 12 ปี กับรายงานผลการสารวจกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยเนคเทค พบว่า ช่วงเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ตโดยส่วนใหญ่ของผู้ตอบแบบสารวจฯ มีลักษณะ ไม่แตกต่างจากเดิมมากนัก กล่าวคือ คนส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ตในช่วงเวลา กลางคืนระหว่างเวลา 20.01 - 24.00 น. เป็นหลัก แต่ข้อสังเกตที่พบเพิ่มเติม คือ ในช่วงเวลา 0.01 - 8.00 น. มีจานวนผู้เลือกช่วงเวลาดังกล่าวน้อยลงจาก 20.9 21.0 20.2 36.9 1.0 0 5 10 15 20 25 30 35 40 08.01 - 12.00 น. 12.01 - 16.00 น. 16.01 - 20.00 น. 20.01 - 24.00 น. 00.01 - 08.00 น. ร้อยละ
  • 42. 41 ในอดีต ซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าเป็นเพราะคุณภาพและความเร็วของอินเทอร์เน็ต ที่ดีขึ้นทาให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตไม่จาเป็นต้องเลือกใช้เน็ตในช่วงเวลากลางดึก ซึ่งมีจานวนผู้ใช้น้อยกว่าปกติ ดังแสดงในแผนภาพที่ 12 แผนภำพที่ 12 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมช่วงเวลำ ที่ใช้อินเทอร์เน็ต ปี 2544 - 2556 หมายเหตุ ข้อมูลปี 2544 - 2553 มาจากรายงานผลการสารวจกลุ่มผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดย เนคเทค เมื่อพิจารณาถึงช่วงเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตของผู้ที่อยู่ในกลุ่มอายุต่างๆ พบว่า กลุ่มระดับวัยเรียนชั้นประถมและมัธยมศึกษาตอนต้น ช่วงอายุน้อยกว่า 15 ปี ใช้อินเทอร์เน็ตสูงในช่วงเวลาหลังเลิกเรียนถึงหัวค่า (เวลา 16.01-20.00 น.) คิดเป็นร้อยละ 41.2, กลุ่มระดับวัยเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายถึง มหาวิทยาลัย ช่วงอายุ 15-19 ปี และ 20-24 ปี ใช้อินเทอร์เน็ตสูงในช่วงเวลา กลางคืน (เวลา 20.01-24.00 น.) คิดเป็นร้อยละ 47.0 และ 54.5 ตามลาดับ ดัง แสดงในแผนภาพที่ 13 จากผลการสารวจสะท้อนให้เห็นว่า เกือบครึ่งของกลุ่ม เยาวชนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใช้ช่วงเวลากลางคืนหลังเลิกเรียนสาหรับการเข้าถึง 14.8 20.4 17.4 21.1 20.9 20.1 23.2 28.3 21.9 21.0 19.7 19 16.6 16.8 20.2 37.6 33.9 34.7 37.3 36.9 7.8 3.4 2.9 2.9 1.0 0 20 40 60 80 100 2544 2547 2550 2553 2556 ร้อยละ 08.01 - 12.00 น. 12.01 - 16.00 น. 16.01 - 20.00 น. 20.01 - 24.00 น. 00.01 - 08.00 น.
  • 43. 42 อินเทอร์เน็ต เป็นสิ่งที่ผู้ปกครองควรให้ความสนใจว่าบุตรหลานใช้อินเทอร์เน็ต เพื่อกิจกรรมใดบ้าง เป็นไปในทิศทางที่เหมาะสมหรือไม่ แผนภำพที่ 13 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ รำยกลุ่มอำยุ จำแนกตำมช่วงเวลำที่ใช้อินเทอร์เน็ต 14.9 6.0 8.0 16.7 22.5 25.4 29.0 30.4 26.4 21.6 17.9 14.5 20.9 22.9 24.1 22.1 22.1 22.0 41.2 27.6 21.1 21.2 20.4 18.2 18.4 17.6 18.1 22.2 47.0 54.5 40.0 33.5 31.4 29.7 29.0 31.9 - 1.5 2.0 1.1 0.7 0.8 0.7 0.9 1.6 0 20 40 60 80 100 < 15 ปี 15 - 19 ปี 20 – 24 ปี 25 - 29 ปี 30 – 34 ปี 35 - 39 ปี 40 – 49 ปี 50 - 59 ปี > 59 ปี ร้อยละ 08.01 - 12.00 น. 12.01 - 16.00 น. 16.01 - 20.00 น. 20.01 - 24.00 น. 00.01 - 08.00 น.
  • 44. 43 สถำนที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต ในเรื่องสถานที่ที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใช้เป็นส่วนใหญ่นั้น จากผลการสารวจ พบว่า ส่วนใหญ่ใช้ที่บ้านและสถานที่ทางาน คิดเป็นร้อยละ 79.3 และ 61.3 ตามลาดับ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า ในปัจจุบันกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถเข้าถึง อินเทอร์เน็ตได้จากบ้านได้มากขึ้น ซึ่งน่าจะเป็นผลมาจากการขยายตัวของบริการ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่ครอบคลุมพื้นที่ได้มากขึ้นและอาจจะมีอัตราค่าบริการ ที่ต่าลงด้วย นอกจากนี้ ยังพบว่ามีผู้เคยใช้อินเทอร์เน็ตจากศูนย์ไอซีทีชุมชน หรือ สถานที่ที่ภาครัฐจัดไว้ให้ คิดเป็นร้อยละ 4.0 นับเป็นก้าวแรกของความสาเร็จใน การให้บริการโครงสร้างพื้นฐานทางด้านอินเทอร์เน็ต แม้ว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพียงร้อยละ 5.4 ระบุว่าใช้จากอินเทอร์เน็ต คาเฟ่ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มอาชีพต่างๆ พบว่า กลุ่มนักเรียน/นักศึกษา ใช้อินเทอร์เน็ตจากอินเทอร์เน็ตคาเฟ่ ในสัดส่วนสูงที่สุด คือร้อยละ 12.2 ในขณะ ที่กลุ่มอาชีพอื่นใช้น้อยกว่าร้อยละ 6.0 ซึ่งผู้ที่เกี่ยวข้องควรจะให้ความสาคัญและ วางมาตรการดูแลการให้บริการของสถานที่ดังกล่าวอย่างเข้มงวด เพื่อป้องกัน ไม่ให้เยาวชนใช้อินเทอร์เน็ตอย่างไม่เหมาะสมได้โดยง่าย ดังแสดงในแผนภาพที่ 14
  • 45. 44 แผนภำพที่ 14 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ เปรียบเทียบตำมสถำนที่ ที่ใช้อินเทอร์เน็ต หมายเหตุ เลือกตอบได้มากกว่า 1 ข้อ สัดส่วนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่พักอาศัยอยู่นอกเขตเทศบาลที่มีการใช้ อินเทอร์เน็ตในสถานศึกษา อินเทอร์เน็ตคาเฟ่ และศูนย์ไอซีทีชุมชน คิดเป็น ร้อยละ 20.2, 7.0 และ 5.3 ตามลาดับ ซึ่งสูงกว่าผู้ที่พักอาศัยอยู่ใน กทม. และ ผู้ที่พักอาศัยอยู่ในเขตเทศบาล แสดงว่า ผู้ที่พักอาศัยอยู่นอกเขตเทศบาลยังต้อง พึ่งบริการอินเทอร์เน็ตในสถานที่อื่นๆ นอกเหนือจากบ้านและสถานที่ทางาน มากกว่าผู้ที่อาศัยอยู่ใน กทม.และในเขตเทศบาล ดังแสดงในแผนภาพที่ 15 79.3 61.3 14.0 5.4 4.0 4.9 0 20 40 60 80 ร้อยละ
  • 46. 45 แผนภำพที่ 15 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ รำยเขตที่พักอำศัย เปรียบเทียบตำมสถำนที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์กำรเข้ำถึงอินเทอร์เน็ต เมื่อถามถึงชนิดของอุปกรณ์ที่ใช้เข้าถึงอินเทอร์เน็ต อันได้แก่ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา สมาร์ทโฟน และแท็บเล็ตพีซี เป็นต้น โดยให้ผู้ตอบเลือกตอบได้ 3 ชนิด เรียงตามลาดับความสาคัญ ผลการสารวจใน ภาพรวม พบว่า อุปกรณ์ที่ใช้กันมากในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ได้แก่ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา และสมาร์ทโฟน คิดเป็นร้อยละ 77.5, 67.9 และ 69.5 ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ตามลาดับ ส่วนแท็บเล็ตพีซีมีผู้ใช้ ร้อยละ 35.3 ดังแสดงในแผนภาพที่ 16 การที่มีการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านทางอุปกรณ์ เคลื่อนที่ในสัดส่วนที่สูง ซึ่งสอดคล้องกับ ผลการสารวจฯ ดังแผนภาพที่ 14 ที่พบว่า ร้อยละ 4.9 ของผู้ตอบแบบสารวจฯ ระบุว่าใช้อินเทอร์เน็ตจากสถานที่ อื่นๆ ที่ไม่ใช่ที่บ้านและสถานที่ทางานฯ นั้น ส่วนหนึ่งอาจจะเนื่องมาจาก ในปัจจุบันการใช้อินเทอร์เน็ตไม่ได้ถูกจากัดเฉพาะที่ เช่น ที่บ้าน สถานที่ทางาน หรือสถานศึกษาเท่านั้น แต่ยังสามารถใช้อินเทอร์เน็ตจากที่อื่นๆ ได้ทุกที่ ผ่านบริการ WiFi การให้บริการระบบ 3G และ Edge ของผู้ให้บริการโทรศัพท์ 10.4 4.7 3.1 15.0 5.5 4.4 20.2 7.0 5.3 0 5 10 15 20 สถานศึกษา อินเทอร์เน็ตคาเฟ่ ศูนย์ไอซีทีชุมชน ร้อยละ กทม. จังหวัดอื่นในเขตเทศบาล จังหวัดอื่นนอกเขตเทศบาล
  • 47. 46 เคลื่อนที่ เช่น การใช้อินเทอร์เน็ตในระหว่างเดินทาง ในห้างสรรพสินค้า ใน ร้านอาหาร หรือตามสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ เป็นต้น แผนภำพที่ 16 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ เปรียบเทียบตำม อุปกรณ์ที่ใช้ในกำรเข้ำถึงอินเทอร์เน็ต ปี 2555 - 2556 หมายเหตุ เลือกตอบได้มากกว่า 1 ข้อ และข้อมูล ICT2555 มาจากรายงานการ สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ.2555 โดยสานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ในเรื่องอุปกรณ์การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตที่ใช้บ่อยที่สุดนั้น ผู้ตอบแบบ สารวจร้อยละ 45.0 ระบุว่า ได้แก่ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ รองลงมาคือ คอมพิวเตอร์พกพา สมาร์ทโฟน และแท็บเล็ตพีซี โดยมีผู้ระบุว่าใช้บ่อยที่สุดร้อย ละ 25.3, ร้อยละ 22.7, และร้อยละ 6.8 ตามลาดับ ดังแสดงในแผนภาพที่ 17 92.1 36.1 12.2 3.2 0.4 77.5 67.9 69.5 35.3 2.3 0 20 40 60 80 100 คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา สมาร์ทโฟน แท็บเล็ตพีซี อื่นๆ ร้อยละ ICT2555 internet user profile 2556
  • 48. 47 แผนภำพที่ 17 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจฯ จำแนกตำมอุปกรณ์ ที่ใช้บ่อยที่สุดในกำรเข้ำถึงอินเทอร์เน็ต และเมื่อเปรียบเทียบการใช้อุปกรณ์การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตที่ใช้บ่อยที่สุด อันดับหนึ่งระหว่างผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกลุ่มอายุต่างๆ พบว่า ทุกกลุ่มยังคงระบุว่า ใช้คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะบ่อยที่สุด ยกเว้น กลุ่มอายุ 20-24 ปี ที่ระบุว่าเป็น คอมพิวเตอร์พกพา คิดเป็นร้อยละ 37.9 และนอกจากนี้ ยังพบว่าการใช้สมาร์ท โฟนได้รับความนิยมสูงสุดในกลุ่มอายุ 25-29 ปี และการใช้แท็บเล็ต พีซีเป็นที่นิยมในกลุ่มผู้มีอายุ 60 ปีขึ้นไป และผู้ที่มีอายุน้อยกว่า 15 ปี ซึ่งกรณี หลังนี้ อาจจะเนื่องมาจากผลของนโยบายการแจกแท็บเล็ตพีซีให้นักเรียน ดัง แสดงในแผนภาพที่ 18 คอมพิวเตอร์ตั้ง โต๊ะ, 45.0% คอมพิวเตอร์ พกพำ, 25.3% สมำร์ทโฟน, 22.7% แท็บเล็ตพีซี, 6.8% อื่นๆ, 0.2%