SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
1.พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)
มหาอามาตย์โท พระยามโนปกรณนิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของ
ประเทศไทย ชื่อเดิมว่า "ก้อน หุตะสิงห์" เกิดวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2427
ที่จังหวัดพระนคร เป็นบุตรของนายฮวด กับนางแก้ว หุตะสิงห์ ท่านถึงอสัญกรรม
ณ ปีนัง เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2491 รวมอายุได้ 64 ปีเศษ
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง
-สมัยที่ 1 : 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2475
-สมัยที่ 2 : 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 - 1 เมษายน พ.ศ. 2476
-สมัยที่ 3 : 1 เมษายน พ.ศ. 2476 - 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476
2. พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 2
ของประเทศไทย ชื่อเดิมว่า "พจน์ พหลโยธิน" เกิดวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2430
เวลา 03.30 น. ณ บ้านหน้าวัดราชบูรณะ จังหวัดพระนคร เป็นบุตรของพันเอก
พระยาพหลพลพยุหเสนา (ถิ่น พหลโยธิน) กับท่านผู้หญิงจับ พหลโยธิน สมรสกับ
ท่านผู้หญิงบุญหลง พหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี 5 สมัย รวมระยะเวลา 5
ปี 5 เดือน 21 วัน ยังได้รับสมญานามว่า เชษฐบุรุษ ด้วย ถึงแก่อสัญกรรมด้วยเส้น
โลหิตในสมองแตก เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490 รวมอายุ ได้ 59 ปี
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง
-สมัยที่ 1 : 21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476
-สมัยที่ 2 : 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 22 กันยายน พ.ศ. 2477
-สมัยที่ 3 : 22 กันยายน พ.ศ. 2477 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480
-สมัยที่ 4 : 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480
-สมัยที่ 5 : 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481
3.จอมพล ป. พิบูลสงคราม (แปลก พิบูลสงคราม)
จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศแปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 - 11
มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป." เป็น นายกรัฐมนตรี ที่มีเวลาดารงตาแหน่ง
รวมกันมากที่สุดของไทย คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย มีนโยบายที่สาคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนา
ประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยะประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออก
ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย “ รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายใน
ภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การราวง ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ
"ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย“ มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน
จอมพล ป. พิบูลสงคราม เดิมชื่อ แปลก ขีตตะสังคะ' เกิดเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 ถึงแก่
อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 เป็นบุตรนายขีด และนางสาอางค์ ขีตตะสังคะ ภริยาคือ ท่าน
ผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม (เดิมนามสกุล "พันธุ์กระวี")
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง
-สมัยที่ 1 : 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2485
-สมัยที่ 2 : 7 มีนาคม พ.ศ. 2485 - 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487
-สมัยที่ 3 : 8 เมษายน พ.ศ. 2491 - 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492
-สมัยที่ 4 : 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
-สมัยที่ 5 : 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 - 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494
-สมัยที่ 6 : 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2495
-สมัยที่ 7 : 24 มีนาคม พ.ศ. 2495 - 21 มีนาคม พ.ศ. 2500
-สมัยที่ 8 : 21 มีนาคม พ.ศ. 2500 - 16 กันยายน พ.ศ. 2500
4 พันตรี ควง อภัยวงศ์ (หลวงโกวิทอภัยวงศ์)
พ.ต.ควง อภัยวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2445 ณ จังหวัดพระตะบอง ซึ่ง
ขณะนั้นอยู่ใน มณฑลบูรพา ของราชอาณาจักรสยาม (ปัจจุบันอยู่ในประเทศกัมพูชา) เป็นบุตร
ของ เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์) ผู้สาเร็จราชการจังหวัดพระตะบอง กับคุณหญิงรอด
สมรสกับ คุณหญิงเลขา อภัยวงศ์ พ.ต.ควง อภัยวงศ์ ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.
2511 รวมอายุได้ 66 ปี ด้วยโรคทางเดินหายใจขัดข้อง
พันตรี ควง อภัยวงศ์ หรือที่นิยมเรียกว่า นายควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2445
- 15 มีนาคม พ.ศ. 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรค
ประชาธิปัตย์คนแรก
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487 - 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488
-สมัยที่ 2 : 31 มกราคม พ.ศ. 2489 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2489
-สมัยที่ 3 : 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
-สมัยที่ 4 : 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 - 8 เมษายน พ.ศ. 2491
5 ทวี บุณยเกตุ
นายทวี บุณยเกตุ (10 พ.ย. 2447 - 3 พ.ย. 2514) นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 หนึ่งใน
คณะราษฎรสายพลเรือน และขบวนการเสรีไทยและเป็นผู้แต่งหนังสือเรื่อง พ่อสอนลูก
นายทวี บุณยเกตุ เกิดเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2447 เวลา 13.20 น. ที่อาเภอ
กันตัง จังหวัดตรัง (ซึ่งขณะนั้นถือเป็นอาเภอเมือง จังหวัดตรัง) เป็นบุตรของพระยารณชัยชาญยุทธ์
(ถนอม บุณยเกตุ) กับคุณหญิงรณชัยชาญยุทธ์ (ทับทิม) โดยชื่อ ทวี มาจากการที่บิดาและมารดา
สมรสกันในวันทวีธาภิเษก บุคคลที่เข้าร่วมงานเมื่อเลิกจึงมาในงานสมรสโดยไม่ได้ผลัดเปลี่ยนเสื้อผ้า
ติดเหรียญตราทวีธาภิเษกเข้าร่วมงานเลย นายทวีสมรสกับคุณหญิงอาภาศรี บุณยเกตุ ถึงแก่
อสัญกรรมเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 สิริอายุได้ 67 ปี
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488 - 17 กันยายน พ.ศ. 2488
6 หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2448 —
28 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย 4 สมัย ผู้ร่วมก่อตั้งและอดีต
หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ก่อนเข้าสู่วงการเมือง เคยเป็นผู้พิพากษา และเคยดารงตาแหน่ง
เอกอัครราชทูตไทย ประจาสหรัฐอเมริกา มาก่อน
ม.ร.ว.เสนีย์ เกิดที่ค่ายทหาร ในจังหวัดนครสวรรค์ เวลาใกล้รุ่ง เป็นโอรสใน พระวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าคารบ กับหม่อมแดง (บุนนาค) ชื่อ "เสนีย์" หมายถึง ทหาร หรือ เสนาบดี ได้รับ
พระราชทานนามนี้จากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สันนิษฐานว่า เนื่องจาก
เสด็จพ่อ (พระองค์เจ้าคารบ) เป็นทหาร
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 17 กันยายน 2488 - 31 มกราคม 2489
-สมัยที่ 2 : 15 กุมภาพันธ์ 2518 - 13 มีนาคม 2518
-สมัยที่ 3 : 20 เมษายน 2519 - 25 กันยายน 2519
-สมัยที่ 4 : 25 กันยายน 2519 - 6 ตุลาคม 2519
7 ปรีดี พนมยงค์ (หลวงประดิษฐ์มนูธรรม)
ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ หรือ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443
— 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นผู้นาคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการ
ปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24
มิถุนายน พ.ศ. 2475 และเป็นผู้ให้กาเนิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทย
ปรีดี พนมยงค์ เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 ณ เรือนแพหน้าวัดพนมยงค์
ตาบลท่าวาสุกรี อาเภอกรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในครอบครัวชาวนาไทย เป็นบุตรคนที่ 2
จากจานวนพี่น้อง 6 คน ของนายเสียง และนางลูกจันทน์ พนมยงค์
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 24 มีนาคม พ.ศ. 2489 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2489
-สมัยที่ 2 : 7 มิถุนายน พ.ศ. 2489 - 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489
-สมัยที่ 3 : 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489 - 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489
8 พลเรือตรีถวัลย์ ธารงนาวาสวัสดิ์ (หลวงธารงนาวาสวัสดิ์)
พลเรือตรี ถวัลย์ ธารงนาวาสวัสดิ์ หรือ หลวงธารงนาวาสวัสดิ์ (21 พฤศจิกายน พ.ศ.
2444 — 3 ธันวาคม พ.ศ. 2531) นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 ของประเทศไทยในช่วง พ.ศ.
2489-2490
พลเรือตรี ถวัลย์ ธารงนาวาสวัสดิ์ (ชื่อ-นามสกุลเดิม: ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) เกิด 21
พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 ที่ตาบลหัวรอ อาเภอรอบกรุง (ปัจจุบัน คือ อ.พระนครศรีอยุธยา)
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นบุตรของนายอู๋ กับนางเงิน ธารีสวัสดิ์ เริ่มการศึกษาที่ โรงเรียนอยุธยา
วิทยาลัย และ โรงเรียนมัธยมวัดเทพศิรินทร์ จากนั้น เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนนายเรือ กรุงเทพ และได้
ศึกษาวิชากฎหมายจนสาเร็จได้เป็นเนติบัณฑิตไทย ในขณะที่รับราชการอยู่ในกองทัพเรือ
ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์และราชทินนามเป็น หลวงธารงนาวาสวัสดิ์
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490
-สมัยที่ 2 : 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
9 พจน์ สารสิน
นายพจน์ สารสิน เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2448 ที่บ้านพักถนนสุรศักดิ์
กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของพระยาสารสินสวามิภักดิ์ (เทียนฮี้) กับคุณหญิงสุ่น สมรสกับคุณหญิง
ศิริ สารสิน ศึกษาที่สหรัฐอเมริกาตั้งแต่วัยเยาว์ เมื่อกลับสู่ประเทศไทยเข้าเรียนวิชากฎหมาย จนสอบได้
เนติบัณฑิตไทยเมื่อปี พ.ศ. 2472 และศึกษาวิชากฎหมายในประเทศอังกฤษ ถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรค
ชรา เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2543 รวมอายุได้ 95 ปีเศษ
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 21 กันยายน พ.ศ. 2500 - 25 ธันวาคม พ.ศ. 2500
10 จอมพล ถนอม กิตติขจร
จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร เกิดเมื่อ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2454 ณ
บ้านหนองหลวง อาเภอเมืองตาก จังหวัดตาก เป็นบุตรของขุนโสภิตบรรณารักษ์ (อาพัน กิตติขจร)
กับนางโสภิตบรรณารักษ์ (ลิ้นจี่) มีพี่น้องร่วมบิดามารดา 7 คน มีแซ่ในภาษาจีนว่า ฝู เริ่มการศึกษา
ชั้นต้นที่โรงเรียนประชาบาลวัดโคกพลู จังหวัดตากหลังจากนั้นได้เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนนายร้อย
ทหารบก และในระหว่างรับราชการทหารได้ศึกษาต่อที่โรงเรียนแผน ที่ทหาร กองทัพบก โรงเรียนทหาร
ราบ กองทัพบก และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (รุ่นที่ 1) ตามลาดับ
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 1 มกราคม พ.ศ. 2501 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
11 จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์
จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตารวจเอก สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน
พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีที่ดารงตาแหน่งจนถึงแก่
อสัญกรรม, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตารวจ เป็นผู้ริเริ่ม
การจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสานักงบประมาณ และเป็นผู้ก่อตั้ง
ธนาคารทหารไทย เจ้าของคาพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียง
ผู้เดียว"
จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เกิด 16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 บ้านท่าโรงยา ตลาดพาหุรัด และได้
เสียชีวิต 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506 (55 ปี) ที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 1 มกราคม พ.ศ. 2501 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
-สมัยที่ 2 : 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2512
-สมัยที่ 3 : 7 มีนาคม พ.ศ. 2512 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
-สมัยที่ 4 : 18 ธันวาคม พ.ศ. 2515 - 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
12 สัญญา ธรรมศักดิ์
ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545)
เคยดารงตาแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
รองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทาน
แต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี
สัญญา ธรรมศักดิ์เกิด 5 เมษายน พ.ศ. 2450 ข้างวัดอรุณราชวราราม บางกอกใหญ่ ถึงแก่
อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2545 สิริอายุ
ได้ 94 ปี
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 - 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
-สมัยที่ 2 : 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 - 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
13 หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เกิดวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2454 ในเรือกลางแม่น้า
เจ้าพระยา ณ ตาบลบ้านม้า อาเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี เป็นโอรสคนสุดท้อง ในบรรดาโอรส-
ธิดา ทั้ง 6 คน ของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคารบ กับหม่อมแดง (บุนนาค) (หม่อมราชวงศ์เสนีย์
ปราโมช เป็นคนที่ 4) โดยชื่อ "คึกฤทธิ์" นั้น มาจากการที่ ชอบร้องไห้เสียงดังในวัยทารก จึงได้รับ
พระราชทานนามนี้จาก สมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เกิด 20 เมษายน พ.ศ. 2454 ตาบลบ้านม้า อาเภออินทร์บุรี
จังหวัดสิงห์บุรี และถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538 สิริรวมอายุ 84 ปี 5 เดือน
20 วัน
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 14 มีนาคม พ.ศ. 2518 - 20 เมษายน พ.ศ. 2519
14 ธานินทร์ กรัยวิเชียร
ธานินทร์ กรัยวิเชียร เกิด 5 เมษายน พ.ศ. 2470 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ นายแห
กับนางผะอบ กรัยวิเชียร สมรสกับคุณหญิงคาเรน กรัยวิเชียร (สกุลเดิม แอนเดอเซ่น) มีบุตร 5 คน
คือ นางรูบีน่า กรัยวิเชียร สุวรรณพงศ์ นายมหินทร์ กรัยวิเชียร นายเขมทัต กรัยวิเชียร นายนิติกร
กรัยวิเชียร และ ทันตแพทย์หญิงรีเบ้กก้า พิทซ์
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520
15 พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
พลเอกเกรียงศักดิ์เกิดเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2460 เป็นบุตรของนายแจ่ม กันนางเจือ
ชมะนันทน์ สมรสกับคุณหญิงวิรัตน์ ชมะนันทน์
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 - 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
-สมัยที่ 2 : 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2523
16 พลเอก เปรม ติณสูลานนท์
พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เกิด 26 สิงหาคม พ.ศ. 2463 ตาบลบ่อยาง อาเภอเมืองสงขลา
ที่ตาบลบ่อยาง อาเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา เป็นบุตรชายคนรองสุดท้อง จากจานวน 8 คน
ของรองอามาตย์โทหลวงวินิจทัณฑกรรม (บึ้ง ติณสูลานนท์) ต้นตระกูลติณสูลานนท์ กับนางวินิจ
ทัณฑกรรม (ออด ติณสูลานนท์) สาเร็จการศึกษาจากโรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา สงขลา
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 3 มีนาคม พ.ศ. 2523 - 30 เมษายน พ.ศ. 2526
-สมัยที่ 2 : 30 เมษายน พ.ศ. 2526 - 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529
-สมัยที่ 3 : 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529 - 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531
17 พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ
"พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ" เกิด 5 เมษายน พ.ศ. 2463 ที่ตาบลพลับพลาไชย จังหวัด
พระนคร เดิมมีชื่อว่า "สมบูรณ์ ชุณหะวัณ" เป็นบุตรของจอมพลผิน ชุณหะวัณ กับคุณหญิง
วิบูลย์ลักษม์ ชุณหะวัณ ในครอบครัวที่มีเชื้อสายจีน มีบรรพบุรุษอพยพมาจากเมืองเท่งไฮ้ (เฉิงไห่)
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533
-สมัยที่ 2 : 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534
18 อานันท์ ปันยารชุน
นายอานันท์ ปันยารชุน เกิดเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2475 เป็นบุตรคนสุดท้องในจานวน
12 คนของ มหาอามาตย์ตรี พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน) และ คุณหญิงปรีชานุสาสน์
(ปฤกษ์ โชติกเสถียร) พี่น้องของนายอานันท์ ปันยารชุนมีดังนี้
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 2 มีนาคม พ.ศ. 2534 - 7 เมษายน พ.ศ. 2535
-สมัยที่ 2 : 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535 - 23 กันยายน พ.ศ. 2535
19 พลเอก สุจินดา คราประยูร
พลเอกสุจินดา คราประยูรเกิดเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2476 เวลาประมาณ 03.35 น.
ที่ตาบลบ้านช่างหล่อ อาเภอบางกอกน้อย จังหวัดธนบุรี เป็นบุตรของนายจวง กับนางสมพงษ์
คราประยูร สมรสกับคุณหญิงวรรณี คราประยูร (หนุนภักดี)
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 7 เมษายน พ.ศ. 2535 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
20 ชวน หลีกภัย
ชวน หลีกภัย (ชื่อจีน: 呂基文; พินอิน: Lǚ Jīwén ลวี่จีเหวิน, ฮกเกี้ยน:
ลู่กี่บุ๋น) เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 ที่ตาบลท้ายพรุ อาเภอเมือง จังหวัดตรัง เป็นบุตร
คนที่ 3 ในจานวน 9 คน ของนายนิยม หลีกภัย และนางถ้วน หลีกภัย เมื่อยังเด็ก นายชวนมีชื่อเรียก
ในครอบครัวว่า "เอียด" หมายถึง เล็ก เนื่องจากเป็นคนรูปร่างเล็ก มีบุตรชายกับนางภักดิพร สุจริตกุล
หนึ่งคน คือ นายสุรบถ หลีกภัย
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 23 กันยายน พ.ศ. 2535 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
-สมัยที่ 2 : 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 - 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
21 บรรหาร ศิลปอาชา
นายบรรหาร ศิลปอาชา เกิดวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 (บางแหล่งกล่าวว่าแท้จริงแล้วเกิด
วันที่ 19 กรกฎาคม ปีเดียวกัน แต่ที่ปรากฏตามทะเบียนราษฎร์คือวันที่ 19 สิงหาคม) ที่จังหวัด
สุพรรณบุรี เป็นบุตรคนที่ 4 ในจานวน 6 คนของนายเซ่งกิม และนางสายเอ็ง แซ่เบ๊ เดิมมีชื่อว่า
นายเต็กเซียง แซ่เบ๊ (马德祥) สมรสกับคุณหญิงแจ่มใส ศิลปอาชา มีบุตร-ธิดารวม 3 คน
เป็นชาย 1 คน คือ นายวราวุธ ศิลปอาชา และเป็นหญิง 2 คน คือ น.ส.กัญจนา ศิลปอาชา และ
น.ส.ปาริชาติ ศิลปอาชา
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
22 พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ
พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ เกิดวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 ที่ จังหวัดนนทบุรีเป็น บุตรของ
ร้อยเอกชั้น ยงใจยุทธ และนางสุรีย์ศรี (ละมุน) ยงใจยุทธ สาเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยพระ
จุลจอมเกล้า เมื่อ พ.ศ. 2496 และ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก เมื่อ พ.ศ. 2507 พล.อ.ชวลิต
สมรสกับ คุณหญิงพันธุ์เครือ ยงใจยุทธ (ลิมปภมร) มีบุตร 3 คน คือ นายคฤกพล ยงใจยุทธ นาง
อรพิณ นพวงศ์ และ พันตารวจตรีหญิงศรีสุภางค์ โสมกุล
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
23 พันตารวจโท ทักษิณ ชินวัตร
พันตารวจโท ทักษิณ ชินวัตร เกิดเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 ที่อาเภอสันกาแพง
จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรคนที่สอง ในจานวน 10 คนของเลิศ และยินดี ชินวัตร ธิดาในเจ้าจันทร์ทิพย์
(ณ เชียงใหม่) ระมิงค์วงศ์ มีศักดิ์เป็นหลานทวดในเจ้าไชยสงครามสมพมิตร ณ เชียงใหม่ (ราช
ปนัดดาในพระเจ้าช้างเผือกธรรมลังกา เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 2)
พันตารวจโท ทักษิณ สมรสกับคุณหญิงพจมาน ดามาพงศ์ หลังลาออกจากราชการตารวจ
ในปี พ.ศ. 2523[37] และมีบุตรด้วยกันสามคน ได้แก่
1. พานทองแท้ ชินวัตร (โอ๊ค)
2. พินทองทา ชินวัตร (เอม)
3. แพทองธาร ชินวัตร (อิ๊ง)
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 - 11 มีนาคม พ.ศ. 2548
-สมัยที่ 2 : 11 มีนาคม พ.ศ. 2548 - 19 กันยายน พ.ศ. 2549
24 พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์
พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486 ในค่ายจักรพงษ์ที่จังหวัดปราจีนบุรี
เป็นบุตรของพันโทพโยม จุลานนท์ บุตรของพันเอกพระยาวิเศษสิงหนาถ (ยิ่ง จุลานนท์) ต้นตระกูลจุ
ลานนท์
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 - 29 มกราคม พ.ศ. 2551
25 สมัคร สุนทรเวช
สมัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ 13 มิถุนายน พ.ศ.
2478—24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 สมัคร สุนทรเวชเป็นบุตรของ เสวกเอก พระยาบารุงราช
บริพาร (เสมียน สุนทรเวช:2435-2521) กับ คุณหญิงบารุงราชบริพาร (อาพัน จิตรกร:2445-
2524) เป็นหลานลุงของ มหาเสวกตรี พระยาแพทย์พงศาวิสุทธาธิบดี (สุ่น สุนทรเวช) นายแพทย์
ประจาพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับพระราชทานนามสกุล "สุนทร
เวช"และได้นามาใช้เป็นนามสกุลร่วมกับบรรดาน้องๆของท่าน ) และเป็นหลานตาของ มหาเสวกตรี
พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร) จิตรกรประจาสานัก นายสมัครเป็นบุตรคนที่ 3 ในจานวนพี่
น้อง 6 คน
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 29 มกราคม พ.ศ. 2551 - 9 กันยายน พ.ศ. 2551
26 สมชาย วงศ์สวัสดิ์
สมชาย วงศ์สวัสดิ์ เกิดเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2490 ที่อาเภอฉวาง จังหวัด
นครศรีธรรมราช เป็นบุตรของนายเจิม-นางดับ วงศ์สวัสดิ์ สมรสกับ นางเยาวภา วงศ์สวัสดิ์ ซึ่งเป็น
น้องสาวของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีดนายกรัฐมนตรี
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 9 กันยายน พ.ศ. 2551 - 18 กันยายน พ.ศ. 2551
-สมัยที่ 2 : 18 กันยายน พ.ศ. 2551 - 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
27 อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มีชื่อเล่นว่า "มาร์ค" เกิดวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2507 ที่เมืองนิวคาสเซิล
ประเทศอังกฤษ เขามีเชื้อสายจีนฮั่น จากฮกเกี้ยน บิดาชื่อ ศาสตราจารย์ นายแพทย์อรรถสิทธิ์ เวชชา
ชีวะ มารดาชื่อ ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงสดใส เวชชาชีวะ
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551 - 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554
28 ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เกิดเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2510 ที่อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่
เป็นบุตรของเลิศ และยินดี ชินวัตร (สกุลเดิม ระมิงค์วงศ์)
ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
-สมัยที่ 1 : 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554

More Related Content

What's hot

นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง มSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
รายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัยรายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัยchickyshare
 
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Pracha Wongsrida
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1Chinnakorn Pawannay
 
七夕 祭り (เทศการวันทานะบาตะ)
七夕 祭り (เทศการวันทานะบาตะ)七夕 祭り (เทศการวันทานะบาตะ)
七夕 祭り (เทศการวันทานะบาตะ)พัน พัน
 

What's hot (7)

นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
 
รายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัยรายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัย
 
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
 
คมชัดลึก14 ต.ค.59
คมชัดลึก14 ต.ค.59คมชัดลึก14 ต.ค.59
คมชัดลึก14 ต.ค.59
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
 
七夕 祭り (เทศการวันทานะบาตะ)
七夕 祭り (เทศการวันทานะบาตะ)七夕 祭り (เทศการวันทานะบาตะ)
七夕 祭り (เทศการวันทานะบาตะ)
 

Similar to ทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทย

ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชChoengchai Rattanachai
 
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (งานเจน)
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์  (งานเจน)กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์  (งานเจน)
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (งานเจน)Anutida Ging
 
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
วันแม่แห่งชาติ 66
วันแม่แห่งชาติ 66วันแม่แห่งชาติ 66
วันแม่แห่งชาติ 66Hero So Good
 
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จTeeraporn Pingkaew
 
พระมหาธรรมราชาที่ 2+568+dltvp4+55t2his p04 f05-1page
พระมหาธรรมราชาที่ 2+568+dltvp4+55t2his p04 f05-1pageพระมหาธรรมราชาที่ 2+568+dltvp4+55t2his p04 f05-1page
พระมหาธรรมราชาที่ 2+568+dltvp4+55t2his p04 f05-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
พระมหาธรรมราชาที่ 2+568+dltvp4+55t2his p04 f05-4page
พระมหาธรรมราชาที่ 2+568+dltvp4+55t2his p04 f05-4pageพระมหาธรรมราชาที่ 2+568+dltvp4+55t2his p04 f05-4page
พระมหาธรรมราชาที่ 2+568+dltvp4+55t2his p04 f05-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
117+hisp4+dltv54+550125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย (1 หน้า)
117+hisp4+dltv54+550125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย (1 หน้า)117+hisp4+dltv54+550125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย (1 หน้า)
117+hisp4+dltv54+550125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
วันแม่แห่งชาติ
วันแม่แห่งชาติวันแม่แห่งชาติ
วันแม่แห่งชาติHero So Good
 
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f16-4page
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f16-4pageทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f16-4page
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f16-4pagePrachoom Rangkasikorn
 

Similar to ทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทย (20)

ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (งานเจน)
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์  (งานเจน)กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์  (งานเจน)
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (งานเจน)
 
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
 
วันแม่แห่งชาติ 66
วันแม่แห่งชาติ 66วันแม่แห่งชาติ 66
วันแม่แห่งชาติ 66
 
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
 
พระมหาธรรมราชาที่ 2+568+dltvp4+55t2his p04 f05-1page
พระมหาธรรมราชาที่ 2+568+dltvp4+55t2his p04 f05-1pageพระมหาธรรมราชาที่ 2+568+dltvp4+55t2his p04 f05-1page
พระมหาธรรมราชาที่ 2+568+dltvp4+55t2his p04 f05-1page
 
พระมหาธรรมราชาที่ 2+568+dltvp4+55t2his p04 f05-4page
พระมหาธรรมราชาที่ 2+568+dltvp4+55t2his p04 f05-4pageพระมหาธรรมราชาที่ 2+568+dltvp4+55t2his p04 f05-4page
พระมหาธรรมราชาที่ 2+568+dltvp4+55t2his p04 f05-4page
 
117+hisp4+dltv54+550125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย (1 หน้า)
117+hisp4+dltv54+550125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย (1 หน้า)117+hisp4+dltv54+550125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย (1 หน้า)
117+hisp4+dltv54+550125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย (1 หน้า)
 
Sss
SssSss
Sss
 
วันแม่แห่งชาติ
วันแม่แห่งชาติวันแม่แห่งชาติ
วันแม่แห่งชาติ
 
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f16-4page
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f16-4pageทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f16-4page
ทดสอบก่อนเรียน+567+55t2his p04 f16-4page
 

More from สมใจ จันสุกสี

ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every dayใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every dayสมใจ จันสุกสี
 
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayสมใจ จันสุกสี
 
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV  เรื่อง Things to do every dayใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV  เรื่อง Things to do every day
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayสมใจ จันสุกสี
 
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTVใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTVสมใจ จันสุกสี
 
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4สมใจ จันสุกสี
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการสมใจ จันสุกสี
 
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิตใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิตสมใจ จันสุกสี
 
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59สมใจ จันสุกสี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1สมใจ จันสุกสี
 
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์สมใจ จันสุกสี
 

More from สมใจ จันสุกสี (20)

ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every dayใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ ม.2 DLTV เรื่อง Things to do every day
 
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
 
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV  เรื่อง Things to do every dayใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV  เรื่อง Things to do every day
ใบงานวิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
 
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTVใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
ใบความรู้ สื่อ วิชาภาษาไทย ม.2 DLTV
 
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
หน่วยที่ 1 ภาษาอังกฤษ อ่าน - เขียน ม.4
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบพนักงานธุรการ
 
Preposition คำบุพบทบอกสถานที่
Preposition คำบุพบทบอกสถานที่ Preposition คำบุพบทบอกสถานที่
Preposition คำบุพบทบอกสถานที่
 
Asking and giving personal information
Asking and giving personal informationAsking and giving personal information
Asking and giving personal information
 
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิตใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
 
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
ข้อสอบโอเน็ตวิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 59
 
แบบฝึกหัดการใช้ some / any
แบบฝึกหัดการใช้ some / any แบบฝึกหัดการใช้ some / any
แบบฝึกหัดการใช้ some / any
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1 unit 1
 
Expertpro powerpoint
Expertpro powerpoint Expertpro powerpoint
Expertpro powerpoint
 
Present continuous tense 1
Present continuous tense 1Present continuous tense 1
Present continuous tense 1
 
Singular and plural
Singular and pluralSingular and plural
Singular and plural
 
This, that , these , those
This, that , these , thoseThis, that , these , those
This, that , these , those
 
there is / there and prepositions
there is / there and prepositionsthere is / there and prepositions
there is / there and prepositions
 
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
จงเปลี่ยนคำนามที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปของพหุพจน์
 
Read the passage and answer the questions ม.3
Read the passage and answer the questions ม.3Read the passage and answer the questions ม.3
Read the passage and answer the questions ม.3
 
แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple
แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple
แบบฝึกหัดเรื่อง Present simple
 

ทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทย

  • 1. 1.พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) มหาอามาตย์โท พระยามโนปกรณนิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของ ประเทศไทย ชื่อเดิมว่า "ก้อน หุตะสิงห์" เกิดวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2427 ที่จังหวัดพระนคร เป็นบุตรของนายฮวด กับนางแก้ว หุตะสิงห์ ท่านถึงอสัญกรรม ณ ปีนัง เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2491 รวมอายุได้ 64 ปีเศษ ระยะเวลาดารงตาแหน่ง -สมัยที่ 1 : 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2475 -สมัยที่ 2 : 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 - 1 เมษายน พ.ศ. 2476 -สมัยที่ 3 : 1 เมษายน พ.ศ. 2476 - 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 2. พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 2 ของประเทศไทย ชื่อเดิมว่า "พจน์ พหลโยธิน" เกิดวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2430 เวลา 03.30 น. ณ บ้านหน้าวัดราชบูรณะ จังหวัดพระนคร เป็นบุตรของพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (ถิ่น พหลโยธิน) กับท่านผู้หญิงจับ พหลโยธิน สมรสกับ ท่านผู้หญิงบุญหลง พหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี 5 สมัย รวมระยะเวลา 5 ปี 5 เดือน 21 วัน ยังได้รับสมญานามว่า เชษฐบุรุษ ด้วย ถึงแก่อสัญกรรมด้วยเส้น โลหิตในสมองแตก เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490 รวมอายุ ได้ 59 ปี ระยะเวลาดารงตาแหน่ง -สมัยที่ 1 : 21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 -สมัยที่ 2 : 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 22 กันยายน พ.ศ. 2477 -สมัยที่ 3 : 22 กันยายน พ.ศ. 2477 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480 -สมัยที่ 4 : 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 -สมัยที่ 5 : 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481
  • 2. 3.จอมพล ป. พิบูลสงคราม (แปลก พิบูลสงคราม) จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศแปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 - 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป." เป็น นายกรัฐมนตรี ที่มีเวลาดารงตาแหน่ง รวมกันมากที่สุดของไทย คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย มีนโยบายที่สาคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนา ประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยะประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออก ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย “ รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายใน ภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การราวง ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย“ มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน จอมพล ป. พิบูลสงคราม เดิมชื่อ แปลก ขีตตะสังคะ' เกิดเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 ถึงแก่ อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 เป็นบุตรนายขีด และนางสาอางค์ ขีตตะสังคะ ภริยาคือ ท่าน ผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม (เดิมนามสกุล "พันธุ์กระวี") ระยะเวลาดารงตาแหน่ง -สมัยที่ 1 : 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2485 -สมัยที่ 2 : 7 มีนาคม พ.ศ. 2485 - 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487 -สมัยที่ 3 : 8 เมษายน พ.ศ. 2491 - 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492 -สมัยที่ 4 : 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 -สมัยที่ 5 : 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 - 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494 -สมัยที่ 6 : 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2495 -สมัยที่ 7 : 24 มีนาคม พ.ศ. 2495 - 21 มีนาคม พ.ศ. 2500 -สมัยที่ 8 : 21 มีนาคม พ.ศ. 2500 - 16 กันยายน พ.ศ. 2500 4 พันตรี ควง อภัยวงศ์ (หลวงโกวิทอภัยวงศ์) พ.ต.ควง อภัยวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2445 ณ จังหวัดพระตะบอง ซึ่ง ขณะนั้นอยู่ใน มณฑลบูรพา ของราชอาณาจักรสยาม (ปัจจุบันอยู่ในประเทศกัมพูชา) เป็นบุตร ของ เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์) ผู้สาเร็จราชการจังหวัดพระตะบอง กับคุณหญิงรอด สมรสกับ คุณหญิงเลขา อภัยวงศ์ พ.ต.ควง อภัยวงศ์ ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2511 รวมอายุได้ 66 ปี ด้วยโรคทางเดินหายใจขัดข้อง พันตรี ควง อภัยวงศ์ หรือที่นิยมเรียกว่า นายควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2445 - 15 มีนาคม พ.ศ. 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรค ประชาธิปัตย์คนแรก ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487 - 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488 -สมัยที่ 2 : 31 มกราคม พ.ศ. 2489 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2489 -สมัยที่ 3 : 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 -สมัยที่ 4 : 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 - 8 เมษายน พ.ศ. 2491
  • 3. 5 ทวี บุณยเกตุ นายทวี บุณยเกตุ (10 พ.ย. 2447 - 3 พ.ย. 2514) นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 หนึ่งใน คณะราษฎรสายพลเรือน และขบวนการเสรีไทยและเป็นผู้แต่งหนังสือเรื่อง พ่อสอนลูก นายทวี บุณยเกตุ เกิดเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2447 เวลา 13.20 น. ที่อาเภอ กันตัง จังหวัดตรัง (ซึ่งขณะนั้นถือเป็นอาเภอเมือง จังหวัดตรัง) เป็นบุตรของพระยารณชัยชาญยุทธ์ (ถนอม บุณยเกตุ) กับคุณหญิงรณชัยชาญยุทธ์ (ทับทิม) โดยชื่อ ทวี มาจากการที่บิดาและมารดา สมรสกันในวันทวีธาภิเษก บุคคลที่เข้าร่วมงานเมื่อเลิกจึงมาในงานสมรสโดยไม่ได้ผลัดเปลี่ยนเสื้อผ้า ติดเหรียญตราทวีธาภิเษกเข้าร่วมงานเลย นายทวีสมรสกับคุณหญิงอาภาศรี บุณยเกตุ ถึงแก่ อสัญกรรมเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 สิริอายุได้ 67 ปี ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488 - 17 กันยายน พ.ศ. 2488
  • 4. 6 หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2448 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย 4 สมัย ผู้ร่วมก่อตั้งและอดีต หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ก่อนเข้าสู่วงการเมือง เคยเป็นผู้พิพากษา และเคยดารงตาแหน่ง เอกอัครราชทูตไทย ประจาสหรัฐอเมริกา มาก่อน ม.ร.ว.เสนีย์ เกิดที่ค่ายทหาร ในจังหวัดนครสวรรค์ เวลาใกล้รุ่ง เป็นโอรสใน พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคารบ กับหม่อมแดง (บุนนาค) ชื่อ "เสนีย์" หมายถึง ทหาร หรือ เสนาบดี ได้รับ พระราชทานนามนี้จากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สันนิษฐานว่า เนื่องจาก เสด็จพ่อ (พระองค์เจ้าคารบ) เป็นทหาร ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 17 กันยายน 2488 - 31 มกราคม 2489 -สมัยที่ 2 : 15 กุมภาพันธ์ 2518 - 13 มีนาคม 2518 -สมัยที่ 3 : 20 เมษายน 2519 - 25 กันยายน 2519 -สมัยที่ 4 : 25 กันยายน 2519 - 6 ตุลาคม 2519
  • 5. 7 ปรีดี พนมยงค์ (หลวงประดิษฐ์มนูธรรม) ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ หรือ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 — 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นผู้นาคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการ ปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และเป็นผู้ให้กาเนิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทย ปรีดี พนมยงค์ เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 ณ เรือนแพหน้าวัดพนมยงค์ ตาบลท่าวาสุกรี อาเภอกรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในครอบครัวชาวนาไทย เป็นบุตรคนที่ 2 จากจานวนพี่น้อง 6 คน ของนายเสียง และนางลูกจันทน์ พนมยงค์ ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 24 มีนาคม พ.ศ. 2489 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 -สมัยที่ 2 : 7 มิถุนายน พ.ศ. 2489 - 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489 -สมัยที่ 3 : 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489 - 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489
  • 6. 8 พลเรือตรีถวัลย์ ธารงนาวาสวัสดิ์ (หลวงธารงนาวาสวัสดิ์) พลเรือตรี ถวัลย์ ธารงนาวาสวัสดิ์ หรือ หลวงธารงนาวาสวัสดิ์ (21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 — 3 ธันวาคม พ.ศ. 2531) นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 ของประเทศไทยในช่วง พ.ศ. 2489-2490 พลเรือตรี ถวัลย์ ธารงนาวาสวัสดิ์ (ชื่อ-นามสกุลเดิม: ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) เกิด 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 ที่ตาบลหัวรอ อาเภอรอบกรุง (ปัจจุบัน คือ อ.พระนครศรีอยุธยา) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นบุตรของนายอู๋ กับนางเงิน ธารีสวัสดิ์ เริ่มการศึกษาที่ โรงเรียนอยุธยา วิทยาลัย และ โรงเรียนมัธยมวัดเทพศิรินทร์ จากนั้น เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนนายเรือ กรุงเทพ และได้ ศึกษาวิชากฎหมายจนสาเร็จได้เป็นเนติบัณฑิตไทย ในขณะที่รับราชการอยู่ในกองทัพเรือ ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์และราชทินนามเป็น หลวงธารงนาวาสวัสดิ์ ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 -สมัยที่ 2 : 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
  • 7. 9 พจน์ สารสิน นายพจน์ สารสิน เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2448 ที่บ้านพักถนนสุรศักดิ์ กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของพระยาสารสินสวามิภักดิ์ (เทียนฮี้) กับคุณหญิงสุ่น สมรสกับคุณหญิง ศิริ สารสิน ศึกษาที่สหรัฐอเมริกาตั้งแต่วัยเยาว์ เมื่อกลับสู่ประเทศไทยเข้าเรียนวิชากฎหมาย จนสอบได้ เนติบัณฑิตไทยเมื่อปี พ.ศ. 2472 และศึกษาวิชากฎหมายในประเทศอังกฤษ ถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรค ชรา เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2543 รวมอายุได้ 95 ปีเศษ ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 21 กันยายน พ.ศ. 2500 - 25 ธันวาคม พ.ศ. 2500
  • 8. 10 จอมพล ถนอม กิตติขจร จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร เกิดเมื่อ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2454 ณ บ้านหนองหลวง อาเภอเมืองตาก จังหวัดตาก เป็นบุตรของขุนโสภิตบรรณารักษ์ (อาพัน กิตติขจร) กับนางโสภิตบรรณารักษ์ (ลิ้นจี่) มีพี่น้องร่วมบิดามารดา 7 คน มีแซ่ในภาษาจีนว่า ฝู เริ่มการศึกษา ชั้นต้นที่โรงเรียนประชาบาลวัดโคกพลู จังหวัดตากหลังจากนั้นได้เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนนายร้อย ทหารบก และในระหว่างรับราชการทหารได้ศึกษาต่อที่โรงเรียนแผน ที่ทหาร กองทัพบก โรงเรียนทหาร ราบ กองทัพบก และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (รุ่นที่ 1) ตามลาดับ ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 1 มกราคม พ.ศ. 2501 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
  • 9. 11 จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตารวจเอก สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีที่ดารงตาแหน่งจนถึงแก่ อสัญกรรม, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตารวจ เป็นผู้ริเริ่ม การจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสานักงบประมาณ และเป็นผู้ก่อตั้ง ธนาคารทหารไทย เจ้าของคาพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียง ผู้เดียว" จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เกิด 16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 บ้านท่าโรงยา ตลาดพาหุรัด และได้ เสียชีวิต 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506 (55 ปี) ที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 1 มกราคม พ.ศ. 2501 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 -สมัยที่ 2 : 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2512 -สมัยที่ 3 : 7 มีนาคม พ.ศ. 2512 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 -สมัยที่ 4 : 18 ธันวาคม พ.ศ. 2515 - 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
  • 10. 12 สัญญา ธรรมศักดิ์ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดารงตาแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, รองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทาน แต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี สัญญา ธรรมศักดิ์เกิด 5 เมษายน พ.ศ. 2450 ข้างวัดอรุณราชวราราม บางกอกใหญ่ ถึงแก่ อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2545 สิริอายุ ได้ 94 ปี ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 - 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 -สมัยที่ 2 : 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 - 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
  • 11. 13 หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เกิดวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2454 ในเรือกลางแม่น้า เจ้าพระยา ณ ตาบลบ้านม้า อาเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี เป็นโอรสคนสุดท้อง ในบรรดาโอรส- ธิดา ทั้ง 6 คน ของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคารบ กับหม่อมแดง (บุนนาค) (หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นคนที่ 4) โดยชื่อ "คึกฤทธิ์" นั้น มาจากการที่ ชอบร้องไห้เสียงดังในวัยทารก จึงได้รับ พระราชทานนามนี้จาก สมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เกิด 20 เมษายน พ.ศ. 2454 ตาบลบ้านม้า อาเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี และถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538 สิริรวมอายุ 84 ปี 5 เดือน 20 วัน ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 14 มีนาคม พ.ศ. 2518 - 20 เมษายน พ.ศ. 2519
  • 12. 14 ธานินทร์ กรัยวิเชียร ธานินทร์ กรัยวิเชียร เกิด 5 เมษายน พ.ศ. 2470 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ นายแห กับนางผะอบ กรัยวิเชียร สมรสกับคุณหญิงคาเรน กรัยวิเชียร (สกุลเดิม แอนเดอเซ่น) มีบุตร 5 คน คือ นางรูบีน่า กรัยวิเชียร สุวรรณพงศ์ นายมหินทร์ กรัยวิเชียร นายเขมทัต กรัยวิเชียร นายนิติกร กรัยวิเชียร และ ทันตแพทย์หญิงรีเบ้กก้า พิทซ์ ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520
  • 13. 15 พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ พลเอกเกรียงศักดิ์เกิดเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2460 เป็นบุตรของนายแจ่ม กันนางเจือ ชมะนันทน์ สมรสกับคุณหญิงวิรัตน์ ชมะนันทน์ ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 - 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 -สมัยที่ 2 : 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2523
  • 14. 16 พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เกิด 26 สิงหาคม พ.ศ. 2463 ตาบลบ่อยาง อาเภอเมืองสงขลา ที่ตาบลบ่อยาง อาเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา เป็นบุตรชายคนรองสุดท้อง จากจานวน 8 คน ของรองอามาตย์โทหลวงวินิจทัณฑกรรม (บึ้ง ติณสูลานนท์) ต้นตระกูลติณสูลานนท์ กับนางวินิจ ทัณฑกรรม (ออด ติณสูลานนท์) สาเร็จการศึกษาจากโรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา สงขลา ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 3 มีนาคม พ.ศ. 2523 - 30 เมษายน พ.ศ. 2526 -สมัยที่ 2 : 30 เมษายน พ.ศ. 2526 - 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529 -สมัยที่ 3 : 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529 - 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531
  • 15. 17 พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ "พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ" เกิด 5 เมษายน พ.ศ. 2463 ที่ตาบลพลับพลาไชย จังหวัด พระนคร เดิมมีชื่อว่า "สมบูรณ์ ชุณหะวัณ" เป็นบุตรของจอมพลผิน ชุณหะวัณ กับคุณหญิง วิบูลย์ลักษม์ ชุณหะวัณ ในครอบครัวที่มีเชื้อสายจีน มีบรรพบุรุษอพยพมาจากเมืองเท่งไฮ้ (เฉิงไห่) ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533 -สมัยที่ 2 : 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534
  • 16. 18 อานันท์ ปันยารชุน นายอานันท์ ปันยารชุน เกิดเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2475 เป็นบุตรคนสุดท้องในจานวน 12 คนของ มหาอามาตย์ตรี พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน) และ คุณหญิงปรีชานุสาสน์ (ปฤกษ์ โชติกเสถียร) พี่น้องของนายอานันท์ ปันยารชุนมีดังนี้ ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 2 มีนาคม พ.ศ. 2534 - 7 เมษายน พ.ศ. 2535 -สมัยที่ 2 : 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535 - 23 กันยายน พ.ศ. 2535
  • 17. 19 พลเอก สุจินดา คราประยูร พลเอกสุจินดา คราประยูรเกิดเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2476 เวลาประมาณ 03.35 น. ที่ตาบลบ้านช่างหล่อ อาเภอบางกอกน้อย จังหวัดธนบุรี เป็นบุตรของนายจวง กับนางสมพงษ์ คราประยูร สมรสกับคุณหญิงวรรณี คราประยูร (หนุนภักดี) ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 7 เมษายน พ.ศ. 2535 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
  • 18. 20 ชวน หลีกภัย ชวน หลีกภัย (ชื่อจีน: 呂基文; พินอิน: Lǚ Jīwén ลวี่จีเหวิน, ฮกเกี้ยน: ลู่กี่บุ๋น) เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 ที่ตาบลท้ายพรุ อาเภอเมือง จังหวัดตรัง เป็นบุตร คนที่ 3 ในจานวน 9 คน ของนายนิยม หลีกภัย และนางถ้วน หลีกภัย เมื่อยังเด็ก นายชวนมีชื่อเรียก ในครอบครัวว่า "เอียด" หมายถึง เล็ก เนื่องจากเป็นคนรูปร่างเล็ก มีบุตรชายกับนางภักดิพร สุจริตกุล หนึ่งคน คือ นายสุรบถ หลีกภัย ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 23 กันยายน พ.ศ. 2535 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 -สมัยที่ 2 : 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 - 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
  • 19. 21 บรรหาร ศิลปอาชา นายบรรหาร ศิลปอาชา เกิดวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 (บางแหล่งกล่าวว่าแท้จริงแล้วเกิด วันที่ 19 กรกฎาคม ปีเดียวกัน แต่ที่ปรากฏตามทะเบียนราษฎร์คือวันที่ 19 สิงหาคม) ที่จังหวัด สุพรรณบุรี เป็นบุตรคนที่ 4 ในจานวน 6 คนของนายเซ่งกิม และนางสายเอ็ง แซ่เบ๊ เดิมมีชื่อว่า นายเต็กเซียง แซ่เบ๊ (马德祥) สมรสกับคุณหญิงแจ่มใส ศิลปอาชา มีบุตร-ธิดารวม 3 คน เป็นชาย 1 คน คือ นายวราวุธ ศิลปอาชา และเป็นหญิง 2 คน คือ น.ส.กัญจนา ศิลปอาชา และ น.ส.ปาริชาติ ศิลปอาชา ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
  • 20. 22 พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ เกิดวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 ที่ จังหวัดนนทบุรีเป็น บุตรของ ร้อยเอกชั้น ยงใจยุทธ และนางสุรีย์ศรี (ละมุน) ยงใจยุทธ สาเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยพระ จุลจอมเกล้า เมื่อ พ.ศ. 2496 และ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก เมื่อ พ.ศ. 2507 พล.อ.ชวลิต สมรสกับ คุณหญิงพันธุ์เครือ ยงใจยุทธ (ลิมปภมร) มีบุตร 3 คน คือ นายคฤกพล ยงใจยุทธ นาง อรพิณ นพวงศ์ และ พันตารวจตรีหญิงศรีสุภางค์ โสมกุล ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
  • 21. 23 พันตารวจโท ทักษิณ ชินวัตร พันตารวจโท ทักษิณ ชินวัตร เกิดเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 ที่อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรคนที่สอง ในจานวน 10 คนของเลิศ และยินดี ชินวัตร ธิดาในเจ้าจันทร์ทิพย์ (ณ เชียงใหม่) ระมิงค์วงศ์ มีศักดิ์เป็นหลานทวดในเจ้าไชยสงครามสมพมิตร ณ เชียงใหม่ (ราช ปนัดดาในพระเจ้าช้างเผือกธรรมลังกา เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 2) พันตารวจโท ทักษิณ สมรสกับคุณหญิงพจมาน ดามาพงศ์ หลังลาออกจากราชการตารวจ ในปี พ.ศ. 2523[37] และมีบุตรด้วยกันสามคน ได้แก่ 1. พานทองแท้ ชินวัตร (โอ๊ค) 2. พินทองทา ชินวัตร (เอม) 3. แพทองธาร ชินวัตร (อิ๊ง) ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 - 11 มีนาคม พ.ศ. 2548 -สมัยที่ 2 : 11 มีนาคม พ.ศ. 2548 - 19 กันยายน พ.ศ. 2549
  • 22. 24 พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486 ในค่ายจักรพงษ์ที่จังหวัดปราจีนบุรี เป็นบุตรของพันโทพโยม จุลานนท์ บุตรของพันเอกพระยาวิเศษสิงหนาถ (ยิ่ง จุลานนท์) ต้นตระกูลจุ ลานนท์ ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 - 29 มกราคม พ.ศ. 2551
  • 23. 25 สมัคร สุนทรเวช สมัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478—24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 สมัคร สุนทรเวชเป็นบุตรของ เสวกเอก พระยาบารุงราช บริพาร (เสมียน สุนทรเวช:2435-2521) กับ คุณหญิงบารุงราชบริพาร (อาพัน จิตรกร:2445- 2524) เป็นหลานลุงของ มหาเสวกตรี พระยาแพทย์พงศาวิสุทธาธิบดี (สุ่น สุนทรเวช) นายแพทย์ ประจาพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับพระราชทานนามสกุล "สุนทร เวช"และได้นามาใช้เป็นนามสกุลร่วมกับบรรดาน้องๆของท่าน ) และเป็นหลานตาของ มหาเสวกตรี พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร) จิตรกรประจาสานัก นายสมัครเป็นบุตรคนที่ 3 ในจานวนพี่ น้อง 6 คน ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 29 มกราคม พ.ศ. 2551 - 9 กันยายน พ.ศ. 2551
  • 24. 26 สมชาย วงศ์สวัสดิ์ สมชาย วงศ์สวัสดิ์ เกิดเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2490 ที่อาเภอฉวาง จังหวัด นครศรีธรรมราช เป็นบุตรของนายเจิม-นางดับ วงศ์สวัสดิ์ สมรสกับ นางเยาวภา วงศ์สวัสดิ์ ซึ่งเป็น น้องสาวของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีดนายกรัฐมนตรี ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 9 กันยายน พ.ศ. 2551 - 18 กันยายน พ.ศ. 2551 -สมัยที่ 2 : 18 กันยายน พ.ศ. 2551 - 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
  • 25. 27 อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มีชื่อเล่นว่า "มาร์ค" เกิดวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2507 ที่เมืองนิวคาสเซิล ประเทศอังกฤษ เขามีเชื้อสายจีนฮั่น จากฮกเกี้ยน บิดาชื่อ ศาสตราจารย์ นายแพทย์อรรถสิทธิ์ เวชชา ชีวะ มารดาชื่อ ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงสดใส เวชชาชีวะ ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551 - 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554
  • 26. 28 ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เกิดเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2510 ที่อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรของเลิศ และยินดี ชินวัตร (สกุลเดิม ระมิงค์วงศ์) ระยะเวลาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี -สมัยที่ 1 : 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554