SlideShare a Scribd company logo
1 of 176
Download to read offline
 1
IPST-MicroBOXSecondaryEducation (SE)
Starter manual


2
IPST-MicoBOX (SE) Starter Manual
คูมือเริ่มตนใชงานกลองสมองกล IPST-MicroBOX (SE)
ISBN 974-92023-0-9
ใครควรใชหนังสือเลมนี้
1.นักเรียนนิสิตนักศึกษาและบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจในการนําไมโครคอนโทรลเลอรไปประยุกตใชในการทดลอง
ทางวิทยาศาสตรหรือสนใจในการเรียนรูและทดลองวิยาศาสตรในแนวทางใหมที่ใชกิจกรรมเปนสื่อโดยมีไมโคร
คอนโทรลเลอรเปนสวนประกอบ
2.สถาบันการศึกษาโรงเรียนวิทยาลัยมหาวิทยาลัยที่มีการเปดการเรียนการสอนวิชาอิเล็กทรอนิกสหรือภาควิชา
วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร
3.คณาจารยที่มีความตองการศึกษาและเตรียมการเรียนการสอนวิชาไมโครคอนโทรลเลอรรวมถึงวิทยาศาสตร
ประยุกตที่ตองการบูรณาการความรูทางอิเล็กทรอนิกส-ไมโครคอนโทรลเลอร-การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร-
การทดลองทางวิทยาศาสตรในระดับมัธยมศึกษาอาชีวศึกษาและปริญญาตรี
รายละเอียดที่ปรากฏในคูมือเริ่มตนใชงานกลองสมองกล IPST-MicroBOX(SE) ผานการตรวจทานอยางละเอียด
และถวนถี่ เพื่อใหมีความสมบูรณและถูกตองมากที่สุดภายใตเงื่อนไขและเวลาที่พึงมีกอนการจัดพิมพเผยแพร
ความเสียหายอันอาจเกิดจาก การนําขอมูลในหนังสือเลมนี้ไปใช ทางบริษัท อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต จํากัด
มิไดมีภาระในการรับผิดชอบแตประการใด ความผิดพลาดคลาดเคลื่อนที่อาจมีและไดรับการจัดพิมพเผยแพรออก
ไปนั้น ทางบริษัทฯ จะพยายามชี้แจงและแกไขในการจัดพิมพครั้งตอไป
สงวนลิขสิทธิ์ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2521
หามการลอกเลียนไมวาสวนหนึ่งสวนใดของหนังสือเลมนี้ นอกจากจะไดรับอนุญาต
ดําเนินการจัดพิมพและจําหนายโดย
บริษัท อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต จํากัด
108 ซ.สุขุมวิท 101/2 ถ.สุขุมวิทแขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260
โทรศัพท 0-2747-7001-4
โทรสาร 0-2747-7005
 3
IPST-MicroBOX(SE)
จากการเริ่มตนพัฒนาชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOXโดยสาขาคอมพิวเตอรสถาบันสงเสริมการสอน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีหรือสสวท.ที่สามารถนําไปบูรณาการกับวิชาอื่นๆไดไดรับการตอบรับและมีการนําไป
ใชในการเรียนการสอนดานวิทยาศาสตรประยุกตดานการเขียนและพัฒนาโปรแกรมภาษาCรวมถึงในวิชาโครงงาน
เพื่อใหผูเรียนสามารถนําองคความรูนี้ไปใชและตอยอดเพื่อสรางโครงงานวิทยาศาสตรสมัยใหม
IPST-MicroBOXเพื่อเปนสื่อทางเลือกหนึ่งสําหรับครูผูสอนในการจัดการเรียนการสอนวิชาการโปรแกรมวิชา
โครงงานในระดับมัธยมศึกษาชุดการเรียนการสอนนี้จะเนนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบบูรณาการนักเรียนไดรู
เกี่ยวกับอุปกรณและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตนการเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมไมโครคอนโทรลเลอรการทําโครงงานซึ่ง
ตองบูรณาการกับวิชาฟสิกสเคมีชีววิทยาคณิตศาสตรและคอมพิวเตอรเขาดวยกันซึ่งจะทําใหการเรียนการสอน
มีความนาสนใจและเปนอีกแนวทางหนึ่งในการสอนเพื่อใหนักเรียนรักการเขียนโปรแกรมรูจักคิดวิเคราะหและแก
ปญหาทั้งในวิชาที่เรียนและในชีวิตประจําวัน
จนกระทั่งในปพ.ศ.2556 สสวท.ไดมีการจัดตั้งโครงการหองเรียนวิทยาศาสตรในระดับมัธยมศึกษาตอน
ตนขึ้นโดยมีชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX เปนสื่อการเรียนรูหนึ่งที่ควรมีในหองเรียนวิทยาศาสตรเนื่องจาก
IPST-MicroBOXเดิมออกแบบมาเพื่อใชในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเปนหลักดังนั้นเมื่อนํามาใชในหองเรียนวิทยา
ศาสตรในระดับมัธยมศึกษาตอนตนจึงตองมีการปรับปรุงใหม เพื่อใหเหมาะกับนักเรียนในระดับนี้กอปรกับการ
เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีอุปกรณอิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอรสมัยใหมที่มีระบบปฏิบัติการที่หลากหลายทั้ง
วินโดวส,ลีนุกซหรือกระทั่งMACOSพอรตเชื่อมตอของคอมพิวเตอรที่เนนไปยังพอรต USBสงผลใหการปรับปรุง
IPST-MicroBOX ครั้งนี้ จึงตองเลือกฮารดแวรที่สามารถรองรับกับพอรต USB เลือกซอฟตแวรที่ใชในการพัฒนา
โปรแกรมที่รองรับกับความหลากหลายของระบบปฏิบัติการและยังตองมีการพัฒนาชุดคําสั่งตางๆที่ทําใหนักเรียน
ในระดับมัธยมตนสามารถเรียนรูและทําความเขาใจได
IPST-MicroBOX SecondaryEducationหรือIPST-MicroBOX(SE) จึงเกิดขึ้นโดยในชุดจะมีอุปกรณที่
เพียงพอสําหรับการเรียนรูในเบื้องตนตอยอดไปทําโครงงานอยางงายและขั้นกลางไดทั้งยังมีชิ้นสวนในที่นําไปสราง
เปนหุนยนตอัตโนมัติขนาดเล็กไดดวยภายใตงบประมาณรวมที่ถูกลงทางดานซอฟตแวรเลือกใชซอฟตแวรWiring
IDE(www.wiring.org.co)อันเปนซอฟตแวรสําหรับพัฒนาโปรแกรมดวยภาษาC/C++ที่ใชงานไดกับระบบปฏิบัติ
การวินโดวส, ลีนุกซ และMAC OS ทั้งยังเปนซอฟตแวรแบบซอรสเปด ใชงานไดโดยไมมีคาใชจาย และไมจํากัด
ระยะเวลาใชงานรวมถึงมีการปรับปรุงอยางตอเนื่องเพื่อใหไดซอฟตแวรที่มีประสิทธิภาพสูง
ชุดกลองสมองกล IPST-MicroBOX Secondary Education หรือ IPST-MicroBOX (SE) เปนสื่อการเรียนรูทาง
เลือกสําหรับครู, อาจารย และนักเรียนที่มีความประสงคในการตอยอดหรือประยุกตใชกลองสมองกลที่มีไมโคร
คอนโทรลเลอรเปนตัวควบคุมหลักในการเรียนรูและพัฒนาโครงงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
การจัดหาสื่อการเรียนรูนี้เปนไปในรูปแบบสมัครใจการบริการเกี่ยวกับการจัดหาและซอมแซมอุปกรณอยูภายใตความ
รับผิดชอบของบริษัทอินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต จํากัด (www.inex.co.th หรือ www.ipst-microbox.com)
4

บทที่1เริ่มตนใชงานชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE)...............................................................5
บทที่2แนะนําชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE)...................................................................19
บทที่3รูจักกับWiringซอฟตแวรพัฒนาโปรแกรมภาษาC/C++
สําหรับชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE)...................................................................37
บทที่ 4 ทดสอบการควบคุมอุปกรณเบื้องตนของชุดกลองสมองกล
IPST-MicroBOX(SE)...........................................................................................................51
บทที่ 5 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับไฟลไลบรารีของชุดกลองสมองกล
IPST-MicroBOX(SE)..........................................................................................................69
บทที่6 การแสดงผลดวยจอกราฟกLCDสีของชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE).................95
บทที่7ควบคุมการติดดับของLEDดวยซอฟตแวร........................................................................117
บทที่8 การควบคุมLEDหลายดวงของชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE)............................125
บทที่9ติดตอกับสวิตชเพื่ออานคาและนําไปใชงาน.......................................................................145
บทที่10การอานคาสัญญาณอะนาลอกอยางงาย.........................................................................159
 5


การใชงานชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOXSecondaryEducation(SE)มีขั้นตอนโดยสรุป
ดังแผนภาพในรูปที่1-1ในบทนี้จะอธิบายถึงขั้นตอนตางๆในการเริ่มตนใชงานชุดกลองสมองกลIPST-
เปนลําดับไป
เตรียมการสรางโปรแกรมควบคุม
1. เปดซอฟตแวร Wiring 1.0 SE สรางไฟลใหม
2. เลือกชนิดของแผงวงจร ที่เมนู Tools > Board > IPST-SE >
ATmega644P@16MHz
3. เลือกชองตอคอมพิวเตอร ที่เมนู Tools > Serial port > COMx
โดย x เปนเลขใดๆ ไดมาจากการตรวจสอบตําแหนงที่ Device
manager
เขียนโปรแกรมภาษา C/C++ แลวบันทึกไฟล
คอมไพล
ติดตั้งซอฟตแวร
- Wiring 1.0 SE ซอฟตแวรเขียนโปรแกรมภาษา C/C++
- ไดรเวอร USB ของแผงวงจรหลัก IPST-SE
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ตรวจสอบชองเชื่อมตอคอมพิวเตอร
ของแผงวงจร IPST-SE
- เชื่อมตอแผงวงจรหลัก IPST-SE เขากับพอรต USB
- เลือกเปด Control panel > System > Hardware > Device
Manager > Ports ดูที่หัวขอ USB serial port (COMx)
- จําตําแหนงของ USB serial port (COMx) โดย x เปนตัวเลข
ใดๆ ปกติมีคามากกวา 3 เพื่อเลือกชองติดตอสื่อสารระหวาง
คอมพิวเตอรกับแผงวงจรหลัก IPST-SE
อัปโหลดโปรแกรม
โปรแกรมที่แผงวงจร IPST-SE เริ่มทํางาน
รูปที่ 1-1 แผนภาพแสดงขั้นตอนและกระบวนการเรียนรูเพื่อใชงานชุดกลองสมองกล IPST-
MicroBOX(SE) เริ่มจากดานซาย ตั้งแตการติดตั้งโปรแกรม และการตรวจสอบการเชื่อมตอ
ระหวางแผงวงจรควบคุมกับคอมพิวเตอร ไลมาทางขวา เริ่มจากขั้นตอนเตรียมการสรางโปรแกรม
ควบคุม, เขียนโปรแกรม, คอมไพลหรือการแปลโปรแกรมภาษา C เปนภาษาเครื่อง, อัปโหลดหรือ
สงโปรแกรมไปยังแผงวงจรหลัก IPST-SE จากนั้นจึงทําการรันโปรแกรมเพื่อตรวจสอบการทํางาน
6
1.1 ติดตั้งโปรแกรมซอฟตแวรและไดรเวอร
1.1.1 ระบบปฏิบัติการที่รองรับ
ซอฟตแวรสําหรับพัฒนาโปรแกรมในโครงการWiringนี้คือWiringDevelopmentEnvironment
หรือบางครั้งเรียกวาWiringIDEทํางานไดกับระบบปฏิบัติการหรือแพล็ตฟอรม(platform)ดังนี้
 Mac OSX 10.4 (ทั้งรุนที่ใชซีพีพียูเพาเวอรพีซีและอินเทล)
 วินโดวส XP, วินโดวสวิสตา และ 7 (ไมสนับสนุนวินโดวส ME, 98SE และ 95)
 Linux ทั้ง Fedora Core และ Debian (รวมถึง Ubuntu ดวย)
 แพล็ตฟอรมอื่นๆ ที่สนับสนุนการทํางานของ Java 1.4 ขึ้นไป
1.1.2ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรมและไดรเวอรUSBที่ใชงานกับชุดกลองสมองกล
IPST-MicroBOX(SE)
(1)นําแผนซีดีรอมที่จัดมาพรอมกับชุดIPST-MicroBOX(SE)ใสลงในซีดีรอมไดรฟแลวเลือก
คลิกที่ไฟล Wiring1000_IPST_SE_130222.exe (ตัวเลขของไฟลติดตั้งอาจเปลี่ยนแปลงไดตามการ
ปรับปรุงลาสุด) จะปรากฏหนาตางตอนรับสูการติดตั้งซอฟตแวร Wiring ดังรูป
(2) จากนั้นคลิกตอบตกลงในแตละขั้นตอนของการติดตั้งเหมือนกับการติดตั้งแอปพลิเคชั่น
อื่นๆ ของวินโดวส จนเสร็จสิ้น
 7
(3)จากนั้นจะปรากฏหนาตางติดตั้งไดรเวอรUSBสําหรับติดตอกับแผงวงจรควบคุมIPST-SE
ใหคลิกปุม Install เพื่อเริ่มการติดตั้งไดรเวอร
(4) ทดสอบเปดโปรแกรมโดยเลือกที่เมนู Start > All Programs> Wiring > Wiring1.0 SE
จากนั้นครูหนึ่งหนาตางของซอฟตแวร Wiring IDE 1.0 จะปรากฏขึ้น
จากนี้ซอฟตแวรWiringIDE1.0พรอมสําหรับการพัฒนาโปรแกรมแกชุดกลองสมอง
กลIPST- MicroBOX(SE) แลว
8
1.2แผงวงจรหลักIPST-SEของชุดกลองสมองIPST-MicroBOX(SE)
อุปกรณหลักที่ใชในการเรียนรูกลองสมองกลคือชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE)ที่มี
แผงวงจรหลักชื่อIPST-SEมีหนาตาแสดงดังรูปที่1-2พรอมคําอธิบายของสวนประกอบตางๆแผงวงจร
IPST-SEเปนแผงวงจรขนาดเล็กที่มีไมโครคอนโทรลเลอรเบอร ATmega644P เปนหัวใจหลักในการ
ควบคุมการทํางาน โดยตัวควบคุมหลักหรือไมโครคอนโทรลเลอรจะไดรับการโปรแกรมผานทาง
พอรต USB ดวยซอฟตแวร Wiring IDE 1.0
บนแผงวงจรควบคุมนี้มีจุดตอเพื่อรับสัญญาณจากตัวตรวจจับภายนอกทั้งแบบอะนาลอก
และดิจิตอลเพื่อชวยใหแผงวงจรสามารถรับขอมูลจากสิ่งแวดลอม เชน แสง, อุณหภูมิ, ระยะหางจาก
วัตถุของตัวตรวจจับ เปนตน นอกจากนั้นยังมีจุดตอเพื่อสงสัญญาณออกไปควบคุมอุปกรณภายนอก
อาทิ ไดโอดเปลงแสง ลําโพง มอเตอรไฟตรง และเซอรโวมอเตอร
ดานการแสดงผลแผงวงจร IPST-SE มีจอแสดงผลแบบกราฟก LCD สีขนาด 1.8 นิ้วในตัว มี
ความละเอียด 128 x 160 จุด แสดงตัวอักษรไดสูงสุด 21 ตัวอักษร 16 บรรทัด แสดงภาพกราฟกสีได
(ไมรองรับภาพถายที่มีความละเอียดสูง) และเลือกทิศทางในการแสดงผลได
27A3 30A6
29A526A2
28A425A1
24A0
USB
D
9SDA 8SCL
12131415SV0SV1SV2SV3
12
6V
G
13
6V
G
14
6V
G
15
6V
G
21
DCMOTOR
3 TxD1
LOW+5
2 RxD1
UART1
SERVO
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
RESET2019
18
17
16
KNOB
OK
SW1




ON














































รูปที่1-2แสดงสวนประกอบและหนาที่ของแผงวงจรหลักIPST-SEในชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE)
 9
1.3 ทดสอบการอัปโหลดโปรแกรม
สําหรับการเขียนโปรแกรมลงไปบนแผงวงจร IPST-SE ครั้งแรก จะเรียกวา การอัปโหลด
(upload) ปกติแลวจะใชคําวา “ดาวนโหลด” แตสําหรับการทํางานกับซอฟตแวร Wiring IDE1.0 จะ
เรียกกระบวนการนี้วา อัปโหลด
ขั้นตอนการอัปโหลดโปรแกรมครั้งแรก มี 2 ขั้นตอนหลักๆ คือ การตรวจสอบตําแหนงของ
พอรตที่ใชในการติดตอระหวางแผงวงจรหลักIPST-SEกับซอฟตแวรWiringIDE1.0บนคอมพิวเตอร
และขั้นตอนการตั้งคาเพื่อใชในการอัปโหลดโปรแกรม
1.3.1 การตรวจสอบตําแหนงของพอรตอนุกรมเสมือน หรือ USB Serial port
สําหรับแผงวงจรIPST-SE
(1) เสียบสาย USB เชื่อมตอระหวางแผงวงจรIPST-SE กับพอรต USB ของคอมพิวเตอร เปด
สวิตชเพื่อจายไฟ รอจนกระทั่งไฟสีนํ้าเงินที่ตําแหนง USB บนแผงวงจรควบคุมติดสวาง ดังรูปที่ 1-3
27A3 30A6
29A526A2
28A425A1
24A0
USB
D
9SDA 8SCL
12131415SV0SV1SV2SV3
12
6V
G
13
6V
G
14
6V
G
15
6V
G
21
DCMOTOR
3 TxD1
LOW+5
2 RxD1
UART1
SERVO
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
RESET2019
18
17
16
KNOB
OK
SW1
ON

3
1
2

4
รูปที่ 1-3การเชื่อมตอแผงวงจร IPST-SE กับคอมพิวเตอรเพื่อเตรียมใชงานกับซอฟตแวร Wiring IDE
10
(2) คลิกที่ปุม Start แลวเลือกไปที่ Control Panel
(3) จากนั้นดับเบิลคลิกเลือกที่ System
(4) เลือกไปที่แท็ป Hardware แลวคลิกที่ Device Manager
(5) ตรวจสอบรายการฮารดแวรที่หัวขอ Port จะพบ USB Serial port ใหดูวามีการเลือก
ตําแหนงของพอรต อนุกรม USB Serial port ไวที่ตําแหนงใด ปกติจะเปน COM3 ขึ้นไป ใหใชคา
ของตําแหนงของพอรตอนุกรมนี้ในการกําหนดการเชื่อมตอกับโปรแกรมตอไปตามรูปตัวอยางจะเปน
COM3
 11
1.3.2 เชื่อมตอแผงวงจรหลัก IPST-SE กับซอฟตแวร Wiring IDE
หลังจากทราบถึงตําแหนงของพอรตที่เชื่อมตอกับคอมพิวเตอรแลว ในลําดับตอไปเปนการ
เชื่อมตอเขากับซอฟตแวร Wiring IDE
(1) เปดโปรแกรม Wiring IDE รอสักครูหนึ่ง หนาตางหลักของ Wiring IDE จะปรากฏขึ้น
ในการเปดใชงานWiringIDEในครั้งแรกอาจใชเวลาพอสมควร(ขึ้นอยูกับคอมพิวเตอรแตละเครื่อง)
(2) เลือกฮารดแวรที่ใชโดยเลือกเมนูTools>Board> IPST-SE> ATmega644P@16MHz
(3)เลือกพอรตติดตอ โดยไปที่เมนูTools> SerialPortเลือกตําแหนงของพอรตอนุกรมที่ใช
ในการเชื่อมตอกับแผงวงจร IPST-SE ในที่นี้คือ COM3
ขั้นตอนนี้ควรทําทุกครั้งที่เชื่อมตอแผงวงจร IPST-SE กับพอรต USB ของคอมพิวเตอรใหม
เพียงเทานี้แผงวงจรIPST-SE พรอมสําหรับการติดตอกับซอฟตแวร Wiring IDE 1.0 แลว
12
1.3.3 ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
(1) สรางไฟลใหมดวยการคลิกที่ปุม New บนแถบเครื่องมือหรือเลือกจากเมนู File > New
(2)พิมพโคดโปรแกรมตอไปนี้
#include <ipst.h> // ผนวกไฟลไลบรารีหลัก ipst.h
void setup()
{
glcdClear(); // ลางการแสดงผล
glcdMode(0); // เลือกทิศทางการแสดงผลโหมด 0
}
void loop()
{
setTextSize(2); // เลือกขนาดตัวอักษร 2 เทา
setTextColor(GLCD_YELLOW); // เลือกสีของตัวอักษรเปนสีเหลือง
glcd(1,1,"Hello"); // กําหนดขอความที่บรรทัด 1 คอลัมน 1
setTextColor(GLCD_SKY); // เลือกสีของตัวอักษรเปนสีฟา
glcd(3,1,"IPST"); // กําหนดขอความที่บรรทัด 3 คอลัมน 1
glcd(4,1,"MicroBOX"); // กําหนดขอความที่บรรทัด 4 คอลัมน 1
setTextSize(1); // เลือกขนาดตัวอักษรปกติ
glcd(10,2,"Secondary Education"); // กําหนดขอความที่บรรทัด 10 คอลัมน 2
}
โปรแกรมนี้ใชในการทดสอบการทํางานเบื้องตนของแผงวงจร IPST-SE โดยกําหนดใหแสดงขอความ
ที่จอแสดงผลดวยขนาดและสีของตัวอักษรที่ตางกัน
 13
(3) ไปที่เมนู File เลือกคําสั่ง Save As เพื่อบันทึกไฟลในชื่อ HelloIPST-SE ตอนนี้จะมีไฟล
HelloIPST-SE.pde เกิดขึ้นในโฟลเดอรชื่อวา HelloIPST-SE
(4)ตรวจสอบการเขียนโปรแกรมดวยการคลิกที่ปุมRun ที่แถบเครื่องมือหรือเลือกคําสั่งจาก
เมนู Sketch > Compile/Verify
หากมีความผิดพลาดเกิดขึ้นจากการคอมไพลจะปรากฏขอความแจงความผิดพลาดใน
ชองแสดงสถานะและพื้นที่แสดงขอความ ตองทําการแกไขโปรแกรม
14
หากการคอมไพลถูกตอง ที่ชองแสดงสถานะจะแจงแสดงขอความ Done compiling
หลังจากการคอมไพลสําเร็จในโฟลเดอรHelloIPST-SEจะมีโฟลเดอรใหมเกิดขึ้นชื่อ
วา Build ภายในโฟลเดอร Build จะบรรจุไฟลซอรสโปรแกรมภาษา C++ และไฟลประกอบ
(5) ตอสาย USB เขากับแผงวงจร IPST-SE จากนั้นเปดสวิตชจายไฟเลี้ยง แลวรอใหการเชื่อม
ตอกับคอมพิวเตอรเสร็จสมบูรณ (ดูจากไฟแสดงผลสีนํ้าเงินที่ตําแหนง USB ติดสวาง)
(6)คลิกที่ปุม Uploadto WiringHardware บนแถบเครื่องมือถาทุกอยางเปนปกติเมื่อ
ทําการอัปโหลดเสร็จจะมีขอความแจงที่ชองแสดงสถานะวา Doneuploading. RESETto start the
newprogram.และที่พื้นที่แสดงขอความจะแจงกระบวนการและผลคอมไพลรวมถึงขนาดของไฟล
ผลลัพธที่เกิดขึ้น
ถามีขอผิดพลาดเกิดขึ้นจะมีขอความแจงเตือนในพื้นที่แสดงขอความดานลางของหนา
ตางโปรแกรมหลัก
ซึ่งสวนใหญแลวมักเกิดจากการเลือกพอรตอนุกรมไมถูกตองหรือไมไดเลือกใหบอรด
ทํางานในโหมดโปรแกรม การแกไขใหดูในหัวขอ การแกปญหาในกรณีที่อัปโหลดโปรแกรมไมได
 15
(7) หลังจากอัปโหลดโปรแกรมแลวแผงวงจรหลักIPST-SEจะทํางานทันทีไดผลการทํางาน
ตามรูป

เพื่อใหเครื่องมือและอุปกรณอยูในสภาพที่พรอมทํางานตลอดเวลา สิ่งที่ควรกระทําทุกครั้งที่ใชงาน
ชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE) คือ
(1)ปดสวิตช POWERทุกครั้งที่มีการถอดหรือตอสายเขากับคอมพิวเตอรและชุดโปรแกรม
(2)ปดสวิตช POWERทุกครั้งที่มีการตอหรือปลดสายของแผงวงจรตรวจจับสัญญาณหรืออุปกรณใดๆ
เขากับแผงวงจรควบคุมIPST-SE
(3)หลังจากที่ทดลองเสร็จในแตละการทดลองควรปดสวิตชกอนที่จะทําการปลดสายสัญญาณเพื่อตอ
แผงวงจรใหมเขาไปเพื่อทําการทดลองในหัวขอใหม
(4)ไมควรปลดหรือตอสายสัญญาณของแผงวงจรใดๆเขาไปในแผงวงจร IPST-SEในขณะกําลังทํางาน
เวนแตมีขั้นตอนการปฏิบัติอื่นใดที่ระบุเจาะจงวาตองสายสัญญาณในขณะทํางานของการทดลองนั้นๆ
(5) หากมีความผิดพลาดใดๆ เกิดขึ้น ตองปดสวิตชจายไฟทันที
(6)ไมใชอะแดปเตอรไฟตรงที่มีแรงดันขาออกเกิน+12V กับแผงวงจร IPST-SE
(7) หลังจากเสร็จสิ้นการทดลอง ใหปลดสายเชื่อมตอคอมพิวเตอรและสายของอะแดปเตอรหรือแหลง
จายไฟออกจากแผงวงจร IPST-SE เสมอ
16
1.4 การแกปญหาในกรณีที่อัปโหลดโปรแกรมไมได
1.4.1 กรณีที่คลิกปุม Upload แลว ไมมีการทํางานใดๆ ตอ หรือโปรแกรมคาง
สาเหตุ :
ซอฟตแวร Wiring ไมสามารถติดตอกับแผงวงจรหลัก IPST-SE ได
ทางแกไข :
(1) ตรวจสอบการตอสาย miniB-USB
(2) ตรวจสอบการเลือกพอรตหรือชองเชื่อมตอวา ถูกตองหรือไม
(3) เกิดความผิดปกติขึ้นในระบบคอมพิวเตอร จึงตองหยุดการทํางานของซอฟตแวร Wiring
โดยกดคีย Ctrl, Alt และ Delete พรอมกัน หนาตาง Window Security ปรากฏขึ้น แลวคลิก
เลือก Task Manager หรือในคอมพิวเตอรบางเครื่องอาจเขาสูหนาตาง Window Task mangaer ทันที
ใหเลือกแท็ป Processesแลวหาชื่อไฟล avrdude.exeคลิกเลือกที่ไฟลนั้น แลวคลิกที่ปุม End Process
จากนั้นซอฟตแวร Wiring IDE จะกลับมาทํางานในสถานะปกติได ทําการจายไฟให
กับบอรดอีกครั้ง เลือกพอรตเชื่อมตอใหถูกตอง แลวทําการอัปโหลดโปรแกรมอีกครั้ง
 17
1.4.2 กรณีที่คลิกปุม Upload แลว มีการแจงความผิดพลาดวา ไมพบฮารดแวร
สําหรับการอัปโหลดโปรแกรม
สาเหตุ :
ซอฟตแวร Wiring ไมสามารถติดตอกับแผงวงจรหลัก IPST-SE ได เนื่องจากเลือกพอรต
อนุกรมที่ใชในการสื่อสารขอมูลไมถูกตอง
ทางแกไข :
(1) ตรวจสอบการตอสาย miniB-USB
(2) ตรวจสอบการเลือกพอรตหรือชองเชื่อมตอ ใหเลือกพอรตที่ใชในการเชื่อมตอใหมใหถูก
ตอง โดยเลือกที่เมนู Tools > Serial port
18
1.5 การเปดไฟลตัวอยาง
เพื่ออํานวยความสะดวกและลดการผิดพลาดในการพัฒนาโปรแกรมสําหรับผูเริ่มตนใชงาน
Wiring จึงไดเตรียมไฟลตัวอยางไวพอสมควร
การเปดไฟลตัวอยางทําไดงายมาก โดยไปที่เมนู Help>Example> IPST-SEจะเห็นชื่อไฟล
ใหเลือกเปดใชงานตามตองการ
หรือเลือกเปดผานทางคําสั่งOpenซึ่งจะปรากฏหนาตางExplorerขึ้นมาเพื่อใหคนหาไฟลให
เลือกไปที่ C:/Wiring/Examples/IPST-SE จะพบโฟลเดอรที่ใชเก็บไฟลสเก็ตชจํานวนมาก
เมื่อเลือกเปดโฟลเดอรที่ตองการจะพบไฟล.pdeซึ่งก็คือไฟลที่ใชงานกับWiringIDE จากนั้น
จะแกไข, คอมไฟล รวมทั้งอัปโหลดโปรแกรมก็ทําไดตามตองการ
1.6 ขอกําหนดในการแกไขและบันทึกไฟล
ในกรณีที่ตองการแกไขไฟลตัวอยางเดิมตองเปดไฟลนั้นๆขึ้นมาทําการแกไขโคดโปรแกรม
ตรวจสอบไวยกรณดวยการคอมไพล เมื่อเรียบรอยแลว มีทางเลือกในการบันทึกไฟล 2 ทางคือ
1. บันทึกในชื่อเดิม ใหใชคําสั่ง Save
2.บันทึกในชื่อใหมดวยคําสั่งSaveAsแตไมควรบันทึกทับไฟลเดิมที่ไมไดถูกเปดขึ้น
มา เพราะจะทําใหการเชื่อมโยงไฟลสับสน และทําใหเกิดความผิดพลาดในการเปดใชงานครั้งตอไป
ไดถาหากมีความตองการบันทึกทับไฟลเดิมที่ไมไดถูกเปดขึ้นมา จะตองทําการลบโฟลเดอรของไฟล
เดิมนั้นออกไปเสียกอน
 19
IPST-MicroBOX (SE) เปนชุดแผงวงจรอเนกประสงคที่ใชอุปกรณควบคุมแบบโปรแกรมได
ขนาดเล็กที่เรียกวา“ไมโครคอนโทรลเลอร”(microcontroller)ทํางานรวมกับวงจรเชื่อมตอคอมพิวเตอร
เพื่อการโปรแกรมและสื่อสารขอมูลโดยในชุดประกอบดวยแผงวงจรควบคุมหลักIPST-SEซึ่งมีไมโคร
คอนโทรลเลอรเปนอุปกรณหลัก,กลุมของแผงวงจรอุปกรณแสดงผลการทํางานหรืออุปกรณเอาตพุตอาทิ
แผงวงจรแสดงผลดวยไดโอดเปลงแสง 8 ดวง และแผงวงจรแสดงผลดวยไดโอดเปลงแสงแบบตัวเดี่ยว
รวมถึงแผงวงจรอุปกรณตรวจจับสัญญาณหรือเซนเซอร(sensor)ซึ่งมีดวยกันหลากหลายรูปแบบจึงทําให
ผูใชงานสามารถนําชุดกลองสมองกล IPST-MicroBOX(SE) นี้มาใชในการเรียนรู, ทดลองและพัฒนา
โครงงานทางวิทยาศาสตรที่เกี่ยวของกับระบบควบคุมอัตโนมัติไดอยางสะดวกและมีประสิทธิภาพสูง
IPST-MicroBOX(SE) มีดวยกัน 2 รุนคือ
1. รุนมาตรฐาน 1 ในชุดนี้ประกอบดวย แผงวงจรควบคุมหลักIPST-SEเปนอุปกรณหลักที่มี
โมดูลแสดงผลกราฟก LCD สีในตัว, แผงวงจร LED, แผงวงจรลําโพง, แผงวงจรตรวจจับสัญญาณ
หรือเซนเซอร(sensor) พื้นฐาน, และเครื่องจายไฟทําใหนําชุดIPST-MicroBOX(SE)นี้ไปใชในการ
เรียนรูและเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนาเปนโครงงานทางวิทยาศาสตรที่มีการควบคุมดวยระบบอัตโนมัติ
โดยใชโปรแกรมภาษา C/C++ ในเบื้องตนไดภายใตงบประมาณที่เหมาะสม
2. รุนมาตรฐาน 2 ในชุดประกอบดวยอุปกรณหลักเหมือนกับชุด IPST-MicroBOX (SE) รุน
มาตรฐาน 1 มีการเพิ่มตัวตรวจจับแสงสะทอนอินฟราเรดอีก 2 ตัว, มอเตอรไฟตรงพรอมชุดเฟองขับ
หรือ DC motor gearbox และชิ้นสวนทางกลที่จําเปน เพื่อใหผูใชงานสามารถตอยอดการเรียนการส
อนการใชงานIPST-MicroBOX(SE)นี้ไปสรางเปนหุนยนตอัตโนมัติแบบโปรแกรมไดทั้งยังรองรับ
กิจกรรมการแขงขันไดเปนอยางดี




20
1.1รายการอุปกรณของชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX (SE)
รุนมาตรฐาน 1 ประกอบดวย
1.แผงวงจรควบคุมหลัก IPST-SE
2. แผงวงจร LED เดี่ยวพรอมสายสัญญาณ 3 ชุด
3. แผงวงจร LED 8 ดวงพรอมสายสัญญาณ 1 ชุด
4. แผงวงจรลําโพงเปยโซพรอมสายสัญญาณ 1 ชุด
5. แผงวงจรสวิตชพรอมสายสัญญาณ 2 ชุด
6. แผงวงจรตรวจจับแสงพรอมสายสัญญาณ 1 ชุด
7. แผงวงจรตัวตานทานปรับคาไดพรอมสายสัญญาณ 2 ชุด
8. ไอซีวัดอุณหภูมิพรอมสายตอ 1 ชุด
9. อะแดปเตอรไฟตรง +9V 1A
10. สายเชื่อมตอUSB-miniB สําหรับดาวนโหลดโปรแกรมและสื่อสารขอมูล
11. ซีดีรอมบรรจุซอฟตแวรและตัวอยางโปรแกรมการทดลอง
12. คูมือการทดลอง
13. กลองบรรจุ
14. ไขควง
 21
รุนมาตรฐาน2ประกอบดวยรายการที่1ถึง13ของรุนมาตรฐาน1และอุปกรณเพิ่มเติมดังนี้
14. แผงวงจรตรวจจับแสงสะทอนอินฟราเรดพรอมสายสัญญาณ 2 ชุด
15. มอเตอรไฟตรงพรอมชุดเฟองขับรุน BO2 อัตราทด 48:1 พรอมสายเชื่อมตอแบบ IDC
จํานวน 2 ตัว
16. ลอพลาสติกกลมสําหรับชุดเฟองขับมอเตอรและยาง จํานวน 2 ชุด
17. แผนกริดขนาด 80 x 60 เซนติเมตรและ 80 x 80 เซนติเมตร จํานวน 2 ชุด
18. แผนฐานกลมพรอมลออิสระ 1 แผน
19. แผนฐานกลมสําหรับทําโครงหุนยนต 1 แผน
20. ชิ้นตอ/แทงตอพลาสติกและเสารองพลาสติก
21. ชุดเสารองโลหะ, นอตและสกรู
22.กะบะถานAA6กอนพรอมสายและหัวตอปองกันการกลับขั้วสําหรับตอกับแผงวงจรหลัก
23. แผนทดสอบการเคลื่อนที่ตามเสนของหุนยนต
22
รูปที่2-1แผงวงจรหลักIPST-SEมีจอแสดงผล
กราฟกสีความละเอียด 128 x 160 จุด
แสดงตัวอักษรขนาดมาตรฐานไดมากถึง 21
ตัวอักษร16บรรทัดอัปโหลดโปรแกรมผาน
พอรต USB
2.1คุณสมบัติของแผงวงจรหลัก IPST-SE
มีหนาตาของแผงวงจรแสดงในรูปที่2-1สวนรูปที่2-2 แสดงรายละเอียดที่สําคัญของแผงวงจร
IPST-SE ที่ควรทราบเพื่อใชประโยชนในการอางถึงเมื่อทําการทดลอง สวนคุณสมบัติโดยสรุปของ
IPST-SE เปนดังนี้
 ใชไมโครคอนโทรลเลอร8บิตเบอรATmega644PของAtmelรองรับโปรแกรมควบคุมที่
พัฒนาจากภาษาแอสเซมบลี, เบสิก และ C โดยในที่นี้จะเนนไปที่โปรแกรมภาษา C/C++ โดยภายใน
มีโมดูลแปลงสัญญาณอะนาลอกเปนดิจิตอลความละเอียด 10บิตใหคาของขอมูลในชวง0 ถึง1,023
จึงนํามาตอกับแผงวงจรตรวจจับที่ใหผลการทํางานเปนแรงดันไฟฟาไดงาย มีหนวยความจําโปรแกรม
แบบแฟลชมากถึง 64 กิโลไบต โปรแกรมใหมได 10,000 ครั้ง มีหนวยความจําขอมูลอีอีพรอม 512
ไบต และหนวยความจําขอมูลแรม 1 กิโลไบต
 สัญญาณนาฬิกาหลัก 16MHz จากคริสตอล
 มีจุดตอพอรต USB สําหรับดาวนโหลดโปรแกรมและสื่อสารขอมูลกับคอมพิวเตอร
 มีสวิตช RESET การทํางาน
 มีจุดตอพอรตแบบ3ขา(ขาไฟเลี้ยง,สัญญาณและกราวด)จํานวน20จุดแบงเปนขาพอรต
ดิจิตอล 13 จุด (ขาพอรตหมายเลข 2, 3, 8, 9, 12 ถึง 20) และขาพอรตแบบดิจิตอลหรืออะนาลอก
(กําหนดได) 7 จุด (หากใชเปนขาอินพุตอะนาลอกเปนขา A0 ถึง A6 และถาใชเปนขาพอรตดิจิตอล
เปนขาพอรตหมายเลข 24 ถึง 30)
 23
รูปที่ 2-2 แสดงสวนประกอบที่ควรทราบของแผงวงจรหลัก IPST-SE
27A330A6
29A526A2
28A425A1
24 A0
USB
D
9SDA8SCL
12 13 14 15SV0SV1SV2SV3
12
6V
G
13
6V
G
14
6V
G
15
6V
G
21
DCMOTOR
3TxD1
LOW+5
2RxD1
UART1
SERVO
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
000000000000000000000
RESET2019
18
17
16
KNOB
OK
SW1




ON
















































24
 มีจุดตอระบบบัส 2 สาย (I2C) เพื่อขยายระบบ
 มีจุดตอสําหรับสื่อสารขอมูลอนุกรมหรือ UART (Universal Asynchronous Receiver
Transmitter) เพื่อขยายระบบ
 ใชไฟเลี้ยงในยาน +6.5 ถึง +9V กระแสไฟฟา 1,500mA กรณีตอใชงานมอเตอรไฟตรงและ
เซอรโวมอเตอรรวมดวย หรือ 500mA กรณีไมใชงานมอเตอร บนแผงวงจรหลัก IPST-SE มีวงจร
ควบคุมแรงดันคงที่ +5V จึงนําไปจายใหกับแผงวงจรตอพวงอื่นๆ รวมทั้งแผงวงจรตัวตรวจจับดวย
 มีจุดตอไฟเลี้ยง (DC INPUT) ผานทางจุดตอแบบหัวเสียบปองกันการตอกลับขั้วและแจก
อะแดปเตอรรับไฟเลี้ยงไดตั้งแต7.2Vถึง+9Vโดยมีสวิตชเปด-ปดเพื่อตัดตอไฟเลี้ยงแกแผงวงจรพรอม
ไฟแสดงสถานะไฟเลี้ยง+5Vและมีวงจรแจงสถานะแบตเตอรี่ออน(LOW)ดวยLEDสีเหลืองในกรณี
ที่ใชแหลงจายไฟเปนแบตเตอรี่ โดยกําหนดระดับแรงดันไวที่ +7V
 มีวงจรควบคุมไฟเลี้ยงคงที่ +5V 2A แบบสวิตชิ่งสําหรับรักษาระดับไฟเลี้ยงใหแกไมโคร
คอนโทรลเลอร
 มีวงจรขับมอเตอรไฟตรง 2 ชอง พรอมไฟแสดงผล
 มีจุดตอขาพอรตของไมโครคอนโทรลเลอรสําหรับขับเซอรโวมอเตอร4ชองคือจุดตอ15,
14, 13 และ 12 (เรียงตามลําดับ SERVO0, SERVO1, SERVO2 และ SERVO3)
 มีโมดูลแสดงผลแบบกราฟกสีความละเอียด 128 x 160 จุด แสดงภาพกราฟกลายเสนและ
พื้นสี (ไมรองรับไฟลรูปภาพใดๆ) พรอมไฟสองหลัง แสดงผลเปนตัวอักษรขนาดปกติ (5x7 จุด) ได
21 ตัวอักษร 16 บรรทัด (21 x 16)
 มีสวิตชกดติดปลอยดับใชงานอิสระ 1 ตัว คือ SW1 ซึ่งตอกับขาพอรตหมายเลข 22
 มีสวิตชกดติดปลอยดับชื่อ สวิตช OK ซึ่งตอรวมกับตัวตานทานปรับคาไดชื่อ KNOB ซึ่ง
เชื่อมตอไปยังขาพอรตดิจิตอลหมายเลข 31 (หรืออินพุตอะนาลอก A7) ทําใหอานคาสัญญาณดิจิตอล
และอะนาลอกไดในขาพอรตเดียวกัน
 มีจุดตอ ISP สําหรับอัปเกรดหรือกูเฟรมแวร โดยใชชุดโปรแกรมแบบ ISP เพิ่มเติม (แนะ
นําเครื่องโปรแกรมAVR-ISP mark II ของ Atmel)
 25
2.2 คุณสมบัติของชุดอุปกรณเอาตพุต
2.2.1แผงวงจรไฟแสดงผล : ZX-LED (มีทั้งในชุดมาตรฐาน1 และ 2)
ใช LEDขนาด8 มิลลิเมตร ตองการลอจิก “1” ในการขับใหสวาง มีวงจรแสดงในรูปที่ 2-3
Q1
KRC102
(DTC114)
R1
(Default = 510)
LED1
+
S
รูปที่2-3รูปรางและวงจรของแผงวงจรไฟแสดงผลZX-LEDที่ใชในชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE)
2.2.2แผงวงจรไฟแสดงผล 8ดวง : ZX-LED8 (มีทั้งในชุดมาตรฐาน 1และ 2)
เปนแผงวงจรที่มีLEDขนาด3มิลลิเมตรสําหรับแสดงผล8ดวงพรอมจุดตอพวงเอาตพุตเพื่อ
นําไปใชในการขับรีเลยไดดวยโดยแผงวงจรZX-LED8นี้จะตอเขากับขาพอรตใดของแผงวงจรIPST-
SEก็ไดโดยใชขาพอรตเพียงขาเดียวในการควบคุมและขับLEDใหติดดับตามที่ตองการไดพรอมกัน
ถึง8 ดวงมีหนาตาของแผงวงจรแสดงในรูปที่ 2-4
รูปที่ 2-4 รูปรางแผงวงจรไฟแสดงผล ZX-LED8 ที่ใชในชุดกลองสมองกล IPST-MicroBOX(SE)
26
รูปที่ 2-5 วงจรของแผงวงจรลําโพง ZX-SPEAKER
C1
10/16V
SP1
Piezo
speaker
S
+
K1
SOUND
ในแผงวงจร ZX-LED8 ใชการติดตอกับแผงวงจรหลัก IPST-SE ในแบบสื่อสารขอมูลอนุกรม
รวมกับคําสั่งทางซอฟตแวร ผูพัฒนาโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมให ZX-LED8 ติดดับไดตั้งแต
1 ถึง 8 ตัว หรือจะเขียนโปรแกรมใหทํางานเปนไฟวิ่งไดตั้งแต 1 ถึง 8 ดวงเชนกัน
ที่ดานบนของแผงวงจร ZX-LED8 มีจุดตอ JST ซึ่งตอพวงมาจาก LED ทํางานที่ลอจิก “1” มี
ระดับแรงดันไฟตรงขาออกประมาณ +5V จึงสามารถใชสัญญาณเอาตพุตจากจุดนี้ไปตอกับวงจรขับ
โหลดกระแสไฟฟาสูง อาทิ แผงวงจรขับรีเลย ไดทันที โดยไมตองเขียนโปรแกรมควบคุมเพิ่มเติม
2.2.3แผงวงจรลําโพงเปยโซ : ZX-SPEAKER (มีทั้งในชุดมาตรฐาน 1และ 2)
มีวงจรและหนาตาของบอรดแสดงในรูปที่ 2-5 คุณสมบัติทางเทคนิคที่สําคัญมีดังนี้
 ใชลําโพงเปยโซ มีอิมพีแดนซ 32
 มีคาความถี่เรโซแนนซในยาน1 ถึง 3kHz
 27
2.3 คุณสมบัติของชุดอุปกรณตรวจจับสัญญาณ
2.3.1แผงวงจรสวิตช :ZX-SWITCH01 (มีทั้งในชุดมาตรฐาน 1และ 2)
มีวงจรแสดงในรูปที่ 2- 6 ประกอบดวยสวิตชพรอมไฟแสดงผล
ใหเอาตพุตคือ หากมีการกดสวิตช จะสงลอจิก “0” (ระดับแรงดัน 0V) และไฟสีแดงติด
2.3.2แผงวงจรตรวจจับแสง :ZX-LDR (มีทั้งในชุดมาตรฐาน 1และ 2)
ใชตรวจจับแสงสวาง เลือกเอาตพุตได 2 แบบคือ
+ แรงดันเอาตพุตเพิ่ม เมื่อแสงตกกระทบ
แรงดันเอาตพุตลดลง เมื่อแสงตกกระทบ
มีวงจรและรูปรางของแผงวงจรแสดงในรูปที่ 2-7
รูปที่ 2-6 รูปรางและวงจรของแผงวงจรสวิตชที่ใชในชุดกลองสมองกล IPST-MicroBOX(SE)
DATA
R3
220
R2
10k
R1
510
LED1
S1
Switch
Indicator
Signal output
GND
+V


ZX-SWITCH01
D


A ZX-LDR
10k
LDR
+
+
+S
+S
LDR
Light
A เมื่อแสงมากขึ้น
แรงดันที่ไดจะลดลง
เมื่อแสงมากขึ้น
แรงดันที่ไดจะมากขึ้น
++
รูปที่ 2-7 รูปรางและวงจรของแผงวงจรตรวจจับแสงที่ใชในชุดกลองสมองกล IPST-MicroBOX(SE)
28
2.3.3 แผงวงจรตัวตานทานปรับคาไดแบบแกนหมุน : POTENTIOMETER (มี
ทั้งในชุดมาตรฐาน 1และ 2)
ใชกําหนดแรงดัน 0 ถึง +5V ตามการหมุนแกน นําไปใชวัดคามุมและระยะทางได มีทั้งแบบ
ตัวตั้งและตัวนอนมีเอาตพุต2แบบคือ แรงดันมากขึ้นเมื่อหมุนทวนเข็มนาฬิกาหรือตามเข็มนาฬิกา
มีวงจรและหนาตาของแผงวงจรแสดงในรูปที่ 2-8
เมื่อหมุนทวนเข็มนาฬิกา
แรงดันที่ไดจะมากขึ้น
เมื่อหมุนตามเข็มนาฬิกา
แรงดันที่ไดจะมากขึ้น
Potentiometer
A เมื่อหมุนทวนเข็มนาฬิกา
แรงดันที่ไดจะมากขึ้น
เมื่อหมุนตามเข็มนาฬิกา
แรงดันที่ไดจะมากขึ้น
A
POTENTIOMETER
แบบตัวตั้ง
แบบตัวนอน
A ZX-POTV/POTH
10kB
+
S
+
S
รูปที่ 2-8 แสดงรูปราง, วงจร และการทํางานของแผงวงจรตัวตานทานปรับคาไดแบบแกนหมุน
 29
2.3.4 ไอซีวัดอุณหภูมิ MCP9701 (มีทั้งในชุดมาตรฐาน 1 และ 2)
เปนอุปกรณตรวจจับและวัดอุณหภูมิที่ใหผลการทํางานเปนแรงดันไฟฟาแบบเชิงเสนรับรูการ
เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิภายในเวลาไมถึง 2 วินาที เชื่อมตอกับอินพุตอะนาลอก A0 ถึง A6ของแผง
วงจรหลักIPST-SEไดทันทีในรูปที่2-9 แสดงการจัดขาและกราฟคุณสมบัติของไอซีวัดอุณหภูมิเบอร
MCP9701
คุณสมบัติทางเทคนิคของ MCP9701 ที่ควรทราบ
 เปนไอซีวัดอุณหภูมิในกลุมเทอรมิสเตอรแบบแอกตีฟที่ใหผลการทํางานแบบเชิงเสน
 ยานวัด-40ถึง+125 องศาเซลเซียส
 ผลการวัดอางอิงกับหนวยขององศาเซลเซียสโดยตรง
 ความผิดพลาดเฉลี่ย 2 องศาเซลเซียส
 ยานไฟเลี้ยง +3.1 ถึง +5.5V กินกระแสไฟฟาเพียง 6uA ใชแบตเตอรี่เปนแหลงจายไฟได
 คาแรงดันเอาตพุต 500mV (ที่ 0๐C) ถึง 2.9375V (ที่ 125๐)
 คาแรงดันเอาตพุตตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ19.5mV/๐Cใชงานกับวงจรแปลงสัญญาณ
อะนาลอกเปนดิจิตอลความละเอียดตั้งแต 8 บิตได โดยมีความคลาดเคลื่อนตํ่า
 ไมตองการอุปกรณภายนอกตอเพิ่มเติมเพื่อชดเชยการทํางาน
รูปที่ 2-9 การจัดขาของ MCP9701, หนาตาเมื่อตอสายสัญญาณพรอมใชงานและกราฟคุณสมบัติ
30
2.3.5 แผงวงจรตรวจจับแสงสะทอนอินฟราเรด : ZX-03 (มีในชุดมาตรฐาน 2)
มีวงจรและหนาตาของแผงวงจรแสดงในรูปที่ 2-10 เปนแผงวงจรที่ใชในการตรวจสอบการ
สะทอนของแสงอินฟราเรดของตัวตรวจจับแสงสะทอนอินฟราเรดซึ่งรวมตัวสงและตัวรับไวในตัวถัง
เดียวกัน โดยตัวตรวจจับแสงสะทอนอินฟราเรดที่นํามาใชคือ TCRT5000
เมื่อจายไฟเลี้ยง LED อินฟราเรดภายในตัวโมดูล TCRT5000 จะเปลงแสงออกมาตลอดเวลา
สวนตัวรับซึ่งเปนโฟโตทรานซิสเตอรจะไดรับแสงอินฟราเรดจากการสะทอนกลับ โดยปริมาณของ
แสงที่ไดรับจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับวามีวัตถุมากีดขวางหรือไมและวัตถุนั้นมีความสามารถในการ
สะทอนแสงอินฟราเรดไดดีเพียงไรซึ่งขึ้นกับลักษณะพื้นผิวและสีของวัตถุโดยวัตถุสีขาวผิวเรียบจะ
สะทอนแสงอินฟราเรดไดดีทําใหตัวรับแสงอินฟราเรดไดรับแสงสะทอนมากสงผลใหแรงดันที่เอาต
พุตของวงจรสูงตามไปดวย ในขณะที่วัตถุสีดําสะทอนแสงอินฟราเรดไดนอย ทําใหตัวรับอินฟราเรด
สงแรงดันออกมาตํ่าดวยคุณสมบัติดังกลาวจึงนิยมนําแผงวงจรตรวจจับแสงสะทอนอินฟราเรดนี้มาใช
ในการตรวจจับพื้นหรือเสน โดยตองติดตั้งไวดานลางของโครงหุนยนต
เนื่องจากแผงวงจรตรวจจับแสงสะทอนอินฟราเรดZX-03ใหผลการทํางานเปนแรงดันไฟตรง
ดังนั้นในการใชงานกับแผงวงจรหลัก IPST-SE จึงตองตอเขากับชองอินพุตอะนาลอก (A0 ถึง A6)
ของแผงวงจรหลักจากนั้นใชความรูจากการอานคาสัญญาณอะนาลอกเพื่ออานคาจากแผงวงจรตรวจ
จับแสงสะทอนอินฟราเรดนําไปสูการตรวจจับเสนตอไป
รูปที่2-10หนาตาและวงจรของแผงวงจรตรวจจับแสงสะทอนอินฟราเรดที่ใชในชุด IPST-MicroBOX (SE)
รุนมาตรฐาน 2
10k
TCRT5000
510
+V
GND
OUT
ตัวตรวจจับแสงสะทอนอินฟราเรด
จุดตอสัญญาณ
 31
2.4ขอมูลของอุปกรณทางกลที่ใชในชุดIPST-MicroBOX(SE)รุนมาตรฐาน2
2.4.1 มอเตอรไฟตรงพรอมชุดเฟองขับ
เปนชุดมอเตอรพรอมเฟองขับรุนBO-2อัตราทด 48:1 มีสายตอ 2เสนคุณสมบัติทางเทคนิคที่
สําคัญมีดังนี้
 ตองการไฟเลี้ยงในยาน +3 ถึง +9Vdc
 กินกระแสไฟฟา 130mA (ที่ไฟเลี้ยง +6V และไมมีโหลด)
 ความเร็วเฉลี่ย 170 ถึง 250 รอบตอนาที (ที่ไฟเลี้ยง +6V และไมมีโหลด)
 นํ้าหนัก 30 กรัม
 แรงบิดตํ่าสุด0.5 กิโลกรัม-เซนติเมตร
 ติดตั้งเขากับตัวยึดพลาสติกแบบมีพุกทองเหลืองสําหรับยึดในตัว
 ขนาด (กวาง x ยาว x สูง) 42 x 45 x 22.7 มิลลิเมตร
2.4.2 ลอพลาสติกสําหรับชุดเฟองขับมอตอรและยาง
เปนลอกลมมีเสนผานศูนยกลาง65มิลลิเมตรสามารถสวมเขากับแกนของชุดเฟองขับมอเตอร
ไดทันทีโดยไมตองดัดแปลงเพิ่มเติมขันยึดดวยสกรูเกลียวปลอย2มิลลิเมตรสวนยางขอบลอที่ใชรวม
ดวยผลิตจากยางพารา ผิวมีดอกยางเพื่อชวยเพิ่มสมรรถนะในการเกาะพื้นผิว
32
2.4.3 แผนกริด
เปนแผนพลาสติกที่ผลิตจากวัสดุABSขนาด80 x 60 มิลลิเมตรและ 80 x 80มิลลิเมตร อยาง
ละ 1 แผน ในแตละมีรูขนาด 3 มิลลิเมตรที่มีระยะหางกัน 5 มิลลิเมตร
2.4.4 แผนฐานกลม
เปนแผนพลาสติกที่ผลิตจากวัสดุ ABS ขนาดเสนผานศูนยกลาง 250 มิลลิเมตร เปนแผนฐาน
สําหรับยึดอุปกรณตางๆ ที่แผนฐานมีรูขนาด 3 มิลลิเมตรสําหรับติดตั้งอุปกรณหรือโครงสรางกลไก
เพิ่มเติม มีรูปรางเปนแผนกลม ในชุดมีให 2 แบบ แบบมีลอกลมกึ่งอิสระทั้งดานหนาและหลัง และ
แบบมาตรฐานไมมีลอกลมกึ่งอิสระ
2.4.5 ชิ้นตอพลาสติก
เปนชิ้นสวนพลาสติกแข็งเหนียว มี 3 แบบคือ ชิ้นตอแนวตรง, ชิ้นตอมุมฉาก และชิ้นตอมุม
ปาน สามารถเสียบตอกันได ใชตอกันเปนโครงสรางหรือตกแตง บรรจุ 3 แบบ รวม 30 ชิ้น
 33
2.4.6 แทงตอพลาสติก
เปนชิ้นสวนพลาสติกแข็งเหนียวในแตละชิ้นจะมีรูขนาด 3 มิลลิเมตรสําหรับรอยสกรูเพื่อติด
ตั้งหรือตอกับชิ้นสวนโครงสรางอื่นๆ ที่ปลายของแทงตอสามารถเสียบเขากับชิ้นตอพลาสติกได ใน
ชุดมี 3 ขนาด คือ 3, 5 และ 12 รู แตละขนาดมี 4 ชิ้น
2.4.7 สกรูและนอต
เปนอุปกรณสําหรับยึดชิ้นสวนตางๆ เขาดวยกัน ในชุดประกอบดวย สกรูมือหมุน (4 ตัว),
สกรูเกลียวปลอย 2 มิลลิเมตร (2 ตัว), สกรู 3 x 8 มิลลิเมตร (4 ตัว), 3 x 10 มิลลิเมตร (30 ตัว), 3 x 15
มิลลิเมตร (4 ตัว), 3 x 40 มิลลิเมตร (4 ตัว), สกรูหัวตัด3 x 8 มิลลิเมตร (10 ตัว) และนอต3 มิลลิเมตร
(30 ตัว)
2.4.8 เสารองโลหะ
เปนอุปกรณชวยยึดชิ้นสวนตางๆ และรองรับแผงวงจร, แผนกริดและแผนฐาน ทําจากโลหะ
ชุบนิเกิลกันสนิม มีลักษณะเปนแทงทรงกระบอกยาว 50 มิลลิเมตร ภายในมีรูเกลียวตลอดตัวสําหรับ
ขันสกรู 3 มิลลิเมตร ในชุดมี 4 ตัว
34
2.4.9เสารองพลาสติก
เปนอุปกรณชวยยึดชิ้นสวนตางๆ และประคองรองรับแผงวงจร, แผนกริดและแผนฐาน
ทําจากพลาสติกABSเหนียวสามารถตัดไดมีลักษณะเปนแทงทรงกระบอกภายในมีรูตลอดตัวสําหรับ
รอยสกรู 3 มิลลิเมตร ในชุดประกอบดวย เสารองขนาด 3 มิลลิเมตร (4 ตัว), 10 มิลลิเมตร (4 ตัว), 15
มิลลิเมตร (4 ตัว) และ 25 มิลลิเมตร (4 ตัว)
2.4.10 กะบะถาน
ใชบรรจุแบตเตอรี่ขนาดAAจํานวน6กอนมีสายตอขั้วบวกและขั้วลบสําหรับตอกับแผงวงจร
ควบคุมหลักIPST-SE ไดทันที
 35
2.5ขอมูลของสายสัญญาณที่ใชในชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE)
2.5.1 สายJST3AA-8 : สายเชื่อมตอระหวางแผงวงจร
สาย JST3AA-8 ใชเชื่อมตอระหวางแผงวงจรควบคุม IPST-SE กับแผงวงจรตรวจจับและแผง
วงจรอุปกรณตางๆ เปนสายแพ3 เสนยาว8 นิ้วปลายสายทั้งสองดานติดตั้งคอนเน็กเตอรแบบJST 3
ขา ตัวเมีย ระยะหางระหวางขา 2 มิลลิเมตร มีการจัดขาดังนี้
ระยะหางระหวางขา 2 มม. ระยะหางระหวางขา 2 มม.
GND
S
+5V
2.5.2สายUSB-miniB
เปนสายสัญญาณสําหรับเชื่อมตอระหวางพอรต USB ของคอมพิวเตอรกับแผงวงจร IPST-SE
36
 37
ในบทนี้นําเสนอขอมูลในขั้นตนของWiringซึ่งเปนเครื่องมือทางซอฟตแวรสําหรับพัฒนาการ
ทํางานของชุดกลองสมองIPST-MicroBOXSecondaryEdition(SE) สําหรับรายละเอียดของโปรแกรม
ภาษา C/C++ ที่ Wiring รองรับอานเพิ่มเติมไดจากหนังสือ โครงสรางของโปรแกรมภาษา C/C++
สําหรับ Wiring IDE ที่จัดมาพรอมกันในชุดกลองสมองกล IPST-MicroBOX (SE) แลว
3.1 สวนประกอบของ WiringIDE
Wiring IDEประกอบดวย 2 สวนที่สําคัญคือเท็กซเอดิเตอร(text editor) และ ตัวแปลภาษา C
(Ccompiler)ดานเครื่องมือหรือปุมคําสั่งที่ชวยในการพัฒนาโปรแกรมก็มีหลากหลาย สรุปดังรูปที่3-1
รูปที่3-1หนาตางหลักของซอฟตแวร Wiring IDE ที่ใชในการพัฒนาโปรแกรม




38
3.1.1 แถบเมนูคําสั่ง : Menu bar
ประกอบดวย File, Edit, Sketch,Toolsและ Help menu
3.1.1.1 เมนู File
New (Ctrl+N) : สรางไฟลใหม ซึ่งในซอฟตแวร Wiring จะเรียกวา สเก็ตช (sketch) โดยจะ
ถูกตั้งชื่อเปนวันที่ปจจุบันในรูปแบบ sketch_YYMMDDa เชน sketch_080407a หรือคลิกปุม
บนแถบเครื่องมือก็ได
Open (Ctrl+O) : เลือกเปดไฟลสเก็ตช หรือคลิกปุม บนแถบเครื่องมือก็ได
Close (Ctrl+W) : เลือกปดไฟลสเก็ตช
Save (Ctrl+S) : บันทึกไฟลสเก็ตชที่เปดอยูในชื่อเดิม ทํางานเหมือนกับการคลิกที่ปุม
บนแถบเครื่องมือ
Saveas... (Ctrl+Shift+O) : บันทึกไฟลสเก็ตชที่เปดอยูในชื่อใหม ไฟลเดิมจะไมหายไป
UploadtoWiringhardware(Ctrl+U):สงขอมูลของไฟลสเก็ตชในปจจุบันไปยังฮารดแวร
Wiring I/O ปกติแลวการทํางานในลักษณะนี้มักจะเรียกวา ดาวนโหลด (donwload) แตสําหรับใน
ซอฟตแวร Wiring จะเรียกกระบวนการทํางานนี้วา การอัปโหลด (upload) ทํางานเหมือนกับการคลิ
กที่ปุม บนแถบเครื่องมือ
Preferences : ปรับแตงการทํางานของ Wiring IDE
Quit(Ctrl+Q) :ออกจากโปรแกรมWiringและปดหนาตางของโปรแกรมWiringทั้งหมด
 39
3.1.1.2 เมนู Edit
เปนเมนูที่บรรจุคําสั่งตางๆ ที่ใชในการแกไขไฟลสเก็ตชที่พัฒนาบน Wiring IDE
Undo (Ctrl+Z) :ยกเลิกการกระทําคําสั่งกอนหนานี้หรือที่พิมพลาสุดการยกเลิกคําสั่ง Undo
ทําไดโดยเลือก Edit > Redo
Redo(Ctrl+Y):กลับไปทําคําสั่งที่ทํากอนหนาคําสั่งUndoคําสั่งนี้จะใชไดก็ตอเมื่อไดทําการ
Undo ไปแลว
Cut (Ctrl+X) : ลบและคัดลอกขอความที่เลือกไปเก็บที่คลิปบอรด ซึ่งทําหนาที่เปนหนวย
ความจําชั่วคราวสําหรับพักขอมูล
Copy (Ctrl+C) : คัดลอกขอความที่เลือกไปเก็บที่คลิปบอรด
Paste(Ctrl+V):วางขอมูลที่อยูในคลิปบอรดไปยังตําแหนงที่กําหนดหรือแทนที่ขอความที่เลือก
SelectAll(Ctrl+A):เลือกตัวหนังสือหรือขอความทั้งหมดในไฟลที่กําลังเปดอยูในเท็กซเอดิเตอร
ในขณะนั้น
Find(Ctrl+F):คนหาขอความภายในไฟลที่เปดอยูในเท็กซเอดิเตอรนอกจากนี้ยังคนหาและ
แทนที่ดวยขอความอื่นได
Find Next (Ctrl+G) : คนหาขอความหรือคําตัวถัดไปภายในไฟลที่เปดอยูในเท็กซเอดิเตอร
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326
Ipst se book130326

More Related Content

Viewers also liked

เริ่มต้นการเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์
เริ่มต้นการเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์เริ่มต้นการเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์
เริ่มต้นการเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์Wittayakorn Yasingthong
 
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัขpatmalya
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์chayanon Atoon
 
คำสั่งควบคุม
คำสั่งควบคุมคำสั่งควบคุม
คำสั่งควบคุมumaraporn
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา CWarawut
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์Fon Edu Com-sci
 

Viewers also liked (12)

เริ่มต้นการเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์
เริ่มต้นการเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์เริ่มต้นการเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์
เริ่มต้นการเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์
 
Comp2
Comp2Comp2
Comp2
 
I bot new
I bot newI bot new
I bot new
 
IPST-MicroBOX 1/3
IPST-MicroBOX 1/3IPST-MicroBOX 1/3
IPST-MicroBOX 1/3
 
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
 
หุ่นยนต์เก็บขยะ
หุ่นยนต์เก็บขยะหุ่นยนต์เก็บขยะ
หุ่นยนต์เก็บขยะ
 
คำสั่งควบคุม
คำสั่งควบคุมคำสั่งควบคุม
คำสั่งควบคุม
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
02 lab microbox1
02 lab microbox102 lab microbox1
02 lab microbox1
 

Similar to Ipst se book130326

ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียน
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียนคู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียน
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียนกรูทนง กรงธนู
 
77777777777777777777777777777777777777
7777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777
77777777777777777777777777777777777777Supawat Simswat
 
แนะนำหลักสูตรสาขาไอที แม่โจ้ เข้าศึกษาต่อปี 2558
แนะนำหลักสูตรสาขาไอที แม่โจ้  เข้าศึกษาต่อปี 2558แนะนำหลักสูตรสาขาไอที แม่โจ้  เข้าศึกษาต่อปี 2558
แนะนำหลักสูตรสาขาไอที แม่โจ้ เข้าศึกษาต่อปี 2558Pitchayanida Khumwichai
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่  2.1ใบงานที่  2.1
ใบงานที่ 2.1Meaw Sukee
 
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมโครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมMooAuan_Mini
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์runjaun
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์Wangwiset School
 
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไปเทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไปมาลี ฮวันนา
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์dechathon
 
ใบงานท 11 แผ_นพ_บ
ใบงานท   11 แผ_นพ_บใบงานท   11 แผ_นพ_บ
ใบงานท 11 แผ_นพ_บ08048355633
 

Similar to Ipst se book130326 (20)

ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียน
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียนคู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียน
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียน
 
77777777777777777777777777777777777777
7777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777777
77777777777777777777777777777777777777
 
แนะนำหลักสูตรสาขาไอที แม่โจ้ เข้าศึกษาต่อปี 2558
แนะนำหลักสูตรสาขาไอที แม่โจ้  เข้าศึกษาต่อปี 2558แนะนำหลักสูตรสาขาไอที แม่โจ้  เข้าศึกษาต่อปี 2558
แนะนำหลักสูตรสาขาไอที แม่โจ้ เข้าศึกษาต่อปี 2558
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่  2.1ใบงานที่  2.1
ใบงานที่ 2.1
 
กลุ่ม2
กลุ่ม2กลุ่ม2
กลุ่ม2
 
กลุ่ม2
กลุ่ม2กลุ่ม2
กลุ่ม2
 
กลุ่ม2
กลุ่ม2กลุ่ม2
กลุ่ม2
 
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมโครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
 
Basic of Microcontroller
Basic of MicrocontrollerBasic of Microcontroller
Basic of Microcontroller
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงาน 1
รายงาน  1 รายงาน  1
รายงาน 1
 
Minimodel
MinimodelMinimodel
Minimodel
 
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
 
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไปเทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบงานท 11 แผ_นพ_บ
ใบงานท   11 แผ_นพ_บใบงานท   11 แผ_นพ_บ
ใบงานท 11 แผ_นพ_บ
 

Ipst se book130326

  • 1.  1 IPST-MicroBOXSecondaryEducation (SE) Starter manual  
  • 2. 2 IPST-MicoBOX (SE) Starter Manual คูมือเริ่มตนใชงานกลองสมองกล IPST-MicroBOX (SE) ISBN 974-92023-0-9 ใครควรใชหนังสือเลมนี้ 1.นักเรียนนิสิตนักศึกษาและบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจในการนําไมโครคอนโทรลเลอรไปประยุกตใชในการทดลอง ทางวิทยาศาสตรหรือสนใจในการเรียนรูและทดลองวิยาศาสตรในแนวทางใหมที่ใชกิจกรรมเปนสื่อโดยมีไมโคร คอนโทรลเลอรเปนสวนประกอบ 2.สถาบันการศึกษาโรงเรียนวิทยาลัยมหาวิทยาลัยที่มีการเปดการเรียนการสอนวิชาอิเล็กทรอนิกสหรือภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร 3.คณาจารยที่มีความตองการศึกษาและเตรียมการเรียนการสอนวิชาไมโครคอนโทรลเลอรรวมถึงวิทยาศาสตร ประยุกตที่ตองการบูรณาการความรูทางอิเล็กทรอนิกส-ไมโครคอนโทรลเลอร-การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร- การทดลองทางวิทยาศาสตรในระดับมัธยมศึกษาอาชีวศึกษาและปริญญาตรี รายละเอียดที่ปรากฏในคูมือเริ่มตนใชงานกลองสมองกล IPST-MicroBOX(SE) ผานการตรวจทานอยางละเอียด และถวนถี่ เพื่อใหมีความสมบูรณและถูกตองมากที่สุดภายใตเงื่อนไขและเวลาที่พึงมีกอนการจัดพิมพเผยแพร ความเสียหายอันอาจเกิดจาก การนําขอมูลในหนังสือเลมนี้ไปใช ทางบริษัท อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต จํากัด มิไดมีภาระในการรับผิดชอบแตประการใด ความผิดพลาดคลาดเคลื่อนที่อาจมีและไดรับการจัดพิมพเผยแพรออก ไปนั้น ทางบริษัทฯ จะพยายามชี้แจงและแกไขในการจัดพิมพครั้งตอไป สงวนลิขสิทธิ์ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2521 หามการลอกเลียนไมวาสวนหนึ่งสวนใดของหนังสือเลมนี้ นอกจากจะไดรับอนุญาต ดําเนินการจัดพิมพและจําหนายโดย บริษัท อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต จํากัด 108 ซ.สุขุมวิท 101/2 ถ.สุขุมวิทแขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท 0-2747-7001-4 โทรสาร 0-2747-7005
  • 3.  3 IPST-MicroBOX(SE) จากการเริ่มตนพัฒนาชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOXโดยสาขาคอมพิวเตอรสถาบันสงเสริมการสอน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีหรือสสวท.ที่สามารถนําไปบูรณาการกับวิชาอื่นๆไดไดรับการตอบรับและมีการนําไป ใชในการเรียนการสอนดานวิทยาศาสตรประยุกตดานการเขียนและพัฒนาโปรแกรมภาษาCรวมถึงในวิชาโครงงาน เพื่อใหผูเรียนสามารถนําองคความรูนี้ไปใชและตอยอดเพื่อสรางโครงงานวิทยาศาสตรสมัยใหม IPST-MicroBOXเพื่อเปนสื่อทางเลือกหนึ่งสําหรับครูผูสอนในการจัดการเรียนการสอนวิชาการโปรแกรมวิชา โครงงานในระดับมัธยมศึกษาชุดการเรียนการสอนนี้จะเนนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบบูรณาการนักเรียนไดรู เกี่ยวกับอุปกรณและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตนการเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมไมโครคอนโทรลเลอรการทําโครงงานซึ่ง ตองบูรณาการกับวิชาฟสิกสเคมีชีววิทยาคณิตศาสตรและคอมพิวเตอรเขาดวยกันซึ่งจะทําใหการเรียนการสอน มีความนาสนใจและเปนอีกแนวทางหนึ่งในการสอนเพื่อใหนักเรียนรักการเขียนโปรแกรมรูจักคิดวิเคราะหและแก ปญหาทั้งในวิชาที่เรียนและในชีวิตประจําวัน จนกระทั่งในปพ.ศ.2556 สสวท.ไดมีการจัดตั้งโครงการหองเรียนวิทยาศาสตรในระดับมัธยมศึกษาตอน ตนขึ้นโดยมีชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX เปนสื่อการเรียนรูหนึ่งที่ควรมีในหองเรียนวิทยาศาสตรเนื่องจาก IPST-MicroBOXเดิมออกแบบมาเพื่อใชในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเปนหลักดังนั้นเมื่อนํามาใชในหองเรียนวิทยา ศาสตรในระดับมัธยมศึกษาตอนตนจึงตองมีการปรับปรุงใหม เพื่อใหเหมาะกับนักเรียนในระดับนี้กอปรกับการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีอุปกรณอิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอรสมัยใหมที่มีระบบปฏิบัติการที่หลากหลายทั้ง วินโดวส,ลีนุกซหรือกระทั่งMACOSพอรตเชื่อมตอของคอมพิวเตอรที่เนนไปยังพอรต USBสงผลใหการปรับปรุง IPST-MicroBOX ครั้งนี้ จึงตองเลือกฮารดแวรที่สามารถรองรับกับพอรต USB เลือกซอฟตแวรที่ใชในการพัฒนา โปรแกรมที่รองรับกับความหลากหลายของระบบปฏิบัติการและยังตองมีการพัฒนาชุดคําสั่งตางๆที่ทําใหนักเรียน ในระดับมัธยมตนสามารถเรียนรูและทําความเขาใจได IPST-MicroBOX SecondaryEducationหรือIPST-MicroBOX(SE) จึงเกิดขึ้นโดยในชุดจะมีอุปกรณที่ เพียงพอสําหรับการเรียนรูในเบื้องตนตอยอดไปทําโครงงานอยางงายและขั้นกลางไดทั้งยังมีชิ้นสวนในที่นําไปสราง เปนหุนยนตอัตโนมัติขนาดเล็กไดดวยภายใตงบประมาณรวมที่ถูกลงทางดานซอฟตแวรเลือกใชซอฟตแวรWiring IDE(www.wiring.org.co)อันเปนซอฟตแวรสําหรับพัฒนาโปรแกรมดวยภาษาC/C++ที่ใชงานไดกับระบบปฏิบัติ การวินโดวส, ลีนุกซ และMAC OS ทั้งยังเปนซอฟตแวรแบบซอรสเปด ใชงานไดโดยไมมีคาใชจาย และไมจํากัด ระยะเวลาใชงานรวมถึงมีการปรับปรุงอยางตอเนื่องเพื่อใหไดซอฟตแวรที่มีประสิทธิภาพสูง ชุดกลองสมองกล IPST-MicroBOX Secondary Education หรือ IPST-MicroBOX (SE) เปนสื่อการเรียนรูทาง เลือกสําหรับครู, อาจารย และนักเรียนที่มีความประสงคในการตอยอดหรือประยุกตใชกลองสมองกลที่มีไมโคร คอนโทรลเลอรเปนตัวควบคุมหลักในการเรียนรูและพัฒนาโครงงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การจัดหาสื่อการเรียนรูนี้เปนไปในรูปแบบสมัครใจการบริการเกี่ยวกับการจัดหาและซอมแซมอุปกรณอยูภายใตความ รับผิดชอบของบริษัทอินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต จํากัด (www.inex.co.th หรือ www.ipst-microbox.com)
  • 4. 4  บทที่1เริ่มตนใชงานชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE)...............................................................5 บทที่2แนะนําชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE)...................................................................19 บทที่3รูจักกับWiringซอฟตแวรพัฒนาโปรแกรมภาษาC/C++ สําหรับชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE)...................................................................37 บทที่ 4 ทดสอบการควบคุมอุปกรณเบื้องตนของชุดกลองสมองกล IPST-MicroBOX(SE)...........................................................................................................51 บทที่ 5 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับไฟลไลบรารีของชุดกลองสมองกล IPST-MicroBOX(SE)..........................................................................................................69 บทที่6 การแสดงผลดวยจอกราฟกLCDสีของชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE).................95 บทที่7ควบคุมการติดดับของLEDดวยซอฟตแวร........................................................................117 บทที่8 การควบคุมLEDหลายดวงของชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE)............................125 บทที่9ติดตอกับสวิตชเพื่ออานคาและนําไปใชงาน.......................................................................145 บทที่10การอานคาสัญญาณอะนาลอกอยางงาย.........................................................................159
  • 5.  5   การใชงานชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOXSecondaryEducation(SE)มีขั้นตอนโดยสรุป ดังแผนภาพในรูปที่1-1ในบทนี้จะอธิบายถึงขั้นตอนตางๆในการเริ่มตนใชงานชุดกลองสมองกลIPST- เปนลําดับไป เตรียมการสรางโปรแกรมควบคุม 1. เปดซอฟตแวร Wiring 1.0 SE สรางไฟลใหม 2. เลือกชนิดของแผงวงจร ที่เมนู Tools > Board > IPST-SE > ATmega644P@16MHz 3. เลือกชองตอคอมพิวเตอร ที่เมนู Tools > Serial port > COMx โดย x เปนเลขใดๆ ไดมาจากการตรวจสอบตําแหนงที่ Device manager เขียนโปรแกรมภาษา C/C++ แลวบันทึกไฟล คอมไพล ติดตั้งซอฟตแวร - Wiring 1.0 SE ซอฟตแวรเขียนโปรแกรมภาษา C/C++ - ไดรเวอร USB ของแผงวงจรหลัก IPST-SE - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ตรวจสอบชองเชื่อมตอคอมพิวเตอร ของแผงวงจร IPST-SE - เชื่อมตอแผงวงจรหลัก IPST-SE เขากับพอรต USB - เลือกเปด Control panel > System > Hardware > Device Manager > Ports ดูที่หัวขอ USB serial port (COMx) - จําตําแหนงของ USB serial port (COMx) โดย x เปนตัวเลข ใดๆ ปกติมีคามากกวา 3 เพื่อเลือกชองติดตอสื่อสารระหวาง คอมพิวเตอรกับแผงวงจรหลัก IPST-SE อัปโหลดโปรแกรม โปรแกรมที่แผงวงจร IPST-SE เริ่มทํางาน รูปที่ 1-1 แผนภาพแสดงขั้นตอนและกระบวนการเรียนรูเพื่อใชงานชุดกลองสมองกล IPST- MicroBOX(SE) เริ่มจากดานซาย ตั้งแตการติดตั้งโปรแกรม และการตรวจสอบการเชื่อมตอ ระหวางแผงวงจรควบคุมกับคอมพิวเตอร ไลมาทางขวา เริ่มจากขั้นตอนเตรียมการสรางโปรแกรม ควบคุม, เขียนโปรแกรม, คอมไพลหรือการแปลโปรแกรมภาษา C เปนภาษาเครื่อง, อัปโหลดหรือ สงโปรแกรมไปยังแผงวงจรหลัก IPST-SE จากนั้นจึงทําการรันโปรแกรมเพื่อตรวจสอบการทํางาน
  • 6. 6 1.1 ติดตั้งโปรแกรมซอฟตแวรและไดรเวอร 1.1.1 ระบบปฏิบัติการที่รองรับ ซอฟตแวรสําหรับพัฒนาโปรแกรมในโครงการWiringนี้คือWiringDevelopmentEnvironment หรือบางครั้งเรียกวาWiringIDEทํางานไดกับระบบปฏิบัติการหรือแพล็ตฟอรม(platform)ดังนี้  Mac OSX 10.4 (ทั้งรุนที่ใชซีพีพียูเพาเวอรพีซีและอินเทล)  วินโดวส XP, วินโดวสวิสตา และ 7 (ไมสนับสนุนวินโดวส ME, 98SE และ 95)  Linux ทั้ง Fedora Core และ Debian (รวมถึง Ubuntu ดวย)  แพล็ตฟอรมอื่นๆ ที่สนับสนุนการทํางานของ Java 1.4 ขึ้นไป 1.1.2ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรมและไดรเวอรUSBที่ใชงานกับชุดกลองสมองกล IPST-MicroBOX(SE) (1)นําแผนซีดีรอมที่จัดมาพรอมกับชุดIPST-MicroBOX(SE)ใสลงในซีดีรอมไดรฟแลวเลือก คลิกที่ไฟล Wiring1000_IPST_SE_130222.exe (ตัวเลขของไฟลติดตั้งอาจเปลี่ยนแปลงไดตามการ ปรับปรุงลาสุด) จะปรากฏหนาตางตอนรับสูการติดตั้งซอฟตแวร Wiring ดังรูป (2) จากนั้นคลิกตอบตกลงในแตละขั้นตอนของการติดตั้งเหมือนกับการติดตั้งแอปพลิเคชั่น อื่นๆ ของวินโดวส จนเสร็จสิ้น
  • 7.  7 (3)จากนั้นจะปรากฏหนาตางติดตั้งไดรเวอรUSBสําหรับติดตอกับแผงวงจรควบคุมIPST-SE ใหคลิกปุม Install เพื่อเริ่มการติดตั้งไดรเวอร (4) ทดสอบเปดโปรแกรมโดยเลือกที่เมนู Start > All Programs> Wiring > Wiring1.0 SE จากนั้นครูหนึ่งหนาตางของซอฟตแวร Wiring IDE 1.0 จะปรากฏขึ้น จากนี้ซอฟตแวรWiringIDE1.0พรอมสําหรับการพัฒนาโปรแกรมแกชุดกลองสมอง กลIPST- MicroBOX(SE) แลว
  • 8. 8 1.2แผงวงจรหลักIPST-SEของชุดกลองสมองIPST-MicroBOX(SE) อุปกรณหลักที่ใชในการเรียนรูกลองสมองกลคือชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE)ที่มี แผงวงจรหลักชื่อIPST-SEมีหนาตาแสดงดังรูปที่1-2พรอมคําอธิบายของสวนประกอบตางๆแผงวงจร IPST-SEเปนแผงวงจรขนาดเล็กที่มีไมโครคอนโทรลเลอรเบอร ATmega644P เปนหัวใจหลักในการ ควบคุมการทํางาน โดยตัวควบคุมหลักหรือไมโครคอนโทรลเลอรจะไดรับการโปรแกรมผานทาง พอรต USB ดวยซอฟตแวร Wiring IDE 1.0 บนแผงวงจรควบคุมนี้มีจุดตอเพื่อรับสัญญาณจากตัวตรวจจับภายนอกทั้งแบบอะนาลอก และดิจิตอลเพื่อชวยใหแผงวงจรสามารถรับขอมูลจากสิ่งแวดลอม เชน แสง, อุณหภูมิ, ระยะหางจาก วัตถุของตัวตรวจจับ เปนตน นอกจากนั้นยังมีจุดตอเพื่อสงสัญญาณออกไปควบคุมอุปกรณภายนอก อาทิ ไดโอดเปลงแสง ลําโพง มอเตอรไฟตรง และเซอรโวมอเตอร ดานการแสดงผลแผงวงจร IPST-SE มีจอแสดงผลแบบกราฟก LCD สีขนาด 1.8 นิ้วในตัว มี ความละเอียด 128 x 160 จุด แสดงตัวอักษรไดสูงสุด 21 ตัวอักษร 16 บรรทัด แสดงภาพกราฟกสีได (ไมรองรับภาพถายที่มีความละเอียดสูง) และเลือกทิศทางในการแสดงผลได 27A3 30A6 29A526A2 28A425A1 24A0 USB D 9SDA 8SCL 12131415SV0SV1SV2SV3 12 6V G 13 6V G 14 6V G 15 6V G 21 DCMOTOR 3 TxD1 LOW+5 2 RxD1 UART1 SERVO 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 RESET2019 18 17 16 KNOB OK SW1     ON                                               รูปที่1-2แสดงสวนประกอบและหนาที่ของแผงวงจรหลักIPST-SEในชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE)
  • 9.  9 1.3 ทดสอบการอัปโหลดโปรแกรม สําหรับการเขียนโปรแกรมลงไปบนแผงวงจร IPST-SE ครั้งแรก จะเรียกวา การอัปโหลด (upload) ปกติแลวจะใชคําวา “ดาวนโหลด” แตสําหรับการทํางานกับซอฟตแวร Wiring IDE1.0 จะ เรียกกระบวนการนี้วา อัปโหลด ขั้นตอนการอัปโหลดโปรแกรมครั้งแรก มี 2 ขั้นตอนหลักๆ คือ การตรวจสอบตําแหนงของ พอรตที่ใชในการติดตอระหวางแผงวงจรหลักIPST-SEกับซอฟตแวรWiringIDE1.0บนคอมพิวเตอร และขั้นตอนการตั้งคาเพื่อใชในการอัปโหลดโปรแกรม 1.3.1 การตรวจสอบตําแหนงของพอรตอนุกรมเสมือน หรือ USB Serial port สําหรับแผงวงจรIPST-SE (1) เสียบสาย USB เชื่อมตอระหวางแผงวงจรIPST-SE กับพอรต USB ของคอมพิวเตอร เปด สวิตชเพื่อจายไฟ รอจนกระทั่งไฟสีนํ้าเงินที่ตําแหนง USB บนแผงวงจรควบคุมติดสวาง ดังรูปที่ 1-3 27A3 30A6 29A526A2 28A425A1 24A0 USB D 9SDA 8SCL 12131415SV0SV1SV2SV3 12 6V G 13 6V G 14 6V G 15 6V G 21 DCMOTOR 3 TxD1 LOW+5 2 RxD1 UART1 SERVO 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 RESET2019 18 17 16 KNOB OK SW1 ON  3 1 2  4 รูปที่ 1-3การเชื่อมตอแผงวงจร IPST-SE กับคอมพิวเตอรเพื่อเตรียมใชงานกับซอฟตแวร Wiring IDE
  • 10. 10 (2) คลิกที่ปุม Start แลวเลือกไปที่ Control Panel (3) จากนั้นดับเบิลคลิกเลือกที่ System (4) เลือกไปที่แท็ป Hardware แลวคลิกที่ Device Manager (5) ตรวจสอบรายการฮารดแวรที่หัวขอ Port จะพบ USB Serial port ใหดูวามีการเลือก ตําแหนงของพอรต อนุกรม USB Serial port ไวที่ตําแหนงใด ปกติจะเปน COM3 ขึ้นไป ใหใชคา ของตําแหนงของพอรตอนุกรมนี้ในการกําหนดการเชื่อมตอกับโปรแกรมตอไปตามรูปตัวอยางจะเปน COM3
  • 11.  11 1.3.2 เชื่อมตอแผงวงจรหลัก IPST-SE กับซอฟตแวร Wiring IDE หลังจากทราบถึงตําแหนงของพอรตที่เชื่อมตอกับคอมพิวเตอรแลว ในลําดับตอไปเปนการ เชื่อมตอเขากับซอฟตแวร Wiring IDE (1) เปดโปรแกรม Wiring IDE รอสักครูหนึ่ง หนาตางหลักของ Wiring IDE จะปรากฏขึ้น ในการเปดใชงานWiringIDEในครั้งแรกอาจใชเวลาพอสมควร(ขึ้นอยูกับคอมพิวเตอรแตละเครื่อง) (2) เลือกฮารดแวรที่ใชโดยเลือกเมนูTools>Board> IPST-SE> ATmega644P@16MHz (3)เลือกพอรตติดตอ โดยไปที่เมนูTools> SerialPortเลือกตําแหนงของพอรตอนุกรมที่ใช ในการเชื่อมตอกับแผงวงจร IPST-SE ในที่นี้คือ COM3 ขั้นตอนนี้ควรทําทุกครั้งที่เชื่อมตอแผงวงจร IPST-SE กับพอรต USB ของคอมพิวเตอรใหม เพียงเทานี้แผงวงจรIPST-SE พรอมสําหรับการติดตอกับซอฟตแวร Wiring IDE 1.0 แลว
  • 12. 12 1.3.3 ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม (1) สรางไฟลใหมดวยการคลิกที่ปุม New บนแถบเครื่องมือหรือเลือกจากเมนู File > New (2)พิมพโคดโปรแกรมตอไปนี้ #include <ipst.h> // ผนวกไฟลไลบรารีหลัก ipst.h void setup() { glcdClear(); // ลางการแสดงผล glcdMode(0); // เลือกทิศทางการแสดงผลโหมด 0 } void loop() { setTextSize(2); // เลือกขนาดตัวอักษร 2 เทา setTextColor(GLCD_YELLOW); // เลือกสีของตัวอักษรเปนสีเหลือง glcd(1,1,"Hello"); // กําหนดขอความที่บรรทัด 1 คอลัมน 1 setTextColor(GLCD_SKY); // เลือกสีของตัวอักษรเปนสีฟา glcd(3,1,"IPST"); // กําหนดขอความที่บรรทัด 3 คอลัมน 1 glcd(4,1,"MicroBOX"); // กําหนดขอความที่บรรทัด 4 คอลัมน 1 setTextSize(1); // เลือกขนาดตัวอักษรปกติ glcd(10,2,"Secondary Education"); // กําหนดขอความที่บรรทัด 10 คอลัมน 2 } โปรแกรมนี้ใชในการทดสอบการทํางานเบื้องตนของแผงวงจร IPST-SE โดยกําหนดใหแสดงขอความ ที่จอแสดงผลดวยขนาดและสีของตัวอักษรที่ตางกัน
  • 13.  13 (3) ไปที่เมนู File เลือกคําสั่ง Save As เพื่อบันทึกไฟลในชื่อ HelloIPST-SE ตอนนี้จะมีไฟล HelloIPST-SE.pde เกิดขึ้นในโฟลเดอรชื่อวา HelloIPST-SE (4)ตรวจสอบการเขียนโปรแกรมดวยการคลิกที่ปุมRun ที่แถบเครื่องมือหรือเลือกคําสั่งจาก เมนู Sketch > Compile/Verify หากมีความผิดพลาดเกิดขึ้นจากการคอมไพลจะปรากฏขอความแจงความผิดพลาดใน ชองแสดงสถานะและพื้นที่แสดงขอความ ตองทําการแกไขโปรแกรม
  • 14. 14 หากการคอมไพลถูกตอง ที่ชองแสดงสถานะจะแจงแสดงขอความ Done compiling หลังจากการคอมไพลสําเร็จในโฟลเดอรHelloIPST-SEจะมีโฟลเดอรใหมเกิดขึ้นชื่อ วา Build ภายในโฟลเดอร Build จะบรรจุไฟลซอรสโปรแกรมภาษา C++ และไฟลประกอบ (5) ตอสาย USB เขากับแผงวงจร IPST-SE จากนั้นเปดสวิตชจายไฟเลี้ยง แลวรอใหการเชื่อม ตอกับคอมพิวเตอรเสร็จสมบูรณ (ดูจากไฟแสดงผลสีนํ้าเงินที่ตําแหนง USB ติดสวาง) (6)คลิกที่ปุม Uploadto WiringHardware บนแถบเครื่องมือถาทุกอยางเปนปกติเมื่อ ทําการอัปโหลดเสร็จจะมีขอความแจงที่ชองแสดงสถานะวา Doneuploading. RESETto start the newprogram.และที่พื้นที่แสดงขอความจะแจงกระบวนการและผลคอมไพลรวมถึงขนาดของไฟล ผลลัพธที่เกิดขึ้น ถามีขอผิดพลาดเกิดขึ้นจะมีขอความแจงเตือนในพื้นที่แสดงขอความดานลางของหนา ตางโปรแกรมหลัก ซึ่งสวนใหญแลวมักเกิดจากการเลือกพอรตอนุกรมไมถูกตองหรือไมไดเลือกใหบอรด ทํางานในโหมดโปรแกรม การแกไขใหดูในหัวขอ การแกปญหาในกรณีที่อัปโหลดโปรแกรมไมได
  • 15.  15 (7) หลังจากอัปโหลดโปรแกรมแลวแผงวงจรหลักIPST-SEจะทํางานทันทีไดผลการทํางาน ตามรูป  เพื่อใหเครื่องมือและอุปกรณอยูในสภาพที่พรอมทํางานตลอดเวลา สิ่งที่ควรกระทําทุกครั้งที่ใชงาน ชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE) คือ (1)ปดสวิตช POWERทุกครั้งที่มีการถอดหรือตอสายเขากับคอมพิวเตอรและชุดโปรแกรม (2)ปดสวิตช POWERทุกครั้งที่มีการตอหรือปลดสายของแผงวงจรตรวจจับสัญญาณหรืออุปกรณใดๆ เขากับแผงวงจรควบคุมIPST-SE (3)หลังจากที่ทดลองเสร็จในแตละการทดลองควรปดสวิตชกอนที่จะทําการปลดสายสัญญาณเพื่อตอ แผงวงจรใหมเขาไปเพื่อทําการทดลองในหัวขอใหม (4)ไมควรปลดหรือตอสายสัญญาณของแผงวงจรใดๆเขาไปในแผงวงจร IPST-SEในขณะกําลังทํางาน เวนแตมีขั้นตอนการปฏิบัติอื่นใดที่ระบุเจาะจงวาตองสายสัญญาณในขณะทํางานของการทดลองนั้นๆ (5) หากมีความผิดพลาดใดๆ เกิดขึ้น ตองปดสวิตชจายไฟทันที (6)ไมใชอะแดปเตอรไฟตรงที่มีแรงดันขาออกเกิน+12V กับแผงวงจร IPST-SE (7) หลังจากเสร็จสิ้นการทดลอง ใหปลดสายเชื่อมตอคอมพิวเตอรและสายของอะแดปเตอรหรือแหลง จายไฟออกจากแผงวงจร IPST-SE เสมอ
  • 16. 16 1.4 การแกปญหาในกรณีที่อัปโหลดโปรแกรมไมได 1.4.1 กรณีที่คลิกปุม Upload แลว ไมมีการทํางานใดๆ ตอ หรือโปรแกรมคาง สาเหตุ : ซอฟตแวร Wiring ไมสามารถติดตอกับแผงวงจรหลัก IPST-SE ได ทางแกไข : (1) ตรวจสอบการตอสาย miniB-USB (2) ตรวจสอบการเลือกพอรตหรือชองเชื่อมตอวา ถูกตองหรือไม (3) เกิดความผิดปกติขึ้นในระบบคอมพิวเตอร จึงตองหยุดการทํางานของซอฟตแวร Wiring โดยกดคีย Ctrl, Alt และ Delete พรอมกัน หนาตาง Window Security ปรากฏขึ้น แลวคลิก เลือก Task Manager หรือในคอมพิวเตอรบางเครื่องอาจเขาสูหนาตาง Window Task mangaer ทันที ใหเลือกแท็ป Processesแลวหาชื่อไฟล avrdude.exeคลิกเลือกที่ไฟลนั้น แลวคลิกที่ปุม End Process จากนั้นซอฟตแวร Wiring IDE จะกลับมาทํางานในสถานะปกติได ทําการจายไฟให กับบอรดอีกครั้ง เลือกพอรตเชื่อมตอใหถูกตอง แลวทําการอัปโหลดโปรแกรมอีกครั้ง
  • 17.  17 1.4.2 กรณีที่คลิกปุม Upload แลว มีการแจงความผิดพลาดวา ไมพบฮารดแวร สําหรับการอัปโหลดโปรแกรม สาเหตุ : ซอฟตแวร Wiring ไมสามารถติดตอกับแผงวงจรหลัก IPST-SE ได เนื่องจากเลือกพอรต อนุกรมที่ใชในการสื่อสารขอมูลไมถูกตอง ทางแกไข : (1) ตรวจสอบการตอสาย miniB-USB (2) ตรวจสอบการเลือกพอรตหรือชองเชื่อมตอ ใหเลือกพอรตที่ใชในการเชื่อมตอใหมใหถูก ตอง โดยเลือกที่เมนู Tools > Serial port
  • 18. 18 1.5 การเปดไฟลตัวอยาง เพื่ออํานวยความสะดวกและลดการผิดพลาดในการพัฒนาโปรแกรมสําหรับผูเริ่มตนใชงาน Wiring จึงไดเตรียมไฟลตัวอยางไวพอสมควร การเปดไฟลตัวอยางทําไดงายมาก โดยไปที่เมนู Help>Example> IPST-SEจะเห็นชื่อไฟล ใหเลือกเปดใชงานตามตองการ หรือเลือกเปดผานทางคําสั่งOpenซึ่งจะปรากฏหนาตางExplorerขึ้นมาเพื่อใหคนหาไฟลให เลือกไปที่ C:/Wiring/Examples/IPST-SE จะพบโฟลเดอรที่ใชเก็บไฟลสเก็ตชจํานวนมาก เมื่อเลือกเปดโฟลเดอรที่ตองการจะพบไฟล.pdeซึ่งก็คือไฟลที่ใชงานกับWiringIDE จากนั้น จะแกไข, คอมไฟล รวมทั้งอัปโหลดโปรแกรมก็ทําไดตามตองการ 1.6 ขอกําหนดในการแกไขและบันทึกไฟล ในกรณีที่ตองการแกไขไฟลตัวอยางเดิมตองเปดไฟลนั้นๆขึ้นมาทําการแกไขโคดโปรแกรม ตรวจสอบไวยกรณดวยการคอมไพล เมื่อเรียบรอยแลว มีทางเลือกในการบันทึกไฟล 2 ทางคือ 1. บันทึกในชื่อเดิม ใหใชคําสั่ง Save 2.บันทึกในชื่อใหมดวยคําสั่งSaveAsแตไมควรบันทึกทับไฟลเดิมที่ไมไดถูกเปดขึ้น มา เพราะจะทําใหการเชื่อมโยงไฟลสับสน และทําใหเกิดความผิดพลาดในการเปดใชงานครั้งตอไป ไดถาหากมีความตองการบันทึกทับไฟลเดิมที่ไมไดถูกเปดขึ้นมา จะตองทําการลบโฟลเดอรของไฟล เดิมนั้นออกไปเสียกอน
  • 19.  19 IPST-MicroBOX (SE) เปนชุดแผงวงจรอเนกประสงคที่ใชอุปกรณควบคุมแบบโปรแกรมได ขนาดเล็กที่เรียกวา“ไมโครคอนโทรลเลอร”(microcontroller)ทํางานรวมกับวงจรเชื่อมตอคอมพิวเตอร เพื่อการโปรแกรมและสื่อสารขอมูลโดยในชุดประกอบดวยแผงวงจรควบคุมหลักIPST-SEซึ่งมีไมโคร คอนโทรลเลอรเปนอุปกรณหลัก,กลุมของแผงวงจรอุปกรณแสดงผลการทํางานหรืออุปกรณเอาตพุตอาทิ แผงวงจรแสดงผลดวยไดโอดเปลงแสง 8 ดวง และแผงวงจรแสดงผลดวยไดโอดเปลงแสงแบบตัวเดี่ยว รวมถึงแผงวงจรอุปกรณตรวจจับสัญญาณหรือเซนเซอร(sensor)ซึ่งมีดวยกันหลากหลายรูปแบบจึงทําให ผูใชงานสามารถนําชุดกลองสมองกล IPST-MicroBOX(SE) นี้มาใชในการเรียนรู, ทดลองและพัฒนา โครงงานทางวิทยาศาสตรที่เกี่ยวของกับระบบควบคุมอัตโนมัติไดอยางสะดวกและมีประสิทธิภาพสูง IPST-MicroBOX(SE) มีดวยกัน 2 รุนคือ 1. รุนมาตรฐาน 1 ในชุดนี้ประกอบดวย แผงวงจรควบคุมหลักIPST-SEเปนอุปกรณหลักที่มี โมดูลแสดงผลกราฟก LCD สีในตัว, แผงวงจร LED, แผงวงจรลําโพง, แผงวงจรตรวจจับสัญญาณ หรือเซนเซอร(sensor) พื้นฐาน, และเครื่องจายไฟทําใหนําชุดIPST-MicroBOX(SE)นี้ไปใชในการ เรียนรูและเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนาเปนโครงงานทางวิทยาศาสตรที่มีการควบคุมดวยระบบอัตโนมัติ โดยใชโปรแกรมภาษา C/C++ ในเบื้องตนไดภายใตงบประมาณที่เหมาะสม 2. รุนมาตรฐาน 2 ในชุดประกอบดวยอุปกรณหลักเหมือนกับชุด IPST-MicroBOX (SE) รุน มาตรฐาน 1 มีการเพิ่มตัวตรวจจับแสงสะทอนอินฟราเรดอีก 2 ตัว, มอเตอรไฟตรงพรอมชุดเฟองขับ หรือ DC motor gearbox และชิ้นสวนทางกลที่จําเปน เพื่อใหผูใชงานสามารถตอยอดการเรียนการส อนการใชงานIPST-MicroBOX(SE)นี้ไปสรางเปนหุนยนตอัตโนมัติแบบโปรแกรมไดทั้งยังรองรับ กิจกรรมการแขงขันไดเปนอยางดี    
  • 20. 20 1.1รายการอุปกรณของชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX (SE) รุนมาตรฐาน 1 ประกอบดวย 1.แผงวงจรควบคุมหลัก IPST-SE 2. แผงวงจร LED เดี่ยวพรอมสายสัญญาณ 3 ชุด 3. แผงวงจร LED 8 ดวงพรอมสายสัญญาณ 1 ชุด 4. แผงวงจรลําโพงเปยโซพรอมสายสัญญาณ 1 ชุด 5. แผงวงจรสวิตชพรอมสายสัญญาณ 2 ชุด 6. แผงวงจรตรวจจับแสงพรอมสายสัญญาณ 1 ชุด 7. แผงวงจรตัวตานทานปรับคาไดพรอมสายสัญญาณ 2 ชุด 8. ไอซีวัดอุณหภูมิพรอมสายตอ 1 ชุด 9. อะแดปเตอรไฟตรง +9V 1A 10. สายเชื่อมตอUSB-miniB สําหรับดาวนโหลดโปรแกรมและสื่อสารขอมูล 11. ซีดีรอมบรรจุซอฟตแวรและตัวอยางโปรแกรมการทดลอง 12. คูมือการทดลอง 13. กลองบรรจุ 14. ไขควง
  • 21.  21 รุนมาตรฐาน2ประกอบดวยรายการที่1ถึง13ของรุนมาตรฐาน1และอุปกรณเพิ่มเติมดังนี้ 14. แผงวงจรตรวจจับแสงสะทอนอินฟราเรดพรอมสายสัญญาณ 2 ชุด 15. มอเตอรไฟตรงพรอมชุดเฟองขับรุน BO2 อัตราทด 48:1 พรอมสายเชื่อมตอแบบ IDC จํานวน 2 ตัว 16. ลอพลาสติกกลมสําหรับชุดเฟองขับมอเตอรและยาง จํานวน 2 ชุด 17. แผนกริดขนาด 80 x 60 เซนติเมตรและ 80 x 80 เซนติเมตร จํานวน 2 ชุด 18. แผนฐานกลมพรอมลออิสระ 1 แผน 19. แผนฐานกลมสําหรับทําโครงหุนยนต 1 แผน 20. ชิ้นตอ/แทงตอพลาสติกและเสารองพลาสติก 21. ชุดเสารองโลหะ, นอตและสกรู 22.กะบะถานAA6กอนพรอมสายและหัวตอปองกันการกลับขั้วสําหรับตอกับแผงวงจรหลัก 23. แผนทดสอบการเคลื่อนที่ตามเสนของหุนยนต
  • 22. 22 รูปที่2-1แผงวงจรหลักIPST-SEมีจอแสดงผล กราฟกสีความละเอียด 128 x 160 จุด แสดงตัวอักษรขนาดมาตรฐานไดมากถึง 21 ตัวอักษร16บรรทัดอัปโหลดโปรแกรมผาน พอรต USB 2.1คุณสมบัติของแผงวงจรหลัก IPST-SE มีหนาตาของแผงวงจรแสดงในรูปที่2-1สวนรูปที่2-2 แสดงรายละเอียดที่สําคัญของแผงวงจร IPST-SE ที่ควรทราบเพื่อใชประโยชนในการอางถึงเมื่อทําการทดลอง สวนคุณสมบัติโดยสรุปของ IPST-SE เปนดังนี้  ใชไมโครคอนโทรลเลอร8บิตเบอรATmega644PของAtmelรองรับโปรแกรมควบคุมที่ พัฒนาจากภาษาแอสเซมบลี, เบสิก และ C โดยในที่นี้จะเนนไปที่โปรแกรมภาษา C/C++ โดยภายใน มีโมดูลแปลงสัญญาณอะนาลอกเปนดิจิตอลความละเอียด 10บิตใหคาของขอมูลในชวง0 ถึง1,023 จึงนํามาตอกับแผงวงจรตรวจจับที่ใหผลการทํางานเปนแรงดันไฟฟาไดงาย มีหนวยความจําโปรแกรม แบบแฟลชมากถึง 64 กิโลไบต โปรแกรมใหมได 10,000 ครั้ง มีหนวยความจําขอมูลอีอีพรอม 512 ไบต และหนวยความจําขอมูลแรม 1 กิโลไบต  สัญญาณนาฬิกาหลัก 16MHz จากคริสตอล  มีจุดตอพอรต USB สําหรับดาวนโหลดโปรแกรมและสื่อสารขอมูลกับคอมพิวเตอร  มีสวิตช RESET การทํางาน  มีจุดตอพอรตแบบ3ขา(ขาไฟเลี้ยง,สัญญาณและกราวด)จํานวน20จุดแบงเปนขาพอรต ดิจิตอล 13 จุด (ขาพอรตหมายเลข 2, 3, 8, 9, 12 ถึง 20) และขาพอรตแบบดิจิตอลหรืออะนาลอก (กําหนดได) 7 จุด (หากใชเปนขาอินพุตอะนาลอกเปนขา A0 ถึง A6 และถาใชเปนขาพอรตดิจิตอล เปนขาพอรตหมายเลข 24 ถึง 30)
  • 23.  23 รูปที่ 2-2 แสดงสวนประกอบที่ควรทราบของแผงวงจรหลัก IPST-SE 27A330A6 29A526A2 28A425A1 24 A0 USB D 9SDA8SCL 12 13 14 15SV0SV1SV2SV3 12 6V G 13 6V G 14 6V G 15 6V G 21 DCMOTOR 3TxD1 LOW+5 2RxD1 UART1 SERVO 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 000000000000000000000 RESET2019 18 17 16 KNOB OK SW1     ON                                                
  • 24. 24  มีจุดตอระบบบัส 2 สาย (I2C) เพื่อขยายระบบ  มีจุดตอสําหรับสื่อสารขอมูลอนุกรมหรือ UART (Universal Asynchronous Receiver Transmitter) เพื่อขยายระบบ  ใชไฟเลี้ยงในยาน +6.5 ถึง +9V กระแสไฟฟา 1,500mA กรณีตอใชงานมอเตอรไฟตรงและ เซอรโวมอเตอรรวมดวย หรือ 500mA กรณีไมใชงานมอเตอร บนแผงวงจรหลัก IPST-SE มีวงจร ควบคุมแรงดันคงที่ +5V จึงนําไปจายใหกับแผงวงจรตอพวงอื่นๆ รวมทั้งแผงวงจรตัวตรวจจับดวย  มีจุดตอไฟเลี้ยง (DC INPUT) ผานทางจุดตอแบบหัวเสียบปองกันการตอกลับขั้วและแจก อะแดปเตอรรับไฟเลี้ยงไดตั้งแต7.2Vถึง+9Vโดยมีสวิตชเปด-ปดเพื่อตัดตอไฟเลี้ยงแกแผงวงจรพรอม ไฟแสดงสถานะไฟเลี้ยง+5Vและมีวงจรแจงสถานะแบตเตอรี่ออน(LOW)ดวยLEDสีเหลืองในกรณี ที่ใชแหลงจายไฟเปนแบตเตอรี่ โดยกําหนดระดับแรงดันไวที่ +7V  มีวงจรควบคุมไฟเลี้ยงคงที่ +5V 2A แบบสวิตชิ่งสําหรับรักษาระดับไฟเลี้ยงใหแกไมโคร คอนโทรลเลอร  มีวงจรขับมอเตอรไฟตรง 2 ชอง พรอมไฟแสดงผล  มีจุดตอขาพอรตของไมโครคอนโทรลเลอรสําหรับขับเซอรโวมอเตอร4ชองคือจุดตอ15, 14, 13 และ 12 (เรียงตามลําดับ SERVO0, SERVO1, SERVO2 และ SERVO3)  มีโมดูลแสดงผลแบบกราฟกสีความละเอียด 128 x 160 จุด แสดงภาพกราฟกลายเสนและ พื้นสี (ไมรองรับไฟลรูปภาพใดๆ) พรอมไฟสองหลัง แสดงผลเปนตัวอักษรขนาดปกติ (5x7 จุด) ได 21 ตัวอักษร 16 บรรทัด (21 x 16)  มีสวิตชกดติดปลอยดับใชงานอิสระ 1 ตัว คือ SW1 ซึ่งตอกับขาพอรตหมายเลข 22  มีสวิตชกดติดปลอยดับชื่อ สวิตช OK ซึ่งตอรวมกับตัวตานทานปรับคาไดชื่อ KNOB ซึ่ง เชื่อมตอไปยังขาพอรตดิจิตอลหมายเลข 31 (หรืออินพุตอะนาลอก A7) ทําใหอานคาสัญญาณดิจิตอล และอะนาลอกไดในขาพอรตเดียวกัน  มีจุดตอ ISP สําหรับอัปเกรดหรือกูเฟรมแวร โดยใชชุดโปรแกรมแบบ ISP เพิ่มเติม (แนะ นําเครื่องโปรแกรมAVR-ISP mark II ของ Atmel)
  • 25.  25 2.2 คุณสมบัติของชุดอุปกรณเอาตพุต 2.2.1แผงวงจรไฟแสดงผล : ZX-LED (มีทั้งในชุดมาตรฐาน1 และ 2) ใช LEDขนาด8 มิลลิเมตร ตองการลอจิก “1” ในการขับใหสวาง มีวงจรแสดงในรูปที่ 2-3 Q1 KRC102 (DTC114) R1 (Default = 510) LED1 + S รูปที่2-3รูปรางและวงจรของแผงวงจรไฟแสดงผลZX-LEDที่ใชในชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE) 2.2.2แผงวงจรไฟแสดงผล 8ดวง : ZX-LED8 (มีทั้งในชุดมาตรฐาน 1และ 2) เปนแผงวงจรที่มีLEDขนาด3มิลลิเมตรสําหรับแสดงผล8ดวงพรอมจุดตอพวงเอาตพุตเพื่อ นําไปใชในการขับรีเลยไดดวยโดยแผงวงจรZX-LED8นี้จะตอเขากับขาพอรตใดของแผงวงจรIPST- SEก็ไดโดยใชขาพอรตเพียงขาเดียวในการควบคุมและขับLEDใหติดดับตามที่ตองการไดพรอมกัน ถึง8 ดวงมีหนาตาของแผงวงจรแสดงในรูปที่ 2-4 รูปที่ 2-4 รูปรางแผงวงจรไฟแสดงผล ZX-LED8 ที่ใชในชุดกลองสมองกล IPST-MicroBOX(SE)
  • 26. 26 รูปที่ 2-5 วงจรของแผงวงจรลําโพง ZX-SPEAKER C1 10/16V SP1 Piezo speaker S + K1 SOUND ในแผงวงจร ZX-LED8 ใชการติดตอกับแผงวงจรหลัก IPST-SE ในแบบสื่อสารขอมูลอนุกรม รวมกับคําสั่งทางซอฟตแวร ผูพัฒนาโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมให ZX-LED8 ติดดับไดตั้งแต 1 ถึง 8 ตัว หรือจะเขียนโปรแกรมใหทํางานเปนไฟวิ่งไดตั้งแต 1 ถึง 8 ดวงเชนกัน ที่ดานบนของแผงวงจร ZX-LED8 มีจุดตอ JST ซึ่งตอพวงมาจาก LED ทํางานที่ลอจิก “1” มี ระดับแรงดันไฟตรงขาออกประมาณ +5V จึงสามารถใชสัญญาณเอาตพุตจากจุดนี้ไปตอกับวงจรขับ โหลดกระแสไฟฟาสูง อาทิ แผงวงจรขับรีเลย ไดทันที โดยไมตองเขียนโปรแกรมควบคุมเพิ่มเติม 2.2.3แผงวงจรลําโพงเปยโซ : ZX-SPEAKER (มีทั้งในชุดมาตรฐาน 1และ 2) มีวงจรและหนาตาของบอรดแสดงในรูปที่ 2-5 คุณสมบัติทางเทคนิคที่สําคัญมีดังนี้  ใชลําโพงเปยโซ มีอิมพีแดนซ 32  มีคาความถี่เรโซแนนซในยาน1 ถึง 3kHz
  • 27.  27 2.3 คุณสมบัติของชุดอุปกรณตรวจจับสัญญาณ 2.3.1แผงวงจรสวิตช :ZX-SWITCH01 (มีทั้งในชุดมาตรฐาน 1และ 2) มีวงจรแสดงในรูปที่ 2- 6 ประกอบดวยสวิตชพรอมไฟแสดงผล ใหเอาตพุตคือ หากมีการกดสวิตช จะสงลอจิก “0” (ระดับแรงดัน 0V) และไฟสีแดงติด 2.3.2แผงวงจรตรวจจับแสง :ZX-LDR (มีทั้งในชุดมาตรฐาน 1และ 2) ใชตรวจจับแสงสวาง เลือกเอาตพุตได 2 แบบคือ + แรงดันเอาตพุตเพิ่ม เมื่อแสงตกกระทบ แรงดันเอาตพุตลดลง เมื่อแสงตกกระทบ มีวงจรและรูปรางของแผงวงจรแสดงในรูปที่ 2-7 รูปที่ 2-6 รูปรางและวงจรของแผงวงจรสวิตชที่ใชในชุดกลองสมองกล IPST-MicroBOX(SE) DATA R3 220 R2 10k R1 510 LED1 S1 Switch Indicator Signal output GND +V   ZX-SWITCH01 D   A ZX-LDR 10k LDR + + +S +S LDR Light A เมื่อแสงมากขึ้น แรงดันที่ไดจะลดลง เมื่อแสงมากขึ้น แรงดันที่ไดจะมากขึ้น ++ รูปที่ 2-7 รูปรางและวงจรของแผงวงจรตรวจจับแสงที่ใชในชุดกลองสมองกล IPST-MicroBOX(SE)
  • 28. 28 2.3.3 แผงวงจรตัวตานทานปรับคาไดแบบแกนหมุน : POTENTIOMETER (มี ทั้งในชุดมาตรฐาน 1และ 2) ใชกําหนดแรงดัน 0 ถึง +5V ตามการหมุนแกน นําไปใชวัดคามุมและระยะทางได มีทั้งแบบ ตัวตั้งและตัวนอนมีเอาตพุต2แบบคือ แรงดันมากขึ้นเมื่อหมุนทวนเข็มนาฬิกาหรือตามเข็มนาฬิกา มีวงจรและหนาตาของแผงวงจรแสดงในรูปที่ 2-8 เมื่อหมุนทวนเข็มนาฬิกา แรงดันที่ไดจะมากขึ้น เมื่อหมุนตามเข็มนาฬิกา แรงดันที่ไดจะมากขึ้น Potentiometer A เมื่อหมุนทวนเข็มนาฬิกา แรงดันที่ไดจะมากขึ้น เมื่อหมุนตามเข็มนาฬิกา แรงดันที่ไดจะมากขึ้น A POTENTIOMETER แบบตัวตั้ง แบบตัวนอน A ZX-POTV/POTH 10kB + S + S รูปที่ 2-8 แสดงรูปราง, วงจร และการทํางานของแผงวงจรตัวตานทานปรับคาไดแบบแกนหมุน
  • 29.  29 2.3.4 ไอซีวัดอุณหภูมิ MCP9701 (มีทั้งในชุดมาตรฐาน 1 และ 2) เปนอุปกรณตรวจจับและวัดอุณหภูมิที่ใหผลการทํางานเปนแรงดันไฟฟาแบบเชิงเสนรับรูการ เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิภายในเวลาไมถึง 2 วินาที เชื่อมตอกับอินพุตอะนาลอก A0 ถึง A6ของแผง วงจรหลักIPST-SEไดทันทีในรูปที่2-9 แสดงการจัดขาและกราฟคุณสมบัติของไอซีวัดอุณหภูมิเบอร MCP9701 คุณสมบัติทางเทคนิคของ MCP9701 ที่ควรทราบ  เปนไอซีวัดอุณหภูมิในกลุมเทอรมิสเตอรแบบแอกตีฟที่ใหผลการทํางานแบบเชิงเสน  ยานวัด-40ถึง+125 องศาเซลเซียส  ผลการวัดอางอิงกับหนวยขององศาเซลเซียสโดยตรง  ความผิดพลาดเฉลี่ย 2 องศาเซลเซียส  ยานไฟเลี้ยง +3.1 ถึง +5.5V กินกระแสไฟฟาเพียง 6uA ใชแบตเตอรี่เปนแหลงจายไฟได  คาแรงดันเอาตพุต 500mV (ที่ 0๐C) ถึง 2.9375V (ที่ 125๐)  คาแรงดันเอาตพุตตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ19.5mV/๐Cใชงานกับวงจรแปลงสัญญาณ อะนาลอกเปนดิจิตอลความละเอียดตั้งแต 8 บิตได โดยมีความคลาดเคลื่อนตํ่า  ไมตองการอุปกรณภายนอกตอเพิ่มเติมเพื่อชดเชยการทํางาน รูปที่ 2-9 การจัดขาของ MCP9701, หนาตาเมื่อตอสายสัญญาณพรอมใชงานและกราฟคุณสมบัติ
  • 30. 30 2.3.5 แผงวงจรตรวจจับแสงสะทอนอินฟราเรด : ZX-03 (มีในชุดมาตรฐาน 2) มีวงจรและหนาตาของแผงวงจรแสดงในรูปที่ 2-10 เปนแผงวงจรที่ใชในการตรวจสอบการ สะทอนของแสงอินฟราเรดของตัวตรวจจับแสงสะทอนอินฟราเรดซึ่งรวมตัวสงและตัวรับไวในตัวถัง เดียวกัน โดยตัวตรวจจับแสงสะทอนอินฟราเรดที่นํามาใชคือ TCRT5000 เมื่อจายไฟเลี้ยง LED อินฟราเรดภายในตัวโมดูล TCRT5000 จะเปลงแสงออกมาตลอดเวลา สวนตัวรับซึ่งเปนโฟโตทรานซิสเตอรจะไดรับแสงอินฟราเรดจากการสะทอนกลับ โดยปริมาณของ แสงที่ไดรับจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับวามีวัตถุมากีดขวางหรือไมและวัตถุนั้นมีความสามารถในการ สะทอนแสงอินฟราเรดไดดีเพียงไรซึ่งขึ้นกับลักษณะพื้นผิวและสีของวัตถุโดยวัตถุสีขาวผิวเรียบจะ สะทอนแสงอินฟราเรดไดดีทําใหตัวรับแสงอินฟราเรดไดรับแสงสะทอนมากสงผลใหแรงดันที่เอาต พุตของวงจรสูงตามไปดวย ในขณะที่วัตถุสีดําสะทอนแสงอินฟราเรดไดนอย ทําใหตัวรับอินฟราเรด สงแรงดันออกมาตํ่าดวยคุณสมบัติดังกลาวจึงนิยมนําแผงวงจรตรวจจับแสงสะทอนอินฟราเรดนี้มาใช ในการตรวจจับพื้นหรือเสน โดยตองติดตั้งไวดานลางของโครงหุนยนต เนื่องจากแผงวงจรตรวจจับแสงสะทอนอินฟราเรดZX-03ใหผลการทํางานเปนแรงดันไฟตรง ดังนั้นในการใชงานกับแผงวงจรหลัก IPST-SE จึงตองตอเขากับชองอินพุตอะนาลอก (A0 ถึง A6) ของแผงวงจรหลักจากนั้นใชความรูจากการอานคาสัญญาณอะนาลอกเพื่ออานคาจากแผงวงจรตรวจ จับแสงสะทอนอินฟราเรดนําไปสูการตรวจจับเสนตอไป รูปที่2-10หนาตาและวงจรของแผงวงจรตรวจจับแสงสะทอนอินฟราเรดที่ใชในชุด IPST-MicroBOX (SE) รุนมาตรฐาน 2 10k TCRT5000 510 +V GND OUT ตัวตรวจจับแสงสะทอนอินฟราเรด จุดตอสัญญาณ
  • 31.  31 2.4ขอมูลของอุปกรณทางกลที่ใชในชุดIPST-MicroBOX(SE)รุนมาตรฐาน2 2.4.1 มอเตอรไฟตรงพรอมชุดเฟองขับ เปนชุดมอเตอรพรอมเฟองขับรุนBO-2อัตราทด 48:1 มีสายตอ 2เสนคุณสมบัติทางเทคนิคที่ สําคัญมีดังนี้  ตองการไฟเลี้ยงในยาน +3 ถึง +9Vdc  กินกระแสไฟฟา 130mA (ที่ไฟเลี้ยง +6V และไมมีโหลด)  ความเร็วเฉลี่ย 170 ถึง 250 รอบตอนาที (ที่ไฟเลี้ยง +6V และไมมีโหลด)  นํ้าหนัก 30 กรัม  แรงบิดตํ่าสุด0.5 กิโลกรัม-เซนติเมตร  ติดตั้งเขากับตัวยึดพลาสติกแบบมีพุกทองเหลืองสําหรับยึดในตัว  ขนาด (กวาง x ยาว x สูง) 42 x 45 x 22.7 มิลลิเมตร 2.4.2 ลอพลาสติกสําหรับชุดเฟองขับมอตอรและยาง เปนลอกลมมีเสนผานศูนยกลาง65มิลลิเมตรสามารถสวมเขากับแกนของชุดเฟองขับมอเตอร ไดทันทีโดยไมตองดัดแปลงเพิ่มเติมขันยึดดวยสกรูเกลียวปลอย2มิลลิเมตรสวนยางขอบลอที่ใชรวม ดวยผลิตจากยางพารา ผิวมีดอกยางเพื่อชวยเพิ่มสมรรถนะในการเกาะพื้นผิว
  • 32. 32 2.4.3 แผนกริด เปนแผนพลาสติกที่ผลิตจากวัสดุABSขนาด80 x 60 มิลลิเมตรและ 80 x 80มิลลิเมตร อยาง ละ 1 แผน ในแตละมีรูขนาด 3 มิลลิเมตรที่มีระยะหางกัน 5 มิลลิเมตร 2.4.4 แผนฐานกลม เปนแผนพลาสติกที่ผลิตจากวัสดุ ABS ขนาดเสนผานศูนยกลาง 250 มิลลิเมตร เปนแผนฐาน สําหรับยึดอุปกรณตางๆ ที่แผนฐานมีรูขนาด 3 มิลลิเมตรสําหรับติดตั้งอุปกรณหรือโครงสรางกลไก เพิ่มเติม มีรูปรางเปนแผนกลม ในชุดมีให 2 แบบ แบบมีลอกลมกึ่งอิสระทั้งดานหนาและหลัง และ แบบมาตรฐานไมมีลอกลมกึ่งอิสระ 2.4.5 ชิ้นตอพลาสติก เปนชิ้นสวนพลาสติกแข็งเหนียว มี 3 แบบคือ ชิ้นตอแนวตรง, ชิ้นตอมุมฉาก และชิ้นตอมุม ปาน สามารถเสียบตอกันได ใชตอกันเปนโครงสรางหรือตกแตง บรรจุ 3 แบบ รวม 30 ชิ้น
  • 33.  33 2.4.6 แทงตอพลาสติก เปนชิ้นสวนพลาสติกแข็งเหนียวในแตละชิ้นจะมีรูขนาด 3 มิลลิเมตรสําหรับรอยสกรูเพื่อติด ตั้งหรือตอกับชิ้นสวนโครงสรางอื่นๆ ที่ปลายของแทงตอสามารถเสียบเขากับชิ้นตอพลาสติกได ใน ชุดมี 3 ขนาด คือ 3, 5 และ 12 รู แตละขนาดมี 4 ชิ้น 2.4.7 สกรูและนอต เปนอุปกรณสําหรับยึดชิ้นสวนตางๆ เขาดวยกัน ในชุดประกอบดวย สกรูมือหมุน (4 ตัว), สกรูเกลียวปลอย 2 มิลลิเมตร (2 ตัว), สกรู 3 x 8 มิลลิเมตร (4 ตัว), 3 x 10 มิลลิเมตร (30 ตัว), 3 x 15 มิลลิเมตร (4 ตัว), 3 x 40 มิลลิเมตร (4 ตัว), สกรูหัวตัด3 x 8 มิลลิเมตร (10 ตัว) และนอต3 มิลลิเมตร (30 ตัว) 2.4.8 เสารองโลหะ เปนอุปกรณชวยยึดชิ้นสวนตางๆ และรองรับแผงวงจร, แผนกริดและแผนฐาน ทําจากโลหะ ชุบนิเกิลกันสนิม มีลักษณะเปนแทงทรงกระบอกยาว 50 มิลลิเมตร ภายในมีรูเกลียวตลอดตัวสําหรับ ขันสกรู 3 มิลลิเมตร ในชุดมี 4 ตัว
  • 34. 34 2.4.9เสารองพลาสติก เปนอุปกรณชวยยึดชิ้นสวนตางๆ และประคองรองรับแผงวงจร, แผนกริดและแผนฐาน ทําจากพลาสติกABSเหนียวสามารถตัดไดมีลักษณะเปนแทงทรงกระบอกภายในมีรูตลอดตัวสําหรับ รอยสกรู 3 มิลลิเมตร ในชุดประกอบดวย เสารองขนาด 3 มิลลิเมตร (4 ตัว), 10 มิลลิเมตร (4 ตัว), 15 มิลลิเมตร (4 ตัว) และ 25 มิลลิเมตร (4 ตัว) 2.4.10 กะบะถาน ใชบรรจุแบตเตอรี่ขนาดAAจํานวน6กอนมีสายตอขั้วบวกและขั้วลบสําหรับตอกับแผงวงจร ควบคุมหลักIPST-SE ไดทันที
  • 35.  35 2.5ขอมูลของสายสัญญาณที่ใชในชุดกลองสมองกลIPST-MicroBOX(SE) 2.5.1 สายJST3AA-8 : สายเชื่อมตอระหวางแผงวงจร สาย JST3AA-8 ใชเชื่อมตอระหวางแผงวงจรควบคุม IPST-SE กับแผงวงจรตรวจจับและแผง วงจรอุปกรณตางๆ เปนสายแพ3 เสนยาว8 นิ้วปลายสายทั้งสองดานติดตั้งคอนเน็กเตอรแบบJST 3 ขา ตัวเมีย ระยะหางระหวางขา 2 มิลลิเมตร มีการจัดขาดังนี้ ระยะหางระหวางขา 2 มม. ระยะหางระหวางขา 2 มม. GND S +5V 2.5.2สายUSB-miniB เปนสายสัญญาณสําหรับเชื่อมตอระหวางพอรต USB ของคอมพิวเตอรกับแผงวงจร IPST-SE
  • 37.  37 ในบทนี้นําเสนอขอมูลในขั้นตนของWiringซึ่งเปนเครื่องมือทางซอฟตแวรสําหรับพัฒนาการ ทํางานของชุดกลองสมองIPST-MicroBOXSecondaryEdition(SE) สําหรับรายละเอียดของโปรแกรม ภาษา C/C++ ที่ Wiring รองรับอานเพิ่มเติมไดจากหนังสือ โครงสรางของโปรแกรมภาษา C/C++ สําหรับ Wiring IDE ที่จัดมาพรอมกันในชุดกลองสมองกล IPST-MicroBOX (SE) แลว 3.1 สวนประกอบของ WiringIDE Wiring IDEประกอบดวย 2 สวนที่สําคัญคือเท็กซเอดิเตอร(text editor) และ ตัวแปลภาษา C (Ccompiler)ดานเครื่องมือหรือปุมคําสั่งที่ชวยในการพัฒนาโปรแกรมก็มีหลากหลาย สรุปดังรูปที่3-1 รูปที่3-1หนาตางหลักของซอฟตแวร Wiring IDE ที่ใชในการพัฒนาโปรแกรม    
  • 38. 38 3.1.1 แถบเมนูคําสั่ง : Menu bar ประกอบดวย File, Edit, Sketch,Toolsและ Help menu 3.1.1.1 เมนู File New (Ctrl+N) : สรางไฟลใหม ซึ่งในซอฟตแวร Wiring จะเรียกวา สเก็ตช (sketch) โดยจะ ถูกตั้งชื่อเปนวันที่ปจจุบันในรูปแบบ sketch_YYMMDDa เชน sketch_080407a หรือคลิกปุม บนแถบเครื่องมือก็ได Open (Ctrl+O) : เลือกเปดไฟลสเก็ตช หรือคลิกปุม บนแถบเครื่องมือก็ได Close (Ctrl+W) : เลือกปดไฟลสเก็ตช Save (Ctrl+S) : บันทึกไฟลสเก็ตชที่เปดอยูในชื่อเดิม ทํางานเหมือนกับการคลิกที่ปุม บนแถบเครื่องมือ Saveas... (Ctrl+Shift+O) : บันทึกไฟลสเก็ตชที่เปดอยูในชื่อใหม ไฟลเดิมจะไมหายไป UploadtoWiringhardware(Ctrl+U):สงขอมูลของไฟลสเก็ตชในปจจุบันไปยังฮารดแวร Wiring I/O ปกติแลวการทํางานในลักษณะนี้มักจะเรียกวา ดาวนโหลด (donwload) แตสําหรับใน ซอฟตแวร Wiring จะเรียกกระบวนการทํางานนี้วา การอัปโหลด (upload) ทํางานเหมือนกับการคลิ กที่ปุม บนแถบเครื่องมือ Preferences : ปรับแตงการทํางานของ Wiring IDE Quit(Ctrl+Q) :ออกจากโปรแกรมWiringและปดหนาตางของโปรแกรมWiringทั้งหมด
  • 39.  39 3.1.1.2 เมนู Edit เปนเมนูที่บรรจุคําสั่งตางๆ ที่ใชในการแกไขไฟลสเก็ตชที่พัฒนาบน Wiring IDE Undo (Ctrl+Z) :ยกเลิกการกระทําคําสั่งกอนหนานี้หรือที่พิมพลาสุดการยกเลิกคําสั่ง Undo ทําไดโดยเลือก Edit > Redo Redo(Ctrl+Y):กลับไปทําคําสั่งที่ทํากอนหนาคําสั่งUndoคําสั่งนี้จะใชไดก็ตอเมื่อไดทําการ Undo ไปแลว Cut (Ctrl+X) : ลบและคัดลอกขอความที่เลือกไปเก็บที่คลิปบอรด ซึ่งทําหนาที่เปนหนวย ความจําชั่วคราวสําหรับพักขอมูล Copy (Ctrl+C) : คัดลอกขอความที่เลือกไปเก็บที่คลิปบอรด Paste(Ctrl+V):วางขอมูลที่อยูในคลิปบอรดไปยังตําแหนงที่กําหนดหรือแทนที่ขอความที่เลือก SelectAll(Ctrl+A):เลือกตัวหนังสือหรือขอความทั้งหมดในไฟลที่กําลังเปดอยูในเท็กซเอดิเตอร ในขณะนั้น Find(Ctrl+F):คนหาขอความภายในไฟลที่เปดอยูในเท็กซเอดิเตอรนอกจากนี้ยังคนหาและ แทนที่ดวยขอความอื่นได Find Next (Ctrl+G) : คนหาขอความหรือคําตัวถัดไปภายในไฟลที่เปดอยูในเท็กซเอดิเตอร