SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  24
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง

เอกสารที่เกี่ยวข้ อง
2.1 ความหมายของการ์ ตูน
การ์ ตน (Cartoon)คือทัศนศิลปสองมิติรูปแบบหนึ่ง ซึ่งความหมายที่เฉพาะเจาะจงแปร
ู
์
เปลี่ยนไปตามเวลา ความหมายในสมัยใหม่โดยทัวไปหมายถึง การวาดเส้ นหรื อจิตรกรรมแบบกึ่ง
่
สัจนิยมหรื ออสัจนิยม (กึ่งเหมือนจริ งหรื อไม่เหมือนจริ ง) เพื่อการเสียดสี การล้ อเลียน ความขบขัน
หรื อ การแสดงออกซึ่ ง กระบวนแบบเชิ ง ศิ ล ปะ ศิ ล ปิ นผู้ว าดการ์ ตูน เรี ย กว่ า นัก เขี ย นการ์ ตูน
(cartoonist)
คาว่าการ์ ตูน จริ ง ๆมาจากคาว่า Carton (อ่านว่า แก -ตุง ) ในภาษาฝรั่ ง เศส แปลว่า
“กระดาษแข็ง” ซึ่งภาพวาดการ์ ตนในยุคแรกๆ มักวาดในกระดาษแข็ง จึงทาให้ เกิดคาใหม่ขึ ้นมา
ู
และเรี ยกเพี ้ยนไปจากคาว่า “Carton” เป็ นคาว่า “Cartoon” (การ์ ตน) จนถึงทุกวันนี ้
ู
ในยุคอดีต การ์ ตนหมายถึงภาพร่ างหรื อภาพวาดที่ใช้ การเรี ยนการศึกษาแทนการใช้
ู
ภาพจริ ง ในปั จ จุบัน การ์ ตูนมักจะหมายถึ ง แอนิเ มชัน (Animation) ซึ่ง เป็ นเทคนิ คในการสร้ าง
การ์ ตูนในยุคปั จจุบน ที่มีการฉายทางโทรทัศน์ หรื อภาพยนตร์ ในความหมายอื่น การ์ ตนใช้ แทน
ั
ู
รายการสาหรับเด็กที่มีการใช้ สตว์หรื อสิ่งมีชีวิตอย่างอื่นเคลื่อนไหวในลักษณะเหมือนมนุษย์
ั
การ์ ตูน ปั จ จุบัน จะพบได้ จ ากหนัง สื อ , หนัง สื อ พิม พ์ (ซึ่ง มัก เป็ นเรื่ อ งเกี่ ย วกับ ข่า ว
การเมือง บันเทิง), โปสเตอร์ , ภาพยนตร์ เป็ นต้ น
2.2 ประเภทของการ์ ตูน
ในปั จจุ บั น การ์ ตู น คื อ สื่ อ ที่ อิ ท ธิ พ ลมาก ปรากฏได้ ตามสื่ อ ในหลายๆที่ และ
กลุ่มเปาหมายเริ่ มกว้ างมากขึ ้น จากที่สมัยก่อน การ์ ตนมีกลุ่มเปาหมายเฉพาะเด็กๆเท่านัน แต่ใน
้
ู
้
้
ปั จจุบน การ์ ตนมีกลุมเปาหมายที่กว้ างมากขึ ้น เช่น วัยรุ่น ผู้ใหญ่ วัยชรา หรื อแม้ แต่กลุ่มเปาหมาย
ั
ู
่ ้
้
เป็ นเพศ เช่นเพศชาย เพศหญิง รวมถึงเพศที่สาม
การแบ่งประเภทของการ์ ตนนัน จะแบ่งเป็ น 2 หมวดใหญ่ๆคือ หมวดแบ่งตามประเภท
ู ้
ของขันตอนการผลิต และหมวดแบ่งตามประเภทของเนื ้อหา
้
2.2.1 ประเภทของการ์ ตูน (แบ่ งตามขันตอนการผลิต)
้

ตัวอย่างภาพการ์ ตนช่อง ที่มา http://www.bloggang.com/data/
ู
plaze/picture/1170839321.gif
2.2.1.1 การ์ ตูนช่ อง คือการ์ ตนที่เขียนเป็ นช่องๆ บอกลาดับเหตุการณ์ คล้ ายๆ
ู
Storyboard แต่การ์ ตนช่องสื่ออารมณ์ของเนื ้อหา ตัวละคร ฉาก และอารมณ์ได้ ดีกว่า Storyboard
ู
การ์ ตนช่องจะตีพิมพ์ตามสื่อนิตยสารต่างๆ หากตอนของการ์ ตนเรื่ องนันสะสมครบ 10 ตอน (หรื อ
ู
ู
้
ตามที่ทางบรรณาธิการสานักพิมพ์ต้องการ) จะรวบรวมแต่ละตอนเป็ นหนังสือการ์ ตนรวมเล่ม ใน
ู
ภาษาอังกฤษ จะเรี ยกการ์ ตูนประเภทนีว่า Comics หากในญี่ ปน จะเรี ยกว่า “มังงะ” (漫画
้
ุ่
manga) คาว่ามังงะ ในภาษาญี่ปน แปลตรงตัวว่า “ภาพตามอารมณ์ ” ถูกใช้ อย่างกว้ างขวางเป็ น
ุ่
ครั งแรกหลังจากจิตรกรอุคิโยเอะชื่อโฮคุไซตีพิมพ์ หนัง สือชื่อโฮคุไซมังงะในคริ สต์ศตวรรษที่ 19
้
อย่างไรก็ดีนกประวัติศาสตร์ บางกลุ่มเห็นว่ามังงะอาจมีประวัติยาวนานกว่านัน โดยมีหลักฐานคือ
ั
้
ภาพจิกะ (แปลตรงตัวว่า "ภาพตลก") ซึ่งเป็ นที่นิยมในศตวรรษที่ 12 มีลักษณะหลายประการ
คล้ ายคลึงกับมังงะในปั จจุบน อาทิ การเน้ นเนื ้อเรื่ อง และการใช้ เส้ นที่เรี ยบง่ายแต่สละสลวย เป็ น
ั
ต้ น การ์ ตนช่องส่วนใหญ่นิยมทาเป็ นภาพขาวดา เพราะถ้ าทาเป็ นภาพสี เวลาในการผลิตงานจะ
ู
นานมากกว่าเดิม และส่งผลให้ ทางนักเขียนการ์ ตน ส่งต้ นฉบับไปยังโรงพิม พ์ไม่ทน เว้ นแต่ว่าเขียน
ู
ั
เพื่อเฉลิมฉลองในบางสถานการณ์ เช่น ครบรอบ 10 ปี สาหรับการ์ ตนเรื่ อง….. เป็ นต้ น
ู

ตัวอย่างภาพประกอบการ์ ตน ที่มา http://www.hereisfree.com/content1//imguploads/
ู
Image/cjbc/zcool/20080523/1211543199.jpg
2.2.1.2 ภาพประกอบการ์ ตูน คือภาพวาดการ์ ตูนที่ มีหน้ าที่เล่าเรื่ องจากเนื อ
้
เรื่ องที่กาหนดให้ มักปรากฏในหนังสือนิทานภาพ และนวนิยายต่างๆ ที่มีกลุ่มเปาหมายเป็ นเด็กถึง
้
วัยรุ่น โดยคุณภาพงานของการ์ ตนประเภทนี ้ค่อนข้ างวิจิตร งดงามมากกว่าการ์ ตนช่อง เพราะเนื ้อ
ู
ู
เรื่ องในการดาเนินจะใช้ ตวหนังสือในการดาเนินเรื่ องเป็ นหลัก
ั
ตัวอย่างภาพการ์ ตน Animation ที่มา http://www.zerochan.net/808641#full
ู
2.2.1.3 การ์ ตูนแอนิเมชั่น (Animation) หรื อในภาษาญี่ ปนเรี ยกว่า “อนิเมะ” (
ุ่
アニメ)

คือการ์ ตนที่ตวละคร ฉากเคลื่อนไหวมีชีวิตชีวาเหมือนกับภาพยนตร์ ละครที่ฉายกันทัวไป
ู ั
่

รายละเอียดจะอธิบายเพิ่มเติมในหัวข้ อที่ 2.4 “ความหมายของการ์ ตนแอนิเมชัน”
ู
่
2.2.2 ประเภทของการ์ ตูน (แบ่ งตามประเภทของเนือหา)
้

ตัวอย่างการ์ ตนแนวล้ อการเมือง ของชัย ราชวัตร ที่มา
ู
http://www.thairath.co.th/media/comic/6/ch23/15.jpg
2.2.2.1 การ์ ตูนล้ อการเมือง (Editoral Cartoon) การ์ ตนล้ อการเมือง (อังกฤษ:
ู
Political Cartoon) หรื อ การ์ ตนบรรณาธิการ (อังกฤษ: Editorial Cartoon) คือ ภาพการ์ ตนที่วาด
ู
ู
และตี พิ ม พ์ ล งสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ต่ า ง ๆ เช่ น หนัง สื อ พิ ม พ์ ,

นิ ต ยสาร โดยมี เ นื อ หาล้ อ เลี ย นหรื อ
้

วิพากษ์ วิจารณ์สภาพสังคม , เศรษฐกิจและการเมือง จุดประสงค์ เพื่อความสนุกสนานและความ
ขบขัน ในบางครังอาจสอดแทรกถึงวิธีการแก้ ปัญหานัน ๆ จะมีคาบรรยายหรื อไม่มีก็ได้ โดยนักวาด
้
้
การ์ ตนล้ อการเมืองนัน ถือว่า เป็ นคอลัมนิสต์หรื อบรรณาธิการคนหนึ่งของหนังสือพิมพ์ฉบับนัน ๆ
ู
้
้
เรี ยกว่า การ์ ตนนิสต์ (Cartoonist)
ู

ตัวอย่างการ์ ตนสาหรับผู้หญิง “เซเลอร์ มน” ที่มา http://cartoon.mthai.com/wordpress/wpู
ู
content/uploads/2012/03/Untitleppppppppppd-1-copy.jpg
2.2.2.2 การ์ ตู นส าหรั บ ผู้ ห ญิ ง คื อ การ์ ตูน ที่ ว าด หรื อผลิต ออกมาเพื่ อ ผู้ห ญิ ง
โดยเฉพาะ ผู้ช ายสามารถอ่านได้ แต่อ่านแล้ วอาจจะไม่สนุก หรื อไม่เข้ าใจ เนื่องจากเนื อเรื่ อง
้
ลายเส้ น ตัวละคร และอารมณ์ที่การ์ ตนผู้หญิงสื่อออกมาค่อนข้ างหวานแหววมาก หรื อบางครังเกิน
ู
้
จริ ง เอกลักษณ์ของการ์ ตนผู้หญิงคือ ลายเส้ นของตัวละครผู้หญิงจะบาง และแววตาจะใสปิ๊ งมาก
ู
กว่าการ์ ตูนแนวอื่นๆ พบได้ ในการ์ ตนที่มาจากประเทศญี่ ปน เช่นเรื่ อง “Candy Candy” หรื อ
ู
ุ่
“Sailor Moon” การ์ ตนแนวนี ้มักจบในตอน (ถ้ าในเรื่ องนันเน้ นแนวความรัก หรื อวีถีชีวิต) หรื อแต่ละ
ู
้
ตอนต่อเนื่องจนจบบริบรณ์ (ถ้ าการ์ ตนแนวนันเป็ นแนวต่อสู้ หรื อผจญภัย)
ู
ู
้
2.2.2.3 การ์ ตูนแนวผจญภัย เป็ นแนวการ์ ตนที่ฮิตที่สดในปั จจุบน เพราะเนื ้อหา
ู
ุ
ั
ค่อนข้ างโดนทุกเพศทุกวัย เนื ้อเรื่ องของการ์ ตนแนวผจญภัยมักเริ่ มจากตัวเอกซึ่งอ่อนประสบการณ์
ู
แต่มีความฝั นอันยิ่งใหญ่ เช่นอยากเป็ นเจ้ าแห่งโจรสลัด (จากเรื่ อง One Piece) หรื ออยากเป็ นโฮคา
เงะ (ตาแหน่งนินจาที่ สูงที่ สุด จากเรื่ อง Naruto) การ์ ตูนแนวนี มักไม่จ บในตอน แต่ละตอนจะ
้
ต่อเนื่องเรื่ อยๆจนจบบริบรณ์ มักพบเห็นในการ์ ตนจากประเทศญี่ปน
ู
ู
ุ่
ตัวอย่างการ์ ตนแนวผจญภัย เรื่ อง Jojo ล่าข้ ามศตรวรรษ ที่มา
ู
http://board.postjung.com/data/607/607088-topic-ix-0.jpg
2.2.2.4 การ์ ตู นแนวซุ ป เปอร์ ฮี โ ร่ เป็ นแนวการ์ ตูนที่ ฮิ ต มากในประเทศแถบ
ตะวันตก อย่างสหรัฐอเมริ กา หากในสหรัฐอเมริ กา ตัวคาแรคเตอร์ จะมีสดส่วนเหมือนจริ ง แต่เพิ่ม
ั
ความเหนือจริ งจากกล้ ามเนื ้อและรู ปทรง การ์ ตนแนวซุปเปอร์ ฮีโร่มกจบในตอน แต่อนที่จริ งแต่ละ
ู
ั
ั
ตอนจะต่อ เนื่ อ ง แต่ไ ม่ต่อเนื่ องเด่น ชัด เท่า การ์ ตูน แนวผจญภัย อย่างเช่น ตอนจบของการ์ ตูน
ซุปเปอร์ ฮีโร่ ในแต่ละตอน คือปราบปี ศาจร้ าย และเมืองสงบสุข แต่ผ้ บงการคิดแผนชัวร้ ายอีก แผน
ู
่
นันก็อยูในตอนต่อไป ส่วนการ์ ตนแนวผจญภัย จะจบให้ ผ้ ูชมอารมณ์ค้าง เพื่อให้ ดตอนต่อไปเรื่ อยๆ
้
่
ู
ู
เช่น ตัวเอกกาลังเข้ าถ ้าเพื่อหาสมบัติ จนกระทังเจอ….. (ติดตามในตอนต่อไป) การ์ ตนแนวซุปเปอร์ ฮี
่
ู
โร่ ไม่ได้ โด่งดังแค่ในประเทศแถบตะวันตกเท่านัน แต่ยงโด่งดังในประเทศญี่ปน ซึ่งมีแต่ในรูปแบบ
้
ั
ุ่
การ์ ตนช่องเท่านัน หากเป็ นเรื่ องที่ฉายตามโทรทัศน์ จะใช้ คนแสดงแทน ซึ่งไม่ได้ ใช้ กระบวนการ
ู
้
ผลิตแบบการ์ ตนแอนิเมชัน จึงไม่นบว่าเป็ นการ์ ตน เช่น หน้ ากากมดแดง หรื อพวกเรื่ องขบวนการกู้
ู
่
ั
ู
โลก 5 สี (และตัวประกอบลับ 1 คน) ชื่อเรื่ องมักลงท้ ายด้ วยคาว่า “เรนเจอร์ ”
การ์ ตนแนว Super Heroes ที่มา http://3.bp.blogspot.com/ู
JPXP0imBBz0/UH80hMjDjeI/AAAAAAAADsw/USUW_y5XLFk/
s1600/avengers+cartoon.jpg
2.2.2.5 การ์ ตูนแนวแฟนตาซี เป็ นการ์ ตนที่วาด้ วยเรื่ องราวเหนือธรรมชาติ นิยม
ู ่
ทังในญี่ปนและอเมริ กา โดยสไตล์ของการ์ ตนจะแตกต่างกันไป อย่างในอเมริ กา ถ้ ากลุ่มเปาหมาย
้
ุ่
ู
้
เป็ นเด็ก ก็เอาตัวการ์ ตนร้ องเพลงแทบทังเรื่ อง และร่ ายเวทมนตร์ ไปๆมาๆให้ สมหวัง ส่วนในญี่ ปน
ู
้
ุ่
จะแตกต่างจากของอเมริ กาในส่วนของเนือเรื่ อง คือมีโครงเรื่ อง มีที่มา ไม่ต่างจากแนวผจญภัย
้
การ์ ตนแนวแฟนตาซีในปั จจุบน ถ้ าแสดงความแฟนตาซีออกมาเด่นชัด จะเป็ นเรื่ อง “Fairy Tail”
ู
ั
ส่วนเรื่ องอื่นๆจะผสมกับแนวๆอื่นๆ เช่น One Piece ผสมแนวการผจญภัยไปด้ วย

ตัวอย่างการ์ ตนแนว Fantasy เรื่ อง Fairytail ที่มา http://cartoon.mthai.com/wordpress/wpู
content/uploads/2013/03/Fairy_Tail_2.jpg
ตัวอย่างการ์ ตนแนว Sci-Fi เรื่ อง Gandam ที่มา http://cartoon.mthai.com/wordpress/wpู
content/uploads/2012/08/gundam_wing_0_vs_epyon.jpg
2.2.2.6 การ์ ตูนแนว Sci-Fi เป็ นการ์ ตนแนววิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่ว่าด้ วยเรื่ อง
ู
หุนยนต์ การทดลองต่างๆ การ์ ตนแนวนี ้ที่เด่นที่สด ไม่พ้นเรื่ อง Gandam หรื อเรื่ อง ZOIDS เนื ้อเรื่ อง
่
ู
ุ
มักต่อเนื่อง ไม่มีการจบในตอน บางที การ์ ตนแนว Sci-Fi สามารถผสมกับแนวแฟนตาซีและเข้ ากัน
ู
ได้
2.2.2.7 การ์ ตู น แนวกี ฬ า ส่ว นใหญ่ ก าร์ ตูน แนวนี มัก จะเจอในประเทศญี่ ปุ่ น
้
การ์ ตนประเภทนี ้เป็ นการ์ ตนผลักดันให้ เด็กๆที่ดมีความฝั นตามการ์ ตน ให้ มนเป็ นจริ งได้ ในอนาคต
ู
ู
ู
ู
ั
เช่นเรื่ อง “กัปตันซิบาสะ” (Captain Tsubasa) ที่มีเนื ้อเรื่ องเกี่ยวกับทีมฟุตบอลญี่ปนทีมหนึ่ง ที่มี
ุ่
ความฝั นอยากจะแข่งฟุตบอลโลก โดยเริ่ มแรกแข่งในประเทศก่อน เมื่อชนะหมดแล้ วจึงแข่งใน
รายการฟุตบอลโลก ในรายการฟุตบอลโลก ทีมญี่ ปนสามารถเอาชนะทีมจากประเทศบราซิลได้
ุ่
อย่างฉิวเฉี ยดจนได้ เป็ นแชมปฟุตบอลโลก ถึงแม้ เรื่ องในการ์ ตนจะไม่เป็ นความจริ งก็ตาม แต่กลับ
์
ู
เป็ นแรงบันดาลใจอย่างแรงกล้ าให้ เด็กๆที่อ่ านการ์ ตนอยากจะไปบอลโลก จนในที่สุด ในปั จจุบน
ู
ั
ทีมฟุตบอลทีมชาติญี่ปนติดอยู่ในอันดับต้ นๆของโลก เนื่องเรื่ องของการ์ ตนแนวนี ้ค่อนข้ างต่อเนื่อง
ุ่
ู
ไม่มี จบในตอน หรื อจบในเล่ม นอกจากเรื่ องกัปตันซึ บาสะ ยังมี การ์ ตูนแนวกี ฬาที่ มีชื่อเสียงอี ก
หลายเรื่ อง เช่น “ก้ าวแรกสูสงเวียน” ฯลฯ
่ ั
ตัวอย่างการ์ ตนแนวกีฬา เรื่ อง Captain Tsubasa ที่มา
ู
http://seriesinfantiles.galeon.com/fotos/oliv_benji04.jpg
2.2.2.8 การ์ ตูนเฉพาะกลุ่ม คือการ์ ตนที่ไม่ได้ เปิ ดเผยเป็ นวงกว้ าง ตามสื่อทัวไป
ู
่
ส่วนใหญ่ การ์ ตนแนวนี ้มักมีเนื ้อหาไม่เหมาะสม หรื อมีเนื ้อหาที่คนหลายๆคนไม่เข้ าใจ เทคนิคที่ใช้
ู
ในแนวนี ้ มักเป็ นการ์ ตนช่อง โดยผู้เขียนการ์ ตนก็เป็ นผู้คลังไคล้ การ์ ตนทัวๆไป ที่จินตนาการบรรเจิด
ู
ู
่
ู ่
น้ อยเรื่ องที่จะทาออกมาเป็ นการ์ ตนแอนิเมชัน เพราะด้ วยเนื ้อหาที่ไม่เหมาะสมสาหรับบุคคลทัวไป
ู
่
่
(หากเอามาฉายจะถูกเซ็นเซอร์ หากเซ็นเซอร์ เกินกว่าที่ควรจะเป็ นจนเสียอรรถรสและเนื ้อเรื่ องจะถูก
แบน) ซึงจะมีแนวย่อยต่อไปนี ้
่
2.2.2.8.1 แนว Y แยกเป็ น Yaoi (ชายรักชาย) และ Yuri (หญิงรักหญิง)
2.2.2.8.2 แนว Lolicon คือแนวที่มีความสัมพันธ์กบเด็กสาวอายุต่ากว่า 15
ั
2.2.2.8.3 แนว NTR มาจากคาว่า เนะโทะระเระ ( 寝取られ) คือคนรัก/
แฟน/ภรรยา โดนชายอื่นแย่งไป (หลับนอน) โดยความยินยอมหรื อไม่ยินยอม
2.2.2.8.4 แนว H คือแนวลามก H มาจากคาว่า Hentai
2.2.2.8.5 แนว Mimi คือแนวที่ตวละครมีหมีหางจากสัตว์ เช่น มีหู,หางเป็ น
ั
ู
แมว จะเรี ยกว่า Nekomimi
2.2.2.8.6 แนว Guro คือแนวเลือดกระฉูด พวกที่ชอบการชาแหละ เลือด
ฆ่า เครื่ องใน ไส้
2.2.2.8.7 แนว Harem สายนี ้จะเป็ นพวกชอบอยู่ห้อมล้ อมด้ วยสาวๆ สวย
น่ารักมากมายแถมด้ วยทุกคนมารุมรักอีก - เช่น เนกิมะ

2.3 ลักษณะลายเส้ นในการเขียนการ์ ตูน
การเขียนการ์ ตนระหว่างสไตล์ญี่ปนกับอเมริ กาจะแตกต่างกันอย่างสินเชิง เนื่องจาก
ู
ุ่
้
วัฒนธรรมของทัง 2 ชาติไม่เหมือนกัน เช่นในญี่ปนมักสอนให้ รักชาติ สังเกตได้ ในการ์ ตนหลายๆ
้
ุ่
ู
เรื่ องจะสอดแทรกวัฒนธรรมญี่ ปน ทังชุดกิโมโน ชุดนักเรี ยน การทักทาย ส่วนในอเมริ กามักเป็ น
ุ่ ้
เรื่ องความฝั นที่ไม่ค่อยเป็ นจริ งซะมากกว่า เช่น สัตว์พูดได้ ในหลายๆเรื่ อง เวทมนตร์ เจ้ าชาย เจ้ า
หญิง เจ้ าป่ า

ตัวอย่างลายเส้ นการ์ ตนญี่ปน ที่มา http://image.dek-d.com/13/1185628/14277978
ู ุ่
ลักษณะตัวการ์ ตนของญี่ ปนจะเน้ นเสมือนจริ ง คือตัวละครมนุษย์สดส่วนที่ไม่ใช่ศีรษะ
ู
ุ่
ั
จะเหมือนจริ ง ยกเว้ นศีรษะและดวงตาที่โตกว่าของจริ ง ส่วนตัวละครสัตว์จะเน้ นความน่ารัก เน้ น
เรื่ องรู ปทรงเรขาคณิตง่ ายๆเพื่อให้ คนที่ ดูจดจาง่าย อี กทังตัวละครผู้หญิ งในการ์ ตูนญี่ ปน เสียง
้
ุ่
พากย์คอนข้ างหน่อมแน้ มดูไร้ เดียวสา น่ารัก ซึ่งความรู้ สึกแบบนี ้เรี ยกว่า “โมเอะ” คือความน่ารักที่
่
เกินกว่าคาว่า “น่ารัก” จนอยากเอากลับบ้ าน
ตัวอย่างการ์ ตนฝรั่ง เรื่ อง The Simpsoms ที่มา http://image.dekู
d.com/24/2375660/107304716
ส่วนการ์ ตนฝรั่งนัน ถ้ ากลุ่มเปาหมายเป็ นเด็ก จะเน้ นเรื่ อง “ความเป็ นเอกลักษณ์ ของ
ู
้
้
รูปร่างของตัวละครมากกว่าหน้ าตา” และด้ วยความที่การ์ ตนฝรั่ง มักเอาตัวเอกเป็ นสัตว์อยู่แล้ ว ทา
ู
ให้ การออกแบบตัวละคร จะโชว์จุดเด่นออกมาเต็มๆ เช่น ตัวละครอ้ วนๆ หัวจะเล็ก ตัวจะใหญ่ๆ
อ้ วนๆ หรื อตัวละครบ้ องแบ๊ ว จะคล้ ายๆการ์ ตนญี่ ปน แต่จะดูน่ารักกว่าเพราะเป็ นสัตว์ ไม่ใช่มนุษย์
ู
ุ่
ส่วนแนวซุ ปเปอร์ ฮี โร่ จะใช้ สัดส่วนคนจริ ง ๆมาใช้ ตัวละครชายจะเน้ นกล้ ามเนือเป็ นส่วนใหญ่
้
ลายเส้ นจะได้ อารมณ์ดดน แมนๆ
ุ ั
2.4 ความหมายของการ์ ตูนแอนิเมชั่น
การ์ ตูนแอนิเมชั่น (Animation) คือการ์ ตูนที่สามารถเคลื่อนไหว เล่าเรื่ องราวต่างๆได้
คล้ ายคลึง กับละคร หรื อภาพยนตร์ โ ดยผ่านกระบวนการตัดต่อ เพิ่ ม เสี ยง พากย์ ลงในการ์ ตูน
กรรมวิธีในการทาค่อนข้ างซับซ้ อน พอๆกับการสร้ างภาพยนตร์ และการทางานค่อนข้ างใช้ ความ
อดทนสูง ในสมัยก่อนที่คอมพิวเตอร์ จะมีบทบาท การสร้ างการ์ ตนแอนิเมชันเกิดจากการเขียนภาพ
ู
่
ลงบนแผ่นเซล (เป็ นแผ่นที่คล้ ายๆแผ่นใส) นับหมื่นแผ่น เงินลงทุนค่อนข้ างสูงมาก จากค่าแผ่นเซล
ค่าสี ค่าคนงานในสตูดิโอที่เขียนแผ่นเซล เขียนภาพฉากหลัง เมื่อเขียนแผ่นเซลแล้ ว จึงนามาต่อ
ภาพกันเหมือนกับแผ่นฟิ ล์ม แล้ วเข้ าสูกระบวนการใส่เสียง และการพากย์ จึงได้ การ์ ตนแอนิเมชัน 1
่
ู
่
เรื่ อง
ในเรื่ องของความลื่นไหลของตัวการ์ ตน การ์ ตนฝรั่งทาได้ ดีกว่า ในขณะที่การ์ ตนญี่ ปน
ู
ู
ู
ุ่
เน้ นเรื่ องแสงเงาและฉากหลัง และเนื ้อเรื่ อง
จนกระทั่ง ในยุ ค ที่ ค อมพิ ว เตอร์ มี บ ทบาทในการท างาน จึ ง ถื อ ก าเนิ ด ซอฟต์ แ วร์
คอมพิวเตอร์ ที่แสดงผลออกมาเป็ น 3 มิติ โดยซอฟต์แวร์ 3 มิติในยุคแรกๆจะแสดงผลออกมาด้ วย
รู ปทรงที่ง่าย ไม่ซับซ้ อน เนื่องจากข้ อจากัดทางด้ านฮาร์ ดแวร์ ในยุคนัน และซอฟต์แวร์
้

3

มิติยัง

สามารถสร้ างภาพเคลื่อนไหว ทาให้ เกิดการ์ ตนเทคนิคใหม่ขึ ้นมา คือ “การ์ ตน 3 มิติ” การ์ ตน 3 มิติ
ู
ู
ู
เรื่ องแรกที่ออกฉายและสร้ างปรากฏการณ์ให้ กบผู้ชมหลายๆคนคื อเรื่ อง “Toy Story” เป็ นเรื่ องราว
ั
ของตัวตุ๊กตา และของเล่นที่อาศัยอยู่ในห้ องของเด็กคนหนึ่ง สิ่งที่มหัศจรรย์สาหรับเรื่ องนี ้ อยู่ที่ของ
เล่นทุกๆชิ ้นเคลื่อนไหวได้ มีชีวิตชีวา หลังจากเรื่ อง Toy Story ก็มีเรื่ องอื่นๆในเครื อ Pixar หลายๆ
เรื่ อง

การ์ ตนเรื่ อง Toy Story การ์ ตนแอนิเมชันที่ใช้ เทคนิค 3D สร้ าง ที่มา http://4.bp.blogspot.com/ู
ู
่
C2mAoIS79dE/UieU3jQld5I/AAAAAAAAA9M/s7e0iFqo8tY/s1600/toy+story.jpg
ในขณะเดียวกัน ที่ ญี่ปุ่ น คอมพิวเตอร์ มีบทบาทในการทางานทุกๆด้ านแล้ ว และใน
วงการการ์ ตนแอนิเมชันก็เริ่มใช้ คอมพิวเตอร์ ในการทางานเหมือนกับทางการ์ ตนฝรั่ง แต่ยงคงสร้ าง
ู
่
ู
ั
การ์ ตนแอนิเมชันในรู ปแบบ 2 มิติ อย่างที่เรี ยกว่า “อนิเมะ” เหมือนเดิม เพียงแต่กระบวนการผลิต
ู
่
ตังแต่ลงสี รวมภาพ ใส่เสียง สามารถทาให้ เสร็ จกระบวนการได้ ด้วยคอมพิวเตอร์ ไม่ต้องเขียนใน
้
แผ่นใสเหมือนเมื่อยุคแรกๆที่ลงทุนเรื่ องคนงาน แผ่นใส สี เครื่ องรวมเฟรม ซึ่งค่าใช้ จ่ายค่อนข้ าง
แพงมากๆ
2.5 ประวัตความเป็ นมาของแอนิเมชั่น
ิ
แอนิเมชั่นนันมีต้นกาเนิดมานานแล้ ว จะหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ได้ มีการค้ นพบ
้
ภาพเขียนบนผนังถ ้าเป็ นรู ปสัตว์ชนิดหนึ่ง ซึ่งในภาพวาดมีการวาดการเคลื่อนไหวของขาทังสี่ข้าง
้
ในยุคต่อมา 1600 ปี ก่อนคริ สต์ศกราช ในช่วงยุคของฟาโรห์รามาเศสที่สองได้ มีการก่อสร้ างวิหาร
ั
เพื่อบูชาเทพีไอซิสโดยมีการวาดรู ปการเคลื่อนไหวของเทพีไอซิสต่อเนื่องกันถึง 110 รูป จนกระทัง
่
ถึงยุคกรี กโรมัน เมื่อดูจากภาพที่ปรากฏบนคนโทแล้ ว จะเห็นว่าเป็ นภาพต่อเนื่องของการวิ่ง
2.5.1 แอนิเมชั่นฝรั่ง

ภาพจาก Adventures of Prince Achmed ที่มา
http://www.dvdbeaver.com/film2/DVDReviews50/adventures_prince_achmed/Adventure
s_of_Prince_Achmed_4.jpg
แอนิเมชันแต่ละเรื่ องในยุค แรกๆนันจะดัดแปลงจากภาพยนตร์ เงียบ ที่ยโรปในปี
่
้
ุ
1908 แอนิเมชันก็ได้ ถือกาเนิดขึ ้นในโลก นันก็คือเรื่ อง Fantasmagorie ของ Emile Courtet ผู้
่
่
กากับชาวฝรั่งเศส ส่วนภาพยนตร์ แอนิเมชันเรื่ องยาวเรื่ องแรกของโลก นั่นก็คือ Satire du Pt
่
Irigoyen ของอาร์ เจนตินา ในปี 1917 และตามด้ วย The Adventure of Prince Achmed
่

ในขณะเดียวกัน ที่สหรัฐฯ ก็มีการเริ่ มต้ นพัฒนาด้ านอนิเมชันซึ่งหนังในช่วงแรกๆ
่
ก็มี Koko the Clown และ Felix the Cat ในปี 1923 วอล์ท ดิสนี่ย์ ก็ถือกาเนิดขึ ้นด้ วยหลังจากที่
วอล์ท ดิสนี่ย์ได้ กาเนิดขึ ้น ก็ทาให้ เกิดยุคทองหนังอนิเมชันของดิสนี่ย์ในช่วงระยะเวลาถึง20ปี เลย
่
ทีเดียว ในปี 1928 มิกกี ้ เมาส์ก็ถือกาเนิดขึน ตามด้ วย พลูโต กู๊ฟฟี่ โดนัลด์ ดัก เป็ นต้ น และในปี
้
๊
1937 สโนว์ไวท์และคนแคระทัง7 ก็เป็ นอนิเมชันเรื่ องยาวเรื่ องแรกของ ดิสนี่ย์ และได้ รับการตอบรับ
้
่
เป็ นอย่างดี และทยอยมีอนิเมชันเรื่ องอื่นๆตามมา เช่น Pinocchio, Fantasia ,Dumbo, Bambi
่
,Alice in Wonderland, Peter Pan จากนันก็มีการตังสตูดิโอของ Warner Brother,MGM และ
้
้
UPA
ในช่วงปี 1960 หลังจากที่ภาพยนตร์ แอนิเมชั่นประสบความสาเร็ จ ก็ก่อให้ เกิด
ธุรกิจแอนิเมชันบนจอโทรทัศน์ขึ ้นมา ซึ่งมีทงการ์ ตนของดิสนี่ย์ และการ์ ตนพวกฮี โร่ ทงหลายแหล่
่
ั้
ู
ู
ั้
อย่าง ซุปเปอร์ แมน แบทแมน ฯลฯ และในขณะเดียวกัน ก็มีการศึกษาการทาแอนิเมชัน3มิติอีกด้ วย
่
เวลาก็ได้ ลวงมาถึง ช่วงปี 1980 ภาพยนตร์ ของดิสนี่ย์ก็ถึงคราวซบเซา แต่ทว่าใน
่
ปี 1986 The Great Mouse Detective ก็เป็ นแอนิเมชันเรื่ องแรกของโลก ที่นาเอา 3 D แอนิเมชันมา
่
่
ใช้ ด้วย ซึ่งก็เป็ นจุดเริ่ มต้ นที่ทาให้ แอนิเมชันของดิสนี่ย์กลับมา ได้ รับความนิยมใหม่อีกครังหนึ่ง ทัง
่
้
้
Beauty and the Beast,Aladin ,Lion King ในปี 1995 ภาพยนตร์ แอนิเมชัน3มิติเรื่ องแรกของโลก
่
อย่าง Toy Story ก็ถือกาเนิดขึ ้น และ ทาให้ มีการสร้ างสรรงานอนิเมชัน3มิติอีกหลายๆงานต่อมา
่
จนถึง ปั จ จุบัน รวมไปถึง มี ก ารท าแอนิ เมชั่นเพื่ อจับ กลุ่ม คนดูที่ เป็ นผู้ใหญ่ ด้วย อย่างเช่น The
Simpsons ,South Park และมีการยอมรับแอนิเมชันจากประเทศอื่นๆมากขึ ้นอีกด้ วย
่
2.5.2 แอนิเมชั่นญี่ปุ่น

ตัวอย่างภาพจากเรื่ องนางพญางูขาว (Hakujaden) ที่มา http://www.animateddivots.net/images/hakujaden.jpg
การพัฒ นาอนิเ มชั่น ที่ ญี่ปน มี ประวัติศาสตร์ มายาวนาน สันนิษฐานว่า น่าจะ
ุ่
เริ่มต้ นประมาณปี 1900 บนฟิ ลม์ขนาด35มม. เป็ นอนิเมชันสันๆเกี่ยวกับทหารเรื อหนุ่มกาลังแสดง
่ ้
ความเคารพ และใช้ ทงหมด 50 เฟรมเลย ส่วน เจ้ าหญิงหิมะขาว ก็เป็ นอนิเมชันเรื่ องแรกของทาง
ั้
่
ญี่ปน ก็สร้ างในปี 1917
ุ่
จนมาถึงปี 1958 อนิเมชันเรื่ อง นางพญางูขาว(Hakujaden) ก็เป็ นอนิเมชันเรื่ องแรก
่
่
ที่เข้ าฉายในโรง และจากจุดนันเอง อนิเมชันญี่ปนก็มีพฒนาการอย่างต่อเนื่อง โดยเริ่มจาก
้
่ ุ่
ั
-ปี 1962 Manga Calender เป็ นอนิเมชันทางทีวีเรื่ องแรกของญี่ปน
่
ุ่
-ปี 1963 เจ้ าหนูปรมาณู( Astro Boy) ก็เป็ นอนิเมชันเรื่ องแรกที่ดดแปลงมา
่
ั
จากมังงะ(หนังสือการ์ ตน)โดยตรง แถมเป็ นอนิเมชันสีเรื่ องแรก และเป็ นเรื่ องแรกที่ออกไปฉายใน
ู
่
อเมริกา
-ปี 1966 แม่มดน้ อยแซลลี่( Mahoutsukai Sally)ก็เป็ นการ์ ตูนอนิเมชั่นสาหรับ
เด็กผู้หญิงเรื่ องแรกด้ วย
-ปี 1967 Ribon no Kishi ก็เป็ นอนิเมชัน เรื่ องแรกที่ดดแปลงมาจากการ์ ตน
่
ั
ู
ผู้หญิง (แถมต้ นฉบับก็เป็ นหนังสือการ์ ตนเด็กผู้หญิงเรื่ องแรกของญี่ปนด้ วย)
ู
ุ่
-1001 Night ก็จดว่าเป็ นการ์ ตนเรื่ องแรกที่เจาะกลุมคนดูเป็ นผู้ใหญ่ ในปี 1969
ั
ู
่
-ปี 1972 Mazinga ก็เป็ นจุดกาเนิดของการ์ ตนแนวSuper Robot
ู
-ปี 1975 Uchuu Senkan Yamato ก็เปิ ดศักราชหนังการ์ ตนยุคอวกาศ จนมาถึง
ู
Mobile Suit Gundam ในปี เดียวกัน
-ปี 1981 ถื อกาเนิด ไอด้ อลครั งแรกในวงการการ์ ตูน นั่นก็ คือ ลามู จาก Urusei
้
Yatsura

- อากิระ ในปี 1988 สร้ างปรากฏการณ์ให้ กบวงการอนิเมชันทัวโลก
ั
่ ่
-จนในปี 1995 ญี่ ปุ่นกับอเมริ กาก็ร่วมมือกันสร้ าง Ghost

in the Shell

ขึ ้น และมี

อิทธิพลต่อการสร้ างหนัง The Matrix ด้ วย
-ในปี 1997 ฮายาโอะ มิยาซากิ ก็ นา Princess Mononoke ก้ าวไปสู่ระดับ
อินเตอร์ จนปี 2003 ก็คว้ ารางวัลออสการ์ ครังที่75 สาขาอนิเมชันยอดเยี่ยม จากเรื่ อง Spirited
้
่
รวมไปถึง Dragonball ของ อากิระ โทริยามะ ก็สร้ างความนิยมไปทัวโลกอีกด้ วย
่

Away
2.5.3 แอนิเมชั่นไทย

แอนิเมชันประกอบโฆษณา “หนูหล่อของยาหม่องบริ บรณ์ ” ที่มา
่
ู
http://i1.ytimg.com/vi/BaEKQeNqVvM/hqdefault.jpg
แอนิเมชันในประเทศไทย เริ่ มต้ นเมื่อ 60 ปี ที่แล้ ว ตัวการ์ ตนอนิเมชันจะพบได้ ใน
่
ู
่
โฆษณาทีวี เช่น หนูหล่อของยาหม่องบริ บรณ์ปาล์ม ของ อ.สรรพสิริ วิริยสิริ ซึ่งเป็ นผู้ สร้ างอนิเมชัน
ู
่
คนแรกของไทย และยังมีหมีน้อย จากนมตราหมี แม่มดกับสโนว์ไวท์ของแปงน ้าควินน่าอีกด้ วย
้
อ.เสน่ห์ คล้ ายเคลื่อน ก็มีความคิดที่จะสร้ างอนิเมชันเรื่ องแรกในไทย แต่ก็ต้อง
่
ล้ มไปเพราะกฎหมายควบคุมสื่อในสมัยนัน และ10ปี ต่อมา ปี พ.ศ. 2498 อ.ปยุต เงากระจ่าง ก็ทา
้
สาเร็ จ จนได้ จ ากเรื่ อ ง เหตุม หัศ จรรย์ ที่ ใ ช้ ป ระกอบภาพยนตร์ ทุร บุรุ ษ ทุย ของ ส.อาสนจิ น ดา
หลังจากนันก็มีโครงการอนิเมชั่น หนุมาน การ์ ตูนต่อต้ านคอมมิวนิสต์ ที่ได้ รับการสนับสนุนจาก
้
อเมริ กาแต่ก็ล้มเหลว เพราะเหมือนจะไปเสียดสี จอมพล สฤษดิ์ ธนรัตน์ ผู้นาในสมัยนันซึ่งเกิดปี
้
วอก
ปี พ.ศ. 2522 สุดสาครของ อ.ปยุต เงากระจ่าง ก็เป็ นภาพยนตร์ การ์ ตนเรื่ อง
ู
ยาวเรื่ องแรกของบ้ านเรา และก็ประสบความสาเร็ จมากพอสมควรในยุคนัน ปี พ.ศ.2526 ก็มีอนิ
้
เมชั่นทางทีวีเรื่ องแรกที่เป็ นฝี มือคนไทยนันก็คือ ผีเสือแสนรัก ต่อจากนันก็มี เด็กชายคาแพง หนู
่
้
น้ อยเนรมิต เทพธิดาตะวัน จ่ากับโจ้ เนื่องจากการทาอนิเมชันนันต้ องใช้ ต้นทุนค่อนข้ างสูง ก็เลยทา
่ ้
ให้ อนิเมชันในเมืองไทยนันต้ องปิ ดตัวลง
่
้
ประมาณปี 2542 อนิเมชันของคนไทยที่ทาท่าว่าจะตายไปแล้ ว ก็กลับมาฟื นคืน
่
้
ชีพขึ ้นมาอีกครัง จากความพยายามของบ.บรอสคาสต์ไทย เทเลวิชั่น ก็ได้ นาการ์ ตนที่ดดแปลงจาก
้
ู ั
วรรณคดีฝีมือคนไทย ทัง ปลาบูทอง สังข์ทอง เงาะป่ า และโลกนิทาน และได้ รับการตอบรับอย่างดี
้
่
จนในปี พ.ศ. 2545 น่าจะเรี ยกว่าเป็ นปี ทองของอนิเมชัน3มิตของคนไทยเลย โดยเฉพาะ ปั งปอนด์ ดิ
่
ิ
อนิเมชัน และ สุดสาคร ซึ่งทัง2เรื่ องก็สร้ างปรากฏการณ์ในแง่ของการขายคาแร็ คเตอร์ ใช้ ประกอบ
่
้
สินค้ า และ เพลงประกอบ จ้ ามะจ๊ ะ ทิงจา ก็ฮิตติดหูด้วย รวมไปถึง การที่มีบริ ษัทรับจ้ างทาอนิเมชัน
่
ของญี่ปนและอเมริกาหลายๆเรื่ องอีกด้ วย และเราก็กาลังจะมี ก้ านกล้ วย อนิเมชันของบ.กันตนา ที่
ุ่
่
กาลังจะเข้ าฉายไปทัวโลก ซึ่งเราก็ หวังว่า อนิเมชันฝี มือคนไทย คงที่จะมีหลายเรื่ อง หลากหลาย
่
่
แนวมากขึ ้น ไม่แพ้ อนิเมชันของฝั่ งญี่ปนและตะวันตกเลยทีเดียว
่
ุ่
2.6 เทคนิคการสร้ างการ์ ตูนแอนิเมชั่น
การสร้ างการ์ ตูน แอนิ เ มชั่น ในยุค ปั จ จุ บัน แม้ ว่ า จะซับ ซ้ อ นจนคนทั่ว ไปไม่ เ ข้ า ใจ
กระบวนการผลิต แต่ความยากในการผลิตน้ อยกว่าในสมัยก่อน เพราะไม่ต้องซื ้อแผ่นใสเยอะแยะ
สามารถเริ่ มต้ นงานด้ วยคอมพิวเตอร์ และจบด้ วยคอมพิวเตอร์ ในปั จจุบน ซอฟต์แวร์ ผลิตการ์ ตน
ั
ู
ก้ าวหน้ ามากกว่า ในอดี ต ทัง ซอฟต์แวร์ ในการผลิต การ์ ตูนสองมิ ติ และการ์ ตูน 3 มิ ติ รวมถึ ง
้
ฮาร์ ดแวร์ ที่ก้าวหน้ าไปหลายขุม ทาให้ การทางานรวดเร็วมากขึ ้น และทันใจผู้ผลิตเป็ นอย่างยิ่ง
ซึงเทคนิคการสร้ างการ์ ตนแอนิเมชันในปั จจุบน มีดงนี ้
่
ู
่
ั
ั
2.6.1 เทคนิค Drawn Animation

ที่มา http://nopybot.com/wp-content/uploads/2009/11/asc2-03.jpg
คือเทคนิคการ์ ตนแอนิเมชันที่สร้ างจากการเขียบนภาพหลายๆแผ่น และรวบรวม
ู
่
เป็ นแผ่นฟิ ล์มและเคลื่อนไหวเร็ วๆ (ในอดีต) หากเป็ นปั จจุบน ภาพเคลื่อนไหวเหล่านี ้จะเป็ นไฟล์
ั
ดิจิตอล และเอาเข้ าในโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ เทคนิคนี ค่อนข้ างเป็ นที่นิยมมากในประเทศญี่ ปุ่น
้
เพราะมีเสน่ห์มากกว่าเทคนิค 3 มิติ เนื่องจากการเคลื่อนไหว ความน่ารักของตัวละคร อารมณ์ทาได้
ดีกว่า ข้ อเสียของเทคนิคนี ้คือ กระบวนการผลิตค่อนข้ างนาน และผู้ที่เขียนภาพแต่ละเฟรมต้ องใช้
ความอดทนสูงมาก โดยเฉพาะทีมงานเขียนฉากหลังที่ต้องใช้ ความวิจิตรสูงมากในการวาดฉาก
หลัง
2.6.2 เทคนิค 3D Animation

ที่มา http://www.deshow.net/d/file/cartoon/2009-03/games-fun-cartoon-illustrations-2-4394.jpg
คือเทคนิคการ์ ตนแอนิเมชันที่สร้ างในซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์ สามมิติ ในปั จจุบน
ู
่
ั
ซอฟต์แวร์ การ์ ตนสามมิติออกแบบเพื่ อให้ ใช้ งานได้ ดีกว่าในอดีต และทัศนียภาพที่สร้ างออกมาจะ
ู
เหมือนจริ ง แต่ยงคงทิ ้งเอกลักษณ์การ์ ตนสามมิติเอาไว้ การ์ ตนสามมิติ นิยมมากในวงการการ์ ตน
ั
ู
ู
ู
ฝรั่ง เพราะด้ วยการออกแบบคาแรคเตอร์ ที่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัว และประยุกต์ใช้ ในโปรแกรม
3D ได้ อย่างลงตัว กระบวนการการสร้ างงานในซอฟต์แวร์ สามมิติมีความง่ายกว่าเทคนิค Drawn
Animation เนื่องจากไม่ต้องวาดทีละเฟรมให้ เคลื่อนไหวเหมือน Drawn Animation แต่ใช้ การขยับ
โมเดลในซอฟต์แวร์ สามมิตทีละเฟรมเรื่ อยๆ และในปั จจุบน เทคโนโลยีการเคลื่อนไหวตัวการ์ ตนทา
ิ
ั
ู
ได้ เหมือนจริงมากยิ่งขึ ้น ทาให้ เทคนิคนี ้นิยมมากกกว่าเดิม
2.6.3 เทคนิค Cel-Shaded Animation

ที่มา http://xbox360media.ign.com/xbox360/image/article/890/890172/e3-2008-prince-ofpersia-4-screens-20080715053150813_640w.jpg

คือเทคนิคการ์ ตูนแอนิเมชั่นที่ สร้ างในซอฟต์แวร์ คอมพิ วเตอร์ 3 มิ ติ แต่การ
แสดงผลออกมาเสมือนแนว Drawn Animation หมายความว่า ตัวละครการ์ ตนที่เห็นออกแนวสอง
ู
มิติ แท้ จริ งแล้ วมี โครงสร้ างเป็ นสามมิติ เทคนิคนี ้ ไม่ ค่อยเป็ นที่นิยมมากนักสาหรับการทาการ์ ตน
ู
แอนิเมชัน เนื่องจากขาดกลิ่นอายการ์ ตนพอสมควร และความรู้สึกในการดู มันไม่ใช่การ์ ตนอย่างที่
่
ู
ู
หลายๆคนคิด แต่เ ทคนิค Cel-Shaded

Animation

เป็ นที่ นิ ย มมากในการสร้ างเกมที่ เ อา
คาแรคเตอร์ จากการ์ ตนจริ งๆมาทาเป็ นเกม เพราะเกมที่ทา เป็ นสามมิติ และตัว Cel-Shaded ก็มี
ู
โครงสร้ างแบบสามมิติ แต่ภาพออกมาเสมือนสองมิตคล้ ายคลึงกับการ์ ตนแบบ Drawn Animation
ิ
ู
2.6.4 เทคนิคผสม

ที่มา http://animekd.files.wordpress.com/2013/11/04.jpg
คือเทคนิคที่เอา Drawn Animation เป็ นตัวหลัก และฉากหลังอาจทาด้ วยสามมิติ
หรื อใส่ Cel-Shaded ลงไป เทคนิคนี ้ในประเทศญี่ปนฮิตมาก เพราะช่วยทาให้ การสร้ างฉาก และ
ุ่
มุมกล้ องบางมุมทาได้ สวย และดูแล้ วต่อเนื่อง ในปั จจุบน การ์ ตนแอนิเมชันจากญี่ปนต่างใช้ เทคนิค
ั
ู
่
ุ่
นี ้มากขึ ้น เช่นเรื่ อง

巨人の猎手 (Shingeki

no kyojin : Attack on Titan) Conan The Movie,

ZOIDS
2.7 ช่ องทางในการเผยแพร่ ส่ ือการ์ ตูนแอนิเมชั่น
ช่องทางการเผยแพร่สื่อการ์ ตนแอนิเมชันมีหลากหลาย ซึงมีดงนี ้
ู
่
่ ั
2.7.1 ช่ องทางฟรีทีวี
คื อ ช่ อ งทางที่ เ ผยแพร่ การ์ ตู น แอนิ เ มชั่ น ที่ ดี ที่ สุ ด โดยเฉพาะการ์ ตู น ที่ มี
กลุ่มเปาหมายเป็ นเด็ก เพราะเด็กๆมักเลือกดูโทรทัศน์อยู่แล้ ว และเมื่อการ์ ตนเรื่ องนันฉายจนมีเร
้
ู
้
ตติ ้งที่ดี ทาให้ ขนมที่แถมของแถม หรื อของเล่นที่ได้ ลิขสิทธิ์จากการ์ ตนที่เรตติ ้งดีนนขายดีเป็ นเทน ้า
ู
ั้
เทท่า และกลายเป็ นประเด็นคุยกับเพื่อนๆคนอื่นในโรงเรี ยน แต่กว่าที่การ์ ตนเรื่ องนันจะฉาย ต้ อง
ู
้
ผ่านกองเซ็นเซอร์ คอยแก้ ไขภาพและเนื ้อหาที่ไม่เหมาะสมก่อนจะนามาฉาย เพื่อให้ ผ้ ดู ซึ่งเป็ นเด็กๆ
ู
ปลอดภัยจากสื่อ การ์ ตูนทางช่องฟรี ทีวีมักฉายเป็ นตอนๆ อาจจะสองครัง /สัปดาห์ หรื อครังละ
้
้
สัปดาห์ ครังละไม่เกิน 30 นาที
้
2.7.2 ช่ องทางโรงภาพยนตร์
การ์ ตนแอนิเมชันที่ฉายทางโรงภาพยนตร์ นน จะมีอยู่ 2 ประเภท คือ การ์ ตนที่ทา
ู
่
ั้
ู
ออกมาเป็ นภาพยนตร์ โดยเฉพาะ หรื อการ์ ตนแอนิเมชันที่ทาเนื ้อเรื่ องแยกออกมาจากตอนหลักที่
ู
่
ฉายในช่องทางฟรี ทีวีอีกที การ์ ตูนที่ทาออกมาเป็ นภาพยนตร์ โดยเฉพาะ หากเป็ นการ์ ตนฝรั่ง ใน
ู
ปั จจุบน มักทาในรู ปแบบ 3 มิติ เพราะด้ วยมุมกล้ องที่สามารถทาออกมาเหมือนภาพยนตร์ ฟอร์ ม
ั
ยักษ์ หลายๆเรื่ องได้ ส่วนการเซ็นเซอร์ ของการ์ ตนแอนิเมชันที่ฉายทางภาพยนตร์ นน ทางกระทรวง
ู
่
ั้
วัฒ นธรรมจะเป็ นผู้ต รวจสอบและเซ็ น เซอร์ เอง ซึ่ง มี ความยุติธ รรมและมี หลักการและเหตุผ ล
เหนือกว่าการเซ็นเซอร์ ของสถานีโทรทัศน์ฟรี ทีวีที่เซ็นเซอร์ กนเอง หากเป็ นการ์ ตูนแอนิเมชันที่ทาเนื ้อ
ั
่
เรื่ องแยกออกมาจากตอนหลักอีกที การ์ ตนจากฟรี ทีวีเรื่ องนันต้ องเป็ นเรื่ องที่นิยมพอสมควร และ
ู
้
การ์ ตนเรื่ องนันมักจะจบในเนื ้อเรื่ องที่ฉายในภาพยนตร์ หากมีเนื ้อเรื่ องต่อ จะไม่พดเด่นชัดว่าโปรด
ู
้
ู
ติดตามตอนต่อไป แต่ให้ ตดตามกันเองในการ์ ตนในฟรี ทีวี
ิ
ู
2.7.3 ทางสื่อบันทึกข้ อมูล เช่ น วีดีโอ ดีวีดี บลูเรย์ ดิสก์ หรื อไฟล์ ภาพยนตร์
ดิจิตอล
หากการ์ ตูน แอนิ เมชั่น เรื่ อ งนัน ผลิต ออกมาเพื่ อ บันทึก ลงวี ดีโ อ ดี วีดี วี ซี ดี หรื อ
้
แผ่นบลูเรย์โดยเฉพาะ โดยไม่ออกอากาศในฟรี ทีวี หรื อฉายในโรงภาพยนตร์ จะเรี ยกการ์ ตนแอนิ
ู
เมชันประเภทนี ้ว่า “OVA” ซึ่งย่อมาจาก “Original Video Animation” เหตุผลที่ถือกาเนิด OVA
่
ขึ ้นมาเพื่อกระตุ้นอุตสาหกรรมสื่อบันทึกข้ อมูลให้ มีการค้ าที่ดียิ่งขึ ้น หากเทียบกับในประเทศไทย
OVA จะคล้ ายๆ “หนังแผ่น”
การ์ ตน OVA หลายๆเรื่ องส่วนใหญ่มาจากการ์ ตนที่มาจากฟรี ทีวี และการนาเสนอ
ู
ู
มักจะนาเสนอตอนพิเศษที่ไม่ได้ ฉายทางฟรี ทีวีหรื อโรงภาพยนตร์ หลักการของ OVA คล้ ายๆกับ
การ์ ตูนที่เอาตอนพิเศษไปฉายในโรงภาพยนตร์ แต่ OVA กลับบันทึกข้ อมูลในสื่อบันทึ กข้ อมูล
เท่านัน
้
2.7.4 ทางอินเตอร์ เน็ต
ในปั จจุบน สื่อดิจิตอลก้ าวหน้ าไปมากกว่าในอดีต เพราะความเร็ วอินเตอร์ เน็ตสูง
ั
มากกว่าในอดี ต บางที การดูการ์ ตูน แอนิ เมชั่ นไม่ไ ด้ จ ากัดว่าต้ อ งดูใ นโทรทัศ น์ เสมอไป เพราะ
สามารถดูได้ ใน Youtube หรื อ Dailymotion แต่ส่วนใหญ่ การ์ ตนแอนิเมชันที่ฉายในอินเตอร์ เน็ต
ู
่
มักจะฉายแบบขโมยจากไฟล์ต้นฉบับและจะมีทีมงานที่ไม่เป็ นทางการคอยใส่คาบรรยายไทยให้ ซึ่ง
ไม่เป็ นธรรมกับผู้ผลิตการ์ ตนแอนิเมชัน เพราะคนที่ดการ์ ตนที่แอบขโมยจะได้ ดฟรี แต่ผ้ ผลิตไม่ได้
ู
่
ู
ู
ู
ู
รายได้ กลับคืนมา แต่ไม่มีใครสามารถเอาผิดได้ ถ้ าในประเทศนันๆ ยังไม่มีหน่วยงานได้ รับลิขสิทธิ์
้
ในการ์ ตนเรื่ องนันๆ
ู
้
2.8 ความหมายของมิวสิควีดีโอ
มิวสิควีดีโอ (Music Video) คือ เป็ นการถ่ายทอดบทเพลงแบบมีภาพประกอบ โดยยุค
แรกๆ มิ วสิ ควิ ดีโ อ น ามาใช้ ใ นการเผยแพร่ เ พลงทางโทรทัศ น์ ซึ่ง มัก เป็ นรู ป แบบการถ่า ยภาพ
วงดนดรี หรื อนักร้ องที่ร้องเพลง ต่อมามีนาภาพมาประกอบเพลง และพัฒนามาเป็ นการการนา
เนื ้อหาของบทเพลงมาสร้ างเป็ นเรื่ องราว เป็ นละครประกอบเพลง พอมาถึงยุคที่คาราโอเกะเป็ นที่
นิ ย ม มิ ว สิ ค วิ ดี โ อ ก็ น ามาซ้ อนกั บ เนื อ เพลง ท าเป็ น วิ ดี โ อคาราโอเกะ และผลิ ต เป็ นสื่ อ
้
วีซีดีคาราโอเกะ
ปั จจุบน มีการให้ รางวัลศิลปิ น จากการประกวดมิวสิ ควิดีโออีกด้ วย เช่น งานเอ็มที วี
ั
วิดีโอ มิวสิค อวอร์ ดส
2.9 แนวการนาเสนอของมิวสิควีดีโอ
มิวสิกวิดีโอถูกนาเสนอในหลายแนว เช่นภาพการแสดงสด, ละครเพลง ซึ่งแสดงเนื ้อหา
ของบทเพลง, การร้ องและเต้ นประกอบเพลง ในรูปแบบต่างๆ, การใช่วิวทิวทัศน์ มาประกอบซึ่งไม่
เกี่ยวกับบทเพลง, การใช้ ผ้ หญิ งนุ่งน้ อยห่มน้ อยเดิ นผ่านหน้ ากล้ อง ส่วนใหญ่จะเป็ นมิวสิกวิดีโอ
ู
เพลงต่างประเทศที่คนไทยนามารวมลงซีดี แต่ทนต่าและติดปั ญหาลิขสิทธิ์ จึงใช้ ภาพเหล่านี ้แทน
ุ
นอกจากนี ้ ในปั จจุบน เนื่องจากเทคโนโลยีในการผลิตสื่อค่อนข้ างก้ าวหน้ ามาก บางเพลงมีเนื ้อหา
ั
ออกแนวนามธรรมจึ ง ผลิ ต มิ ว สิ ค วี ดี โ อออกแนวนามธรรม โดยการไม่ พู ด ถึ ง ศิ ล ปิ น แต่ ใ ช้
องค์ประกอบทางศิลปะดาเนินเรื่ องแทน และการนาเสนออีกประเภทที่ฮิตมากในประเทศญี่ปนคือ
ุ่
ใช้ เทคนิคการ์ ตนแอนิเมชันในการนาเสนอ ทังรูปแบบอนิเมะ หรื อการ์ ตนสามมิติ
ู
่
้
ู

Contenu connexe

Tendances

พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย Kun Cool Look Natt
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกWatcharapol Wiboolyasarin
 
ขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผนขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผนF'Film Fondlyriz
 
Point นวนิยาย
Point นวนิยายPoint นวนิยาย
Point นวนิยายJiraprapa Noinoo
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้Nongkran_Jarurnphong
 
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่นศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่นTin Savastham
 
นาฏศิลป์นานาชาติญี่ปุ่น
นาฏศิลป์นานาชาติญี่ปุ่นนาฏศิลป์นานาชาติญี่ปุ่น
นาฏศิลป์นานาชาติญี่ปุ่นJEll Worachat
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์Rodchana Pattha
 

Tendances (19)

พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
32 5-8
32 5-832 5-8
32 5-8
 
ซุปเปอร์แมนพระธุดงค์เล่ม1บทนำ
ซุปเปอร์แมนพระธุดงค์เล่ม1บทนำซุปเปอร์แมนพระธุดงค์เล่ม1บทนำ
ซุปเปอร์แมนพระธุดงค์เล่ม1บทนำ
 
ขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผนขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผน
 
Point นวนิยาย
Point นวนิยายPoint นวนิยาย
Point นวนิยาย
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
pretest - postest
pretest - postestpretest - postest
pretest - postest
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
 
Thai1
Thai1Thai1
Thai1
 
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่นศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
 
นาฏศิลป์นานาชาติญี่ปุ่น
นาฏศิลป์นานาชาติญี่ปุ่นนาฏศิลป์นานาชาติญี่ปุ่น
นาฏศิลป์นานาชาติญี่ปุ่น
 
Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 

บทที่ 2

  • 1. บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง เอกสารที่เกี่ยวข้ อง 2.1 ความหมายของการ์ ตูน การ์ ตน (Cartoon)คือทัศนศิลปสองมิติรูปแบบหนึ่ง ซึ่งความหมายที่เฉพาะเจาะจงแปร ู ์ เปลี่ยนไปตามเวลา ความหมายในสมัยใหม่โดยทัวไปหมายถึง การวาดเส้ นหรื อจิตรกรรมแบบกึ่ง ่ สัจนิยมหรื ออสัจนิยม (กึ่งเหมือนจริ งหรื อไม่เหมือนจริ ง) เพื่อการเสียดสี การล้ อเลียน ความขบขัน หรื อ การแสดงออกซึ่ ง กระบวนแบบเชิ ง ศิ ล ปะ ศิ ล ปิ นผู้ว าดการ์ ตูน เรี ย กว่ า นัก เขี ย นการ์ ตูน (cartoonist) คาว่าการ์ ตูน จริ ง ๆมาจากคาว่า Carton (อ่านว่า แก -ตุง ) ในภาษาฝรั่ ง เศส แปลว่า “กระดาษแข็ง” ซึ่งภาพวาดการ์ ตนในยุคแรกๆ มักวาดในกระดาษแข็ง จึงทาให้ เกิดคาใหม่ขึ ้นมา ู และเรี ยกเพี ้ยนไปจากคาว่า “Carton” เป็ นคาว่า “Cartoon” (การ์ ตน) จนถึงทุกวันนี ้ ู ในยุคอดีต การ์ ตนหมายถึงภาพร่ างหรื อภาพวาดที่ใช้ การเรี ยนการศึกษาแทนการใช้ ู ภาพจริ ง ในปั จ จุบัน การ์ ตูนมักจะหมายถึ ง แอนิเ มชัน (Animation) ซึ่ง เป็ นเทคนิ คในการสร้ าง การ์ ตูนในยุคปั จจุบน ที่มีการฉายทางโทรทัศน์ หรื อภาพยนตร์ ในความหมายอื่น การ์ ตนใช้ แทน ั ู รายการสาหรับเด็กที่มีการใช้ สตว์หรื อสิ่งมีชีวิตอย่างอื่นเคลื่อนไหวในลักษณะเหมือนมนุษย์ ั การ์ ตูน ปั จ จุบัน จะพบได้ จ ากหนัง สื อ , หนัง สื อ พิม พ์ (ซึ่ง มัก เป็ นเรื่ อ งเกี่ ย วกับ ข่า ว การเมือง บันเทิง), โปสเตอร์ , ภาพยนตร์ เป็ นต้ น 2.2 ประเภทของการ์ ตูน
  • 2. ในปั จจุ บั น การ์ ตู น คื อ สื่ อ ที่ อิ ท ธิ พ ลมาก ปรากฏได้ ตามสื่ อ ในหลายๆที่ และ กลุ่มเปาหมายเริ่ มกว้ างมากขึ ้น จากที่สมัยก่อน การ์ ตนมีกลุ่มเปาหมายเฉพาะเด็กๆเท่านัน แต่ใน ้ ู ้ ้ ปั จจุบน การ์ ตนมีกลุมเปาหมายที่กว้ างมากขึ ้น เช่น วัยรุ่น ผู้ใหญ่ วัยชรา หรื อแม้ แต่กลุ่มเปาหมาย ั ู ่ ้ ้ เป็ นเพศ เช่นเพศชาย เพศหญิง รวมถึงเพศที่สาม การแบ่งประเภทของการ์ ตนนัน จะแบ่งเป็ น 2 หมวดใหญ่ๆคือ หมวดแบ่งตามประเภท ู ้ ของขันตอนการผลิต และหมวดแบ่งตามประเภทของเนื ้อหา ้ 2.2.1 ประเภทของการ์ ตูน (แบ่ งตามขันตอนการผลิต) ้ ตัวอย่างภาพการ์ ตนช่อง ที่มา http://www.bloggang.com/data/ ู plaze/picture/1170839321.gif 2.2.1.1 การ์ ตูนช่ อง คือการ์ ตนที่เขียนเป็ นช่องๆ บอกลาดับเหตุการณ์ คล้ ายๆ ู Storyboard แต่การ์ ตนช่องสื่ออารมณ์ของเนื ้อหา ตัวละคร ฉาก และอารมณ์ได้ ดีกว่า Storyboard ู การ์ ตนช่องจะตีพิมพ์ตามสื่อนิตยสารต่างๆ หากตอนของการ์ ตนเรื่ องนันสะสมครบ 10 ตอน (หรื อ ู ู ้ ตามที่ทางบรรณาธิการสานักพิมพ์ต้องการ) จะรวบรวมแต่ละตอนเป็ นหนังสือการ์ ตนรวมเล่ม ใน ู ภาษาอังกฤษ จะเรี ยกการ์ ตูนประเภทนีว่า Comics หากในญี่ ปน จะเรี ยกว่า “มังงะ” (漫画 ้ ุ่
  • 3. manga) คาว่ามังงะ ในภาษาญี่ปน แปลตรงตัวว่า “ภาพตามอารมณ์ ” ถูกใช้ อย่างกว้ างขวางเป็ น ุ่ ครั งแรกหลังจากจิตรกรอุคิโยเอะชื่อโฮคุไซตีพิมพ์ หนัง สือชื่อโฮคุไซมังงะในคริ สต์ศตวรรษที่ 19 ้ อย่างไรก็ดีนกประวัติศาสตร์ บางกลุ่มเห็นว่ามังงะอาจมีประวัติยาวนานกว่านัน โดยมีหลักฐานคือ ั ้ ภาพจิกะ (แปลตรงตัวว่า "ภาพตลก") ซึ่งเป็ นที่นิยมในศตวรรษที่ 12 มีลักษณะหลายประการ คล้ ายคลึงกับมังงะในปั จจุบน อาทิ การเน้ นเนื ้อเรื่ อง และการใช้ เส้ นที่เรี ยบง่ายแต่สละสลวย เป็ น ั ต้ น การ์ ตนช่องส่วนใหญ่นิยมทาเป็ นภาพขาวดา เพราะถ้ าทาเป็ นภาพสี เวลาในการผลิตงานจะ ู นานมากกว่าเดิม และส่งผลให้ ทางนักเขียนการ์ ตน ส่งต้ นฉบับไปยังโรงพิม พ์ไม่ทน เว้ นแต่ว่าเขียน ู ั เพื่อเฉลิมฉลองในบางสถานการณ์ เช่น ครบรอบ 10 ปี สาหรับการ์ ตนเรื่ อง….. เป็ นต้ น ู ตัวอย่างภาพประกอบการ์ ตน ที่มา http://www.hereisfree.com/content1//imguploads/ ู Image/cjbc/zcool/20080523/1211543199.jpg 2.2.1.2 ภาพประกอบการ์ ตูน คือภาพวาดการ์ ตูนที่ มีหน้ าที่เล่าเรื่ องจากเนื อ ้ เรื่ องที่กาหนดให้ มักปรากฏในหนังสือนิทานภาพ และนวนิยายต่างๆ ที่มีกลุ่มเปาหมายเป็ นเด็กถึง ้ วัยรุ่น โดยคุณภาพงานของการ์ ตนประเภทนี ้ค่อนข้ างวิจิตร งดงามมากกว่าการ์ ตนช่อง เพราะเนื ้อ ู ู เรื่ องในการดาเนินจะใช้ ตวหนังสือในการดาเนินเรื่ องเป็ นหลัก ั
  • 4. ตัวอย่างภาพการ์ ตน Animation ที่มา http://www.zerochan.net/808641#full ู 2.2.1.3 การ์ ตูนแอนิเมชั่น (Animation) หรื อในภาษาญี่ ปนเรี ยกว่า “อนิเมะ” ( ุ่ アニメ) คือการ์ ตนที่ตวละคร ฉากเคลื่อนไหวมีชีวิตชีวาเหมือนกับภาพยนตร์ ละครที่ฉายกันทัวไป ู ั ่ รายละเอียดจะอธิบายเพิ่มเติมในหัวข้ อที่ 2.4 “ความหมายของการ์ ตนแอนิเมชัน” ู ่ 2.2.2 ประเภทของการ์ ตูน (แบ่ งตามประเภทของเนือหา) ้ ตัวอย่างการ์ ตนแนวล้ อการเมือง ของชัย ราชวัตร ที่มา ู http://www.thairath.co.th/media/comic/6/ch23/15.jpg 2.2.2.1 การ์ ตูนล้ อการเมือง (Editoral Cartoon) การ์ ตนล้ อการเมือง (อังกฤษ: ู Political Cartoon) หรื อ การ์ ตนบรรณาธิการ (อังกฤษ: Editorial Cartoon) คือ ภาพการ์ ตนที่วาด ู ู และตี พิ ม พ์ ล งสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ต่ า ง ๆ เช่ น หนัง สื อ พิ ม พ์ , นิ ต ยสาร โดยมี เ นื อ หาล้ อ เลี ย นหรื อ ้ วิพากษ์ วิจารณ์สภาพสังคม , เศรษฐกิจและการเมือง จุดประสงค์ เพื่อความสนุกสนานและความ ขบขัน ในบางครังอาจสอดแทรกถึงวิธีการแก้ ปัญหานัน ๆ จะมีคาบรรยายหรื อไม่มีก็ได้ โดยนักวาด ้ ้
  • 5. การ์ ตนล้ อการเมืองนัน ถือว่า เป็ นคอลัมนิสต์หรื อบรรณาธิการคนหนึ่งของหนังสือพิมพ์ฉบับนัน ๆ ู ้ ้ เรี ยกว่า การ์ ตนนิสต์ (Cartoonist) ู ตัวอย่างการ์ ตนสาหรับผู้หญิง “เซเลอร์ มน” ที่มา http://cartoon.mthai.com/wordpress/wpู ู content/uploads/2012/03/Untitleppppppppppd-1-copy.jpg 2.2.2.2 การ์ ตู นส าหรั บ ผู้ ห ญิ ง คื อ การ์ ตูน ที่ ว าด หรื อผลิต ออกมาเพื่ อ ผู้ห ญิ ง โดยเฉพาะ ผู้ช ายสามารถอ่านได้ แต่อ่านแล้ วอาจจะไม่สนุก หรื อไม่เข้ าใจ เนื่องจากเนื อเรื่ อง ้ ลายเส้ น ตัวละคร และอารมณ์ที่การ์ ตนผู้หญิงสื่อออกมาค่อนข้ างหวานแหววมาก หรื อบางครังเกิน ู ้ จริ ง เอกลักษณ์ของการ์ ตนผู้หญิงคือ ลายเส้ นของตัวละครผู้หญิงจะบาง และแววตาจะใสปิ๊ งมาก ู กว่าการ์ ตูนแนวอื่นๆ พบได้ ในการ์ ตนที่มาจากประเทศญี่ ปน เช่นเรื่ อง “Candy Candy” หรื อ ู ุ่ “Sailor Moon” การ์ ตนแนวนี ้มักจบในตอน (ถ้ าในเรื่ องนันเน้ นแนวความรัก หรื อวีถีชีวิต) หรื อแต่ละ ู ้ ตอนต่อเนื่องจนจบบริบรณ์ (ถ้ าการ์ ตนแนวนันเป็ นแนวต่อสู้ หรื อผจญภัย) ู ู ้ 2.2.2.3 การ์ ตูนแนวผจญภัย เป็ นแนวการ์ ตนที่ฮิตที่สดในปั จจุบน เพราะเนื ้อหา ู ุ ั ค่อนข้ างโดนทุกเพศทุกวัย เนื ้อเรื่ องของการ์ ตนแนวผจญภัยมักเริ่ มจากตัวเอกซึ่งอ่อนประสบการณ์ ู แต่มีความฝั นอันยิ่งใหญ่ เช่นอยากเป็ นเจ้ าแห่งโจรสลัด (จากเรื่ อง One Piece) หรื ออยากเป็ นโฮคา เงะ (ตาแหน่งนินจาที่ สูงที่ สุด จากเรื่ อง Naruto) การ์ ตูนแนวนี มักไม่จ บในตอน แต่ละตอนจะ ้ ต่อเนื่องเรื่ อยๆจนจบบริบรณ์ มักพบเห็นในการ์ ตนจากประเทศญี่ปน ู ู ุ่
  • 6. ตัวอย่างการ์ ตนแนวผจญภัย เรื่ อง Jojo ล่าข้ ามศตรวรรษ ที่มา ู http://board.postjung.com/data/607/607088-topic-ix-0.jpg 2.2.2.4 การ์ ตู นแนวซุ ป เปอร์ ฮี โ ร่ เป็ นแนวการ์ ตูนที่ ฮิ ต มากในประเทศแถบ ตะวันตก อย่างสหรัฐอเมริ กา หากในสหรัฐอเมริ กา ตัวคาแรคเตอร์ จะมีสดส่วนเหมือนจริ ง แต่เพิ่ม ั ความเหนือจริ งจากกล้ ามเนื ้อและรู ปทรง การ์ ตนแนวซุปเปอร์ ฮีโร่มกจบในตอน แต่อนที่จริ งแต่ละ ู ั ั ตอนจะต่อ เนื่ อ ง แต่ไ ม่ต่อเนื่ องเด่น ชัด เท่า การ์ ตูน แนวผจญภัย อย่างเช่น ตอนจบของการ์ ตูน ซุปเปอร์ ฮีโร่ ในแต่ละตอน คือปราบปี ศาจร้ าย และเมืองสงบสุข แต่ผ้ บงการคิดแผนชัวร้ ายอีก แผน ู ่ นันก็อยูในตอนต่อไป ส่วนการ์ ตนแนวผจญภัย จะจบให้ ผ้ ูชมอารมณ์ค้าง เพื่อให้ ดตอนต่อไปเรื่ อยๆ ้ ่ ู ู เช่น ตัวเอกกาลังเข้ าถ ้าเพื่อหาสมบัติ จนกระทังเจอ….. (ติดตามในตอนต่อไป) การ์ ตนแนวซุปเปอร์ ฮี ่ ู โร่ ไม่ได้ โด่งดังแค่ในประเทศแถบตะวันตกเท่านัน แต่ยงโด่งดังในประเทศญี่ปน ซึ่งมีแต่ในรูปแบบ ้ ั ุ่ การ์ ตนช่องเท่านัน หากเป็ นเรื่ องที่ฉายตามโทรทัศน์ จะใช้ คนแสดงแทน ซึ่งไม่ได้ ใช้ กระบวนการ ู ้ ผลิตแบบการ์ ตนแอนิเมชัน จึงไม่นบว่าเป็ นการ์ ตน เช่น หน้ ากากมดแดง หรื อพวกเรื่ องขบวนการกู้ ู ่ ั ู โลก 5 สี (และตัวประกอบลับ 1 คน) ชื่อเรื่ องมักลงท้ ายด้ วยคาว่า “เรนเจอร์ ”
  • 7. การ์ ตนแนว Super Heroes ที่มา http://3.bp.blogspot.com/ู JPXP0imBBz0/UH80hMjDjeI/AAAAAAAADsw/USUW_y5XLFk/ s1600/avengers+cartoon.jpg 2.2.2.5 การ์ ตูนแนวแฟนตาซี เป็ นการ์ ตนที่วาด้ วยเรื่ องราวเหนือธรรมชาติ นิยม ู ่ ทังในญี่ปนและอเมริ กา โดยสไตล์ของการ์ ตนจะแตกต่างกันไป อย่างในอเมริ กา ถ้ ากลุ่มเปาหมาย ้ ุ่ ู ้ เป็ นเด็ก ก็เอาตัวการ์ ตนร้ องเพลงแทบทังเรื่ อง และร่ ายเวทมนตร์ ไปๆมาๆให้ สมหวัง ส่วนในญี่ ปน ู ้ ุ่ จะแตกต่างจากของอเมริ กาในส่วนของเนือเรื่ อง คือมีโครงเรื่ อง มีที่มา ไม่ต่างจากแนวผจญภัย ้ การ์ ตนแนวแฟนตาซีในปั จจุบน ถ้ าแสดงความแฟนตาซีออกมาเด่นชัด จะเป็ นเรื่ อง “Fairy Tail” ู ั ส่วนเรื่ องอื่นๆจะผสมกับแนวๆอื่นๆ เช่น One Piece ผสมแนวการผจญภัยไปด้ วย ตัวอย่างการ์ ตนแนว Fantasy เรื่ อง Fairytail ที่มา http://cartoon.mthai.com/wordpress/wpู content/uploads/2013/03/Fairy_Tail_2.jpg
  • 8. ตัวอย่างการ์ ตนแนว Sci-Fi เรื่ อง Gandam ที่มา http://cartoon.mthai.com/wordpress/wpู content/uploads/2012/08/gundam_wing_0_vs_epyon.jpg 2.2.2.6 การ์ ตูนแนว Sci-Fi เป็ นการ์ ตนแนววิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่ว่าด้ วยเรื่ อง ู หุนยนต์ การทดลองต่างๆ การ์ ตนแนวนี ้ที่เด่นที่สด ไม่พ้นเรื่ อง Gandam หรื อเรื่ อง ZOIDS เนื ้อเรื่ อง ่ ู ุ มักต่อเนื่อง ไม่มีการจบในตอน บางที การ์ ตนแนว Sci-Fi สามารถผสมกับแนวแฟนตาซีและเข้ ากัน ู ได้ 2.2.2.7 การ์ ตู น แนวกี ฬ า ส่ว นใหญ่ ก าร์ ตูน แนวนี มัก จะเจอในประเทศญี่ ปุ่ น ้ การ์ ตนประเภทนี ้เป็ นการ์ ตนผลักดันให้ เด็กๆที่ดมีความฝั นตามการ์ ตน ให้ มนเป็ นจริ งได้ ในอนาคต ู ู ู ู ั เช่นเรื่ อง “กัปตันซิบาสะ” (Captain Tsubasa) ที่มีเนื ้อเรื่ องเกี่ยวกับทีมฟุตบอลญี่ปนทีมหนึ่ง ที่มี ุ่ ความฝั นอยากจะแข่งฟุตบอลโลก โดยเริ่ มแรกแข่งในประเทศก่อน เมื่อชนะหมดแล้ วจึงแข่งใน รายการฟุตบอลโลก ในรายการฟุตบอลโลก ทีมญี่ ปนสามารถเอาชนะทีมจากประเทศบราซิลได้ ุ่ อย่างฉิวเฉี ยดจนได้ เป็ นแชมปฟุตบอลโลก ถึงแม้ เรื่ องในการ์ ตนจะไม่เป็ นความจริ งก็ตาม แต่กลับ ์ ู เป็ นแรงบันดาลใจอย่างแรงกล้ าให้ เด็กๆที่อ่ านการ์ ตนอยากจะไปบอลโลก จนในที่สุด ในปั จจุบน ู ั ทีมฟุตบอลทีมชาติญี่ปนติดอยู่ในอันดับต้ นๆของโลก เนื่องเรื่ องของการ์ ตนแนวนี ้ค่อนข้ างต่อเนื่อง ุ่ ู ไม่มี จบในตอน หรื อจบในเล่ม นอกจากเรื่ องกัปตันซึ บาสะ ยังมี การ์ ตูนแนวกี ฬาที่ มีชื่อเสียงอี ก หลายเรื่ อง เช่น “ก้ าวแรกสูสงเวียน” ฯลฯ ่ ั
  • 9. ตัวอย่างการ์ ตนแนวกีฬา เรื่ อง Captain Tsubasa ที่มา ู http://seriesinfantiles.galeon.com/fotos/oliv_benji04.jpg 2.2.2.8 การ์ ตูนเฉพาะกลุ่ม คือการ์ ตนที่ไม่ได้ เปิ ดเผยเป็ นวงกว้ าง ตามสื่อทัวไป ู ่ ส่วนใหญ่ การ์ ตนแนวนี ้มักมีเนื ้อหาไม่เหมาะสม หรื อมีเนื ้อหาที่คนหลายๆคนไม่เข้ าใจ เทคนิคที่ใช้ ู ในแนวนี ้ มักเป็ นการ์ ตนช่อง โดยผู้เขียนการ์ ตนก็เป็ นผู้คลังไคล้ การ์ ตนทัวๆไป ที่จินตนาการบรรเจิด ู ู ่ ู ่ น้ อยเรื่ องที่จะทาออกมาเป็ นการ์ ตนแอนิเมชัน เพราะด้ วยเนื ้อหาที่ไม่เหมาะสมสาหรับบุคคลทัวไป ู ่ ่ (หากเอามาฉายจะถูกเซ็นเซอร์ หากเซ็นเซอร์ เกินกว่าที่ควรจะเป็ นจนเสียอรรถรสและเนื ้อเรื่ องจะถูก แบน) ซึงจะมีแนวย่อยต่อไปนี ้ ่ 2.2.2.8.1 แนว Y แยกเป็ น Yaoi (ชายรักชาย) และ Yuri (หญิงรักหญิง) 2.2.2.8.2 แนว Lolicon คือแนวที่มีความสัมพันธ์กบเด็กสาวอายุต่ากว่า 15 ั 2.2.2.8.3 แนว NTR มาจากคาว่า เนะโทะระเระ ( 寝取られ) คือคนรัก/ แฟน/ภรรยา โดนชายอื่นแย่งไป (หลับนอน) โดยความยินยอมหรื อไม่ยินยอม 2.2.2.8.4 แนว H คือแนวลามก H มาจากคาว่า Hentai 2.2.2.8.5 แนว Mimi คือแนวที่ตวละครมีหมีหางจากสัตว์ เช่น มีหู,หางเป็ น ั ู แมว จะเรี ยกว่า Nekomimi 2.2.2.8.6 แนว Guro คือแนวเลือดกระฉูด พวกที่ชอบการชาแหละ เลือด ฆ่า เครื่ องใน ไส้
  • 10. 2.2.2.8.7 แนว Harem สายนี ้จะเป็ นพวกชอบอยู่ห้อมล้ อมด้ วยสาวๆ สวย น่ารักมากมายแถมด้ วยทุกคนมารุมรักอีก - เช่น เนกิมะ 2.3 ลักษณะลายเส้ นในการเขียนการ์ ตูน การเขียนการ์ ตนระหว่างสไตล์ญี่ปนกับอเมริ กาจะแตกต่างกันอย่างสินเชิง เนื่องจาก ู ุ่ ้ วัฒนธรรมของทัง 2 ชาติไม่เหมือนกัน เช่นในญี่ปนมักสอนให้ รักชาติ สังเกตได้ ในการ์ ตนหลายๆ ้ ุ่ ู เรื่ องจะสอดแทรกวัฒนธรรมญี่ ปน ทังชุดกิโมโน ชุดนักเรี ยน การทักทาย ส่วนในอเมริ กามักเป็ น ุ่ ้ เรื่ องความฝั นที่ไม่ค่อยเป็ นจริ งซะมากกว่า เช่น สัตว์พูดได้ ในหลายๆเรื่ อง เวทมนตร์ เจ้ าชาย เจ้ า หญิง เจ้ าป่ า ตัวอย่างลายเส้ นการ์ ตนญี่ปน ที่มา http://image.dek-d.com/13/1185628/14277978 ู ุ่ ลักษณะตัวการ์ ตนของญี่ ปนจะเน้ นเสมือนจริ ง คือตัวละครมนุษย์สดส่วนที่ไม่ใช่ศีรษะ ู ุ่ ั จะเหมือนจริ ง ยกเว้ นศีรษะและดวงตาที่โตกว่าของจริ ง ส่วนตัวละครสัตว์จะเน้ นความน่ารัก เน้ น เรื่ องรู ปทรงเรขาคณิตง่ ายๆเพื่อให้ คนที่ ดูจดจาง่าย อี กทังตัวละครผู้หญิ งในการ์ ตูนญี่ ปน เสียง ้ ุ่ พากย์คอนข้ างหน่อมแน้ มดูไร้ เดียวสา น่ารัก ซึ่งความรู้ สึกแบบนี ้เรี ยกว่า “โมเอะ” คือความน่ารักที่ ่ เกินกว่าคาว่า “น่ารัก” จนอยากเอากลับบ้ าน
  • 11. ตัวอย่างการ์ ตนฝรั่ง เรื่ อง The Simpsoms ที่มา http://image.dekู d.com/24/2375660/107304716 ส่วนการ์ ตนฝรั่งนัน ถ้ ากลุ่มเปาหมายเป็ นเด็ก จะเน้ นเรื่ อง “ความเป็ นเอกลักษณ์ ของ ู ้ ้ รูปร่างของตัวละครมากกว่าหน้ าตา” และด้ วยความที่การ์ ตนฝรั่ง มักเอาตัวเอกเป็ นสัตว์อยู่แล้ ว ทา ู ให้ การออกแบบตัวละคร จะโชว์จุดเด่นออกมาเต็มๆ เช่น ตัวละครอ้ วนๆ หัวจะเล็ก ตัวจะใหญ่ๆ อ้ วนๆ หรื อตัวละครบ้ องแบ๊ ว จะคล้ ายๆการ์ ตนญี่ ปน แต่จะดูน่ารักกว่าเพราะเป็ นสัตว์ ไม่ใช่มนุษย์ ู ุ่ ส่วนแนวซุ ปเปอร์ ฮี โร่ จะใช้ สัดส่วนคนจริ ง ๆมาใช้ ตัวละครชายจะเน้ นกล้ ามเนือเป็ นส่วนใหญ่ ้ ลายเส้ นจะได้ อารมณ์ดดน แมนๆ ุ ั 2.4 ความหมายของการ์ ตูนแอนิเมชั่น การ์ ตูนแอนิเมชั่น (Animation) คือการ์ ตูนที่สามารถเคลื่อนไหว เล่าเรื่ องราวต่างๆได้ คล้ ายคลึง กับละคร หรื อภาพยนตร์ โ ดยผ่านกระบวนการตัดต่อ เพิ่ ม เสี ยง พากย์ ลงในการ์ ตูน กรรมวิธีในการทาค่อนข้ างซับซ้ อน พอๆกับการสร้ างภาพยนตร์ และการทางานค่อนข้ างใช้ ความ อดทนสูง ในสมัยก่อนที่คอมพิวเตอร์ จะมีบทบาท การสร้ างการ์ ตนแอนิเมชันเกิดจากการเขียนภาพ ู ่ ลงบนแผ่นเซล (เป็ นแผ่นที่คล้ ายๆแผ่นใส) นับหมื่นแผ่น เงินลงทุนค่อนข้ างสูงมาก จากค่าแผ่นเซล
  • 12. ค่าสี ค่าคนงานในสตูดิโอที่เขียนแผ่นเซล เขียนภาพฉากหลัง เมื่อเขียนแผ่นเซลแล้ ว จึงนามาต่อ ภาพกันเหมือนกับแผ่นฟิ ล์ม แล้ วเข้ าสูกระบวนการใส่เสียง และการพากย์ จึงได้ การ์ ตนแอนิเมชัน 1 ่ ู ่ เรื่ อง ในเรื่ องของความลื่นไหลของตัวการ์ ตน การ์ ตนฝรั่งทาได้ ดีกว่า ในขณะที่การ์ ตนญี่ ปน ู ู ู ุ่ เน้ นเรื่ องแสงเงาและฉากหลัง และเนื ้อเรื่ อง จนกระทั่ง ในยุ ค ที่ ค อมพิ ว เตอร์ มี บ ทบาทในการท างาน จึ ง ถื อ ก าเนิ ด ซอฟต์ แ วร์ คอมพิวเตอร์ ที่แสดงผลออกมาเป็ น 3 มิติ โดยซอฟต์แวร์ 3 มิติในยุคแรกๆจะแสดงผลออกมาด้ วย รู ปทรงที่ง่าย ไม่ซับซ้ อน เนื่องจากข้ อจากัดทางด้ านฮาร์ ดแวร์ ในยุคนัน และซอฟต์แวร์ ้ 3 มิติยัง สามารถสร้ างภาพเคลื่อนไหว ทาให้ เกิดการ์ ตนเทคนิคใหม่ขึ ้นมา คือ “การ์ ตน 3 มิติ” การ์ ตน 3 มิติ ู ู ู เรื่ องแรกที่ออกฉายและสร้ างปรากฏการณ์ให้ กบผู้ชมหลายๆคนคื อเรื่ อง “Toy Story” เป็ นเรื่ องราว ั ของตัวตุ๊กตา และของเล่นที่อาศัยอยู่ในห้ องของเด็กคนหนึ่ง สิ่งที่มหัศจรรย์สาหรับเรื่ องนี ้ อยู่ที่ของ เล่นทุกๆชิ ้นเคลื่อนไหวได้ มีชีวิตชีวา หลังจากเรื่ อง Toy Story ก็มีเรื่ องอื่นๆในเครื อ Pixar หลายๆ เรื่ อง การ์ ตนเรื่ อง Toy Story การ์ ตนแอนิเมชันที่ใช้ เทคนิค 3D สร้ าง ที่มา http://4.bp.blogspot.com/ู ู ่ C2mAoIS79dE/UieU3jQld5I/AAAAAAAAA9M/s7e0iFqo8tY/s1600/toy+story.jpg
  • 13. ในขณะเดียวกัน ที่ ญี่ปุ่ น คอมพิวเตอร์ มีบทบาทในการทางานทุกๆด้ านแล้ ว และใน วงการการ์ ตนแอนิเมชันก็เริ่มใช้ คอมพิวเตอร์ ในการทางานเหมือนกับทางการ์ ตนฝรั่ง แต่ยงคงสร้ าง ู ่ ู ั การ์ ตนแอนิเมชันในรู ปแบบ 2 มิติ อย่างที่เรี ยกว่า “อนิเมะ” เหมือนเดิม เพียงแต่กระบวนการผลิต ู ่ ตังแต่ลงสี รวมภาพ ใส่เสียง สามารถทาให้ เสร็ จกระบวนการได้ ด้วยคอมพิวเตอร์ ไม่ต้องเขียนใน ้ แผ่นใสเหมือนเมื่อยุคแรกๆที่ลงทุนเรื่ องคนงาน แผ่นใส สี เครื่ องรวมเฟรม ซึ่งค่าใช้ จ่ายค่อนข้ าง แพงมากๆ 2.5 ประวัตความเป็ นมาของแอนิเมชั่น ิ แอนิเมชั่นนันมีต้นกาเนิดมานานแล้ ว จะหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ได้ มีการค้ นพบ ้ ภาพเขียนบนผนังถ ้าเป็ นรู ปสัตว์ชนิดหนึ่ง ซึ่งในภาพวาดมีการวาดการเคลื่อนไหวของขาทังสี่ข้าง ้ ในยุคต่อมา 1600 ปี ก่อนคริ สต์ศกราช ในช่วงยุคของฟาโรห์รามาเศสที่สองได้ มีการก่อสร้ างวิหาร ั เพื่อบูชาเทพีไอซิสโดยมีการวาดรู ปการเคลื่อนไหวของเทพีไอซิสต่อเนื่องกันถึง 110 รูป จนกระทัง ่ ถึงยุคกรี กโรมัน เมื่อดูจากภาพที่ปรากฏบนคนโทแล้ ว จะเห็นว่าเป็ นภาพต่อเนื่องของการวิ่ง 2.5.1 แอนิเมชั่นฝรั่ง ภาพจาก Adventures of Prince Achmed ที่มา http://www.dvdbeaver.com/film2/DVDReviews50/adventures_prince_achmed/Adventure s_of_Prince_Achmed_4.jpg
  • 14. แอนิเมชันแต่ละเรื่ องในยุค แรกๆนันจะดัดแปลงจากภาพยนตร์ เงียบ ที่ยโรปในปี ่ ้ ุ 1908 แอนิเมชันก็ได้ ถือกาเนิดขึ ้นในโลก นันก็คือเรื่ อง Fantasmagorie ของ Emile Courtet ผู้ ่ ่ กากับชาวฝรั่งเศส ส่วนภาพยนตร์ แอนิเมชันเรื่ องยาวเรื่ องแรกของโลก นั่นก็คือ Satire du Pt ่ Irigoyen ของอาร์ เจนตินา ในปี 1917 และตามด้ วย The Adventure of Prince Achmed ่ ในขณะเดียวกัน ที่สหรัฐฯ ก็มีการเริ่ มต้ นพัฒนาด้ านอนิเมชันซึ่งหนังในช่วงแรกๆ ่ ก็มี Koko the Clown และ Felix the Cat ในปี 1923 วอล์ท ดิสนี่ย์ ก็ถือกาเนิดขึ ้นด้ วยหลังจากที่ วอล์ท ดิสนี่ย์ได้ กาเนิดขึ ้น ก็ทาให้ เกิดยุคทองหนังอนิเมชันของดิสนี่ย์ในช่วงระยะเวลาถึง20ปี เลย ่ ทีเดียว ในปี 1928 มิกกี ้ เมาส์ก็ถือกาเนิดขึน ตามด้ วย พลูโต กู๊ฟฟี่ โดนัลด์ ดัก เป็ นต้ น และในปี ้ ๊ 1937 สโนว์ไวท์และคนแคระทัง7 ก็เป็ นอนิเมชันเรื่ องยาวเรื่ องแรกของ ดิสนี่ย์ และได้ รับการตอบรับ ้ ่ เป็ นอย่างดี และทยอยมีอนิเมชันเรื่ องอื่นๆตามมา เช่น Pinocchio, Fantasia ,Dumbo, Bambi ่ ,Alice in Wonderland, Peter Pan จากนันก็มีการตังสตูดิโอของ Warner Brother,MGM และ ้ ้ UPA ในช่วงปี 1960 หลังจากที่ภาพยนตร์ แอนิเมชั่นประสบความสาเร็ จ ก็ก่อให้ เกิด ธุรกิจแอนิเมชันบนจอโทรทัศน์ขึ ้นมา ซึ่งมีทงการ์ ตนของดิสนี่ย์ และการ์ ตนพวกฮี โร่ ทงหลายแหล่ ่ ั้ ู ู ั้ อย่าง ซุปเปอร์ แมน แบทแมน ฯลฯ และในขณะเดียวกัน ก็มีการศึกษาการทาแอนิเมชัน3มิติอีกด้ วย ่ เวลาก็ได้ ลวงมาถึง ช่วงปี 1980 ภาพยนตร์ ของดิสนี่ย์ก็ถึงคราวซบเซา แต่ทว่าใน ่ ปี 1986 The Great Mouse Detective ก็เป็ นแอนิเมชันเรื่ องแรกของโลก ที่นาเอา 3 D แอนิเมชันมา ่ ่ ใช้ ด้วย ซึ่งก็เป็ นจุดเริ่ มต้ นที่ทาให้ แอนิเมชันของดิสนี่ย์กลับมา ได้ รับความนิยมใหม่อีกครังหนึ่ง ทัง ่ ้ ้ Beauty and the Beast,Aladin ,Lion King ในปี 1995 ภาพยนตร์ แอนิเมชัน3มิติเรื่ องแรกของโลก ่ อย่าง Toy Story ก็ถือกาเนิดขึ ้น และ ทาให้ มีการสร้ างสรรงานอนิเมชัน3มิติอีกหลายๆงานต่อมา ่ จนถึง ปั จ จุบัน รวมไปถึง มี ก ารท าแอนิ เมชั่นเพื่ อจับ กลุ่ม คนดูที่ เป็ นผู้ใหญ่ ด้วย อย่างเช่น The Simpsons ,South Park และมีการยอมรับแอนิเมชันจากประเทศอื่นๆมากขึ ้นอีกด้ วย ่
  • 15. 2.5.2 แอนิเมชั่นญี่ปุ่น ตัวอย่างภาพจากเรื่ องนางพญางูขาว (Hakujaden) ที่มา http://www.animateddivots.net/images/hakujaden.jpg การพัฒ นาอนิเ มชั่น ที่ ญี่ปน มี ประวัติศาสตร์ มายาวนาน สันนิษฐานว่า น่าจะ ุ่ เริ่มต้ นประมาณปี 1900 บนฟิ ลม์ขนาด35มม. เป็ นอนิเมชันสันๆเกี่ยวกับทหารเรื อหนุ่มกาลังแสดง ่ ้ ความเคารพ และใช้ ทงหมด 50 เฟรมเลย ส่วน เจ้ าหญิงหิมะขาว ก็เป็ นอนิเมชันเรื่ องแรกของทาง ั้ ่ ญี่ปน ก็สร้ างในปี 1917 ุ่ จนมาถึงปี 1958 อนิเมชันเรื่ อง นางพญางูขาว(Hakujaden) ก็เป็ นอนิเมชันเรื่ องแรก ่ ่ ที่เข้ าฉายในโรง และจากจุดนันเอง อนิเมชันญี่ปนก็มีพฒนาการอย่างต่อเนื่อง โดยเริ่มจาก ้ ่ ุ่ ั -ปี 1962 Manga Calender เป็ นอนิเมชันทางทีวีเรื่ องแรกของญี่ปน ่ ุ่ -ปี 1963 เจ้ าหนูปรมาณู( Astro Boy) ก็เป็ นอนิเมชันเรื่ องแรกที่ดดแปลงมา ่ ั จากมังงะ(หนังสือการ์ ตน)โดยตรง แถมเป็ นอนิเมชันสีเรื่ องแรก และเป็ นเรื่ องแรกที่ออกไปฉายใน ู ่ อเมริกา -ปี 1966 แม่มดน้ อยแซลลี่( Mahoutsukai Sally)ก็เป็ นการ์ ตูนอนิเมชั่นสาหรับ เด็กผู้หญิงเรื่ องแรกด้ วย
  • 16. -ปี 1967 Ribon no Kishi ก็เป็ นอนิเมชัน เรื่ องแรกที่ดดแปลงมาจากการ์ ตน ่ ั ู ผู้หญิง (แถมต้ นฉบับก็เป็ นหนังสือการ์ ตนเด็กผู้หญิงเรื่ องแรกของญี่ปนด้ วย) ู ุ่ -1001 Night ก็จดว่าเป็ นการ์ ตนเรื่ องแรกที่เจาะกลุมคนดูเป็ นผู้ใหญ่ ในปี 1969 ั ู ่ -ปี 1972 Mazinga ก็เป็ นจุดกาเนิดของการ์ ตนแนวSuper Robot ู -ปี 1975 Uchuu Senkan Yamato ก็เปิ ดศักราชหนังการ์ ตนยุคอวกาศ จนมาถึง ู Mobile Suit Gundam ในปี เดียวกัน -ปี 1981 ถื อกาเนิด ไอด้ อลครั งแรกในวงการการ์ ตูน นั่นก็ คือ ลามู จาก Urusei ้ Yatsura - อากิระ ในปี 1988 สร้ างปรากฏการณ์ให้ กบวงการอนิเมชันทัวโลก ั ่ ่ -จนในปี 1995 ญี่ ปุ่นกับอเมริ กาก็ร่วมมือกันสร้ าง Ghost in the Shell ขึ ้น และมี อิทธิพลต่อการสร้ างหนัง The Matrix ด้ วย -ในปี 1997 ฮายาโอะ มิยาซากิ ก็ นา Princess Mononoke ก้ าวไปสู่ระดับ อินเตอร์ จนปี 2003 ก็คว้ ารางวัลออสการ์ ครังที่75 สาขาอนิเมชันยอดเยี่ยม จากเรื่ อง Spirited ้ ่ รวมไปถึง Dragonball ของ อากิระ โทริยามะ ก็สร้ างความนิยมไปทัวโลกอีกด้ วย ่ Away
  • 17. 2.5.3 แอนิเมชั่นไทย แอนิเมชันประกอบโฆษณา “หนูหล่อของยาหม่องบริ บรณ์ ” ที่มา ่ ู http://i1.ytimg.com/vi/BaEKQeNqVvM/hqdefault.jpg แอนิเมชันในประเทศไทย เริ่ มต้ นเมื่อ 60 ปี ที่แล้ ว ตัวการ์ ตนอนิเมชันจะพบได้ ใน ่ ู ่ โฆษณาทีวี เช่น หนูหล่อของยาหม่องบริ บรณ์ปาล์ม ของ อ.สรรพสิริ วิริยสิริ ซึ่งเป็ นผู้ สร้ างอนิเมชัน ู ่ คนแรกของไทย และยังมีหมีน้อย จากนมตราหมี แม่มดกับสโนว์ไวท์ของแปงน ้าควินน่าอีกด้ วย ้ อ.เสน่ห์ คล้ ายเคลื่อน ก็มีความคิดที่จะสร้ างอนิเมชันเรื่ องแรกในไทย แต่ก็ต้อง ่ ล้ มไปเพราะกฎหมายควบคุมสื่อในสมัยนัน และ10ปี ต่อมา ปี พ.ศ. 2498 อ.ปยุต เงากระจ่าง ก็ทา ้ สาเร็ จ จนได้ จ ากเรื่ อ ง เหตุม หัศ จรรย์ ที่ ใ ช้ ป ระกอบภาพยนตร์ ทุร บุรุ ษ ทุย ของ ส.อาสนจิ น ดา หลังจากนันก็มีโครงการอนิเมชั่น หนุมาน การ์ ตูนต่อต้ านคอมมิวนิสต์ ที่ได้ รับการสนับสนุนจาก ้ อเมริ กาแต่ก็ล้มเหลว เพราะเหมือนจะไปเสียดสี จอมพล สฤษดิ์ ธนรัตน์ ผู้นาในสมัยนันซึ่งเกิดปี ้ วอก ปี พ.ศ. 2522 สุดสาครของ อ.ปยุต เงากระจ่าง ก็เป็ นภาพยนตร์ การ์ ตนเรื่ อง ู ยาวเรื่ องแรกของบ้ านเรา และก็ประสบความสาเร็ จมากพอสมควรในยุคนัน ปี พ.ศ.2526 ก็มีอนิ ้ เมชั่นทางทีวีเรื่ องแรกที่เป็ นฝี มือคนไทยนันก็คือ ผีเสือแสนรัก ต่อจากนันก็มี เด็กชายคาแพง หนู ่ ้
  • 18. น้ อยเนรมิต เทพธิดาตะวัน จ่ากับโจ้ เนื่องจากการทาอนิเมชันนันต้ องใช้ ต้นทุนค่อนข้ างสูง ก็เลยทา ่ ้ ให้ อนิเมชันในเมืองไทยนันต้ องปิ ดตัวลง ่ ้ ประมาณปี 2542 อนิเมชันของคนไทยที่ทาท่าว่าจะตายไปแล้ ว ก็กลับมาฟื นคืน ่ ้ ชีพขึ ้นมาอีกครัง จากความพยายามของบ.บรอสคาสต์ไทย เทเลวิชั่น ก็ได้ นาการ์ ตนที่ดดแปลงจาก ้ ู ั วรรณคดีฝีมือคนไทย ทัง ปลาบูทอง สังข์ทอง เงาะป่ า และโลกนิทาน และได้ รับการตอบรับอย่างดี ้ ่ จนในปี พ.ศ. 2545 น่าจะเรี ยกว่าเป็ นปี ทองของอนิเมชัน3มิตของคนไทยเลย โดยเฉพาะ ปั งปอนด์ ดิ ่ ิ อนิเมชัน และ สุดสาคร ซึ่งทัง2เรื่ องก็สร้ างปรากฏการณ์ในแง่ของการขายคาแร็ คเตอร์ ใช้ ประกอบ ่ ้ สินค้ า และ เพลงประกอบ จ้ ามะจ๊ ะ ทิงจา ก็ฮิตติดหูด้วย รวมไปถึง การที่มีบริ ษัทรับจ้ างทาอนิเมชัน ่ ของญี่ปนและอเมริกาหลายๆเรื่ องอีกด้ วย และเราก็กาลังจะมี ก้ านกล้ วย อนิเมชันของบ.กันตนา ที่ ุ่ ่ กาลังจะเข้ าฉายไปทัวโลก ซึ่งเราก็ หวังว่า อนิเมชันฝี มือคนไทย คงที่จะมีหลายเรื่ อง หลากหลาย ่ ่ แนวมากขึ ้น ไม่แพ้ อนิเมชันของฝั่ งญี่ปนและตะวันตกเลยทีเดียว ่ ุ่ 2.6 เทคนิคการสร้ างการ์ ตูนแอนิเมชั่น การสร้ างการ์ ตูน แอนิ เ มชั่น ในยุค ปั จ จุ บัน แม้ ว่ า จะซับ ซ้ อ นจนคนทั่ว ไปไม่ เ ข้ า ใจ กระบวนการผลิต แต่ความยากในการผลิตน้ อยกว่าในสมัยก่อน เพราะไม่ต้องซื ้อแผ่นใสเยอะแยะ สามารถเริ่ มต้ นงานด้ วยคอมพิวเตอร์ และจบด้ วยคอมพิวเตอร์ ในปั จจุบน ซอฟต์แวร์ ผลิตการ์ ตน ั ู ก้ าวหน้ ามากกว่า ในอดี ต ทัง ซอฟต์แวร์ ในการผลิต การ์ ตูนสองมิ ติ และการ์ ตูน 3 มิ ติ รวมถึ ง ้ ฮาร์ ดแวร์ ที่ก้าวหน้ าไปหลายขุม ทาให้ การทางานรวดเร็วมากขึ ้น และทันใจผู้ผลิตเป็ นอย่างยิ่ง ซึงเทคนิคการสร้ างการ์ ตนแอนิเมชันในปั จจุบน มีดงนี ้ ่ ู ่ ั ั
  • 19. 2.6.1 เทคนิค Drawn Animation ที่มา http://nopybot.com/wp-content/uploads/2009/11/asc2-03.jpg คือเทคนิคการ์ ตนแอนิเมชันที่สร้ างจากการเขียบนภาพหลายๆแผ่น และรวบรวม ู ่ เป็ นแผ่นฟิ ล์มและเคลื่อนไหวเร็ วๆ (ในอดีต) หากเป็ นปั จจุบน ภาพเคลื่อนไหวเหล่านี ้จะเป็ นไฟล์ ั ดิจิตอล และเอาเข้ าในโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ เทคนิคนี ค่อนข้ างเป็ นที่นิยมมากในประเทศญี่ ปุ่น ้ เพราะมีเสน่ห์มากกว่าเทคนิค 3 มิติ เนื่องจากการเคลื่อนไหว ความน่ารักของตัวละคร อารมณ์ทาได้ ดีกว่า ข้ อเสียของเทคนิคนี ้คือ กระบวนการผลิตค่อนข้ างนาน และผู้ที่เขียนภาพแต่ละเฟรมต้ องใช้ ความอดทนสูงมาก โดยเฉพาะทีมงานเขียนฉากหลังที่ต้องใช้ ความวิจิตรสูงมากในการวาดฉาก หลัง 2.6.2 เทคนิค 3D Animation ที่มา http://www.deshow.net/d/file/cartoon/2009-03/games-fun-cartoon-illustrations-2-4394.jpg
  • 20. คือเทคนิคการ์ ตนแอนิเมชันที่สร้ างในซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์ สามมิติ ในปั จจุบน ู ่ ั ซอฟต์แวร์ การ์ ตนสามมิติออกแบบเพื่ อให้ ใช้ งานได้ ดีกว่าในอดีต และทัศนียภาพที่สร้ างออกมาจะ ู เหมือนจริ ง แต่ยงคงทิ ้งเอกลักษณ์การ์ ตนสามมิติเอาไว้ การ์ ตนสามมิติ นิยมมากในวงการการ์ ตน ั ู ู ู ฝรั่ง เพราะด้ วยการออกแบบคาแรคเตอร์ ที่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัว และประยุกต์ใช้ ในโปรแกรม 3D ได้ อย่างลงตัว กระบวนการการสร้ างงานในซอฟต์แวร์ สามมิติมีความง่ายกว่าเทคนิค Drawn Animation เนื่องจากไม่ต้องวาดทีละเฟรมให้ เคลื่อนไหวเหมือน Drawn Animation แต่ใช้ การขยับ โมเดลในซอฟต์แวร์ สามมิตทีละเฟรมเรื่ อยๆ และในปั จจุบน เทคโนโลยีการเคลื่อนไหวตัวการ์ ตนทา ิ ั ู ได้ เหมือนจริงมากยิ่งขึ ้น ทาให้ เทคนิคนี ้นิยมมากกกว่าเดิม 2.6.3 เทคนิค Cel-Shaded Animation ที่มา http://xbox360media.ign.com/xbox360/image/article/890/890172/e3-2008-prince-ofpersia-4-screens-20080715053150813_640w.jpg คือเทคนิคการ์ ตูนแอนิเมชั่นที่ สร้ างในซอฟต์แวร์ คอมพิ วเตอร์ 3 มิ ติ แต่การ แสดงผลออกมาเสมือนแนว Drawn Animation หมายความว่า ตัวละครการ์ ตนที่เห็นออกแนวสอง ู มิติ แท้ จริ งแล้ วมี โครงสร้ างเป็ นสามมิติ เทคนิคนี ้ ไม่ ค่อยเป็ นที่นิยมมากนักสาหรับการทาการ์ ตน ู แอนิเมชัน เนื่องจากขาดกลิ่นอายการ์ ตนพอสมควร และความรู้สึกในการดู มันไม่ใช่การ์ ตนอย่างที่ ่ ู ู หลายๆคนคิด แต่เ ทคนิค Cel-Shaded Animation เป็ นที่ นิ ย มมากในการสร้ างเกมที่ เ อา
  • 21. คาแรคเตอร์ จากการ์ ตนจริ งๆมาทาเป็ นเกม เพราะเกมที่ทา เป็ นสามมิติ และตัว Cel-Shaded ก็มี ู โครงสร้ างแบบสามมิติ แต่ภาพออกมาเสมือนสองมิตคล้ ายคลึงกับการ์ ตนแบบ Drawn Animation ิ ู 2.6.4 เทคนิคผสม ที่มา http://animekd.files.wordpress.com/2013/11/04.jpg คือเทคนิคที่เอา Drawn Animation เป็ นตัวหลัก และฉากหลังอาจทาด้ วยสามมิติ หรื อใส่ Cel-Shaded ลงไป เทคนิคนี ้ในประเทศญี่ปนฮิตมาก เพราะช่วยทาให้ การสร้ างฉาก และ ุ่ มุมกล้ องบางมุมทาได้ สวย และดูแล้ วต่อเนื่อง ในปั จจุบน การ์ ตนแอนิเมชันจากญี่ปนต่างใช้ เทคนิค ั ู ่ ุ่ นี ้มากขึ ้น เช่นเรื่ อง 巨人の猎手 (Shingeki no kyojin : Attack on Titan) Conan The Movie, ZOIDS 2.7 ช่ องทางในการเผยแพร่ ส่ ือการ์ ตูนแอนิเมชั่น ช่องทางการเผยแพร่สื่อการ์ ตนแอนิเมชันมีหลากหลาย ซึงมีดงนี ้ ู ่ ่ ั 2.7.1 ช่ องทางฟรีทีวี คื อ ช่ อ งทางที่ เ ผยแพร่ การ์ ตู น แอนิ เ มชั่ น ที่ ดี ที่ สุ ด โดยเฉพาะการ์ ตู น ที่ มี กลุ่มเปาหมายเป็ นเด็ก เพราะเด็กๆมักเลือกดูโทรทัศน์อยู่แล้ ว และเมื่อการ์ ตนเรื่ องนันฉายจนมีเร ้ ู ้ ตติ ้งที่ดี ทาให้ ขนมที่แถมของแถม หรื อของเล่นที่ได้ ลิขสิทธิ์จากการ์ ตนที่เรตติ ้งดีนนขายดีเป็ นเทน ้า ู ั้ เทท่า และกลายเป็ นประเด็นคุยกับเพื่อนๆคนอื่นในโรงเรี ยน แต่กว่าที่การ์ ตนเรื่ องนันจะฉาย ต้ อง ู ้ ผ่านกองเซ็นเซอร์ คอยแก้ ไขภาพและเนื ้อหาที่ไม่เหมาะสมก่อนจะนามาฉาย เพื่อให้ ผ้ ดู ซึ่งเป็ นเด็กๆ ู
  • 22. ปลอดภัยจากสื่อ การ์ ตูนทางช่องฟรี ทีวีมักฉายเป็ นตอนๆ อาจจะสองครัง /สัปดาห์ หรื อครังละ ้ ้ สัปดาห์ ครังละไม่เกิน 30 นาที ้ 2.7.2 ช่ องทางโรงภาพยนตร์ การ์ ตนแอนิเมชันที่ฉายทางโรงภาพยนตร์ นน จะมีอยู่ 2 ประเภท คือ การ์ ตนที่ทา ู ่ ั้ ู ออกมาเป็ นภาพยนตร์ โดยเฉพาะ หรื อการ์ ตนแอนิเมชันที่ทาเนื ้อเรื่ องแยกออกมาจากตอนหลักที่ ู ่ ฉายในช่องทางฟรี ทีวีอีกที การ์ ตูนที่ทาออกมาเป็ นภาพยนตร์ โดยเฉพาะ หากเป็ นการ์ ตนฝรั่ง ใน ู ปั จจุบน มักทาในรู ปแบบ 3 มิติ เพราะด้ วยมุมกล้ องที่สามารถทาออกมาเหมือนภาพยนตร์ ฟอร์ ม ั ยักษ์ หลายๆเรื่ องได้ ส่วนการเซ็นเซอร์ ของการ์ ตนแอนิเมชันที่ฉายทางภาพยนตร์ นน ทางกระทรวง ู ่ ั้ วัฒ นธรรมจะเป็ นผู้ต รวจสอบและเซ็ น เซอร์ เอง ซึ่ง มี ความยุติธ รรมและมี หลักการและเหตุผ ล เหนือกว่าการเซ็นเซอร์ ของสถานีโทรทัศน์ฟรี ทีวีที่เซ็นเซอร์ กนเอง หากเป็ นการ์ ตูนแอนิเมชันที่ทาเนื ้อ ั ่ เรื่ องแยกออกมาจากตอนหลักอีกที การ์ ตนจากฟรี ทีวีเรื่ องนันต้ องเป็ นเรื่ องที่นิยมพอสมควร และ ู ้ การ์ ตนเรื่ องนันมักจะจบในเนื ้อเรื่ องที่ฉายในภาพยนตร์ หากมีเนื ้อเรื่ องต่อ จะไม่พดเด่นชัดว่าโปรด ู ้ ู ติดตามตอนต่อไป แต่ให้ ตดตามกันเองในการ์ ตนในฟรี ทีวี ิ ู 2.7.3 ทางสื่อบันทึกข้ อมูล เช่ น วีดีโอ ดีวีดี บลูเรย์ ดิสก์ หรื อไฟล์ ภาพยนตร์ ดิจิตอล หากการ์ ตูน แอนิ เมชั่น เรื่ อ งนัน ผลิต ออกมาเพื่ อ บันทึก ลงวี ดีโ อ ดี วีดี วี ซี ดี หรื อ ้ แผ่นบลูเรย์โดยเฉพาะ โดยไม่ออกอากาศในฟรี ทีวี หรื อฉายในโรงภาพยนตร์ จะเรี ยกการ์ ตนแอนิ ู เมชันประเภทนี ้ว่า “OVA” ซึ่งย่อมาจาก “Original Video Animation” เหตุผลที่ถือกาเนิด OVA ่ ขึ ้นมาเพื่อกระตุ้นอุตสาหกรรมสื่อบันทึกข้ อมูลให้ มีการค้ าที่ดียิ่งขึ ้น หากเทียบกับในประเทศไทย OVA จะคล้ ายๆ “หนังแผ่น” การ์ ตน OVA หลายๆเรื่ องส่วนใหญ่มาจากการ์ ตนที่มาจากฟรี ทีวี และการนาเสนอ ู ู มักจะนาเสนอตอนพิเศษที่ไม่ได้ ฉายทางฟรี ทีวีหรื อโรงภาพยนตร์ หลักการของ OVA คล้ ายๆกับ การ์ ตูนที่เอาตอนพิเศษไปฉายในโรงภาพยนตร์ แต่ OVA กลับบันทึกข้ อมูลในสื่อบันทึ กข้ อมูล เท่านัน ้ 2.7.4 ทางอินเตอร์ เน็ต
  • 23. ในปั จจุบน สื่อดิจิตอลก้ าวหน้ าไปมากกว่าในอดีต เพราะความเร็ วอินเตอร์ เน็ตสูง ั มากกว่าในอดี ต บางที การดูการ์ ตูน แอนิ เมชั่ นไม่ไ ด้ จ ากัดว่าต้ อ งดูใ นโทรทัศ น์ เสมอไป เพราะ สามารถดูได้ ใน Youtube หรื อ Dailymotion แต่ส่วนใหญ่ การ์ ตนแอนิเมชันที่ฉายในอินเตอร์ เน็ต ู ่ มักจะฉายแบบขโมยจากไฟล์ต้นฉบับและจะมีทีมงานที่ไม่เป็ นทางการคอยใส่คาบรรยายไทยให้ ซึ่ง ไม่เป็ นธรรมกับผู้ผลิตการ์ ตนแอนิเมชัน เพราะคนที่ดการ์ ตนที่แอบขโมยจะได้ ดฟรี แต่ผ้ ผลิตไม่ได้ ู ่ ู ู ู ู รายได้ กลับคืนมา แต่ไม่มีใครสามารถเอาผิดได้ ถ้ าในประเทศนันๆ ยังไม่มีหน่วยงานได้ รับลิขสิทธิ์ ้ ในการ์ ตนเรื่ องนันๆ ู ้ 2.8 ความหมายของมิวสิควีดีโอ มิวสิควีดีโอ (Music Video) คือ เป็ นการถ่ายทอดบทเพลงแบบมีภาพประกอบ โดยยุค แรกๆ มิ วสิ ควิ ดีโ อ น ามาใช้ ใ นการเผยแพร่ เ พลงทางโทรทัศ น์ ซึ่ง มัก เป็ นรู ป แบบการถ่า ยภาพ วงดนดรี หรื อนักร้ องที่ร้องเพลง ต่อมามีนาภาพมาประกอบเพลง และพัฒนามาเป็ นการการนา เนื ้อหาของบทเพลงมาสร้ างเป็ นเรื่ องราว เป็ นละครประกอบเพลง พอมาถึงยุคที่คาราโอเกะเป็ นที่ นิ ย ม มิ ว สิ ค วิ ดี โ อ ก็ น ามาซ้ อนกั บ เนื อ เพลง ท าเป็ น วิ ดี โ อคาราโอเกะ และผลิ ต เป็ นสื่ อ ้ วีซีดีคาราโอเกะ ปั จจุบน มีการให้ รางวัลศิลปิ น จากการประกวดมิวสิ ควิดีโออีกด้ วย เช่น งานเอ็มที วี ั วิดีโอ มิวสิค อวอร์ ดส 2.9 แนวการนาเสนอของมิวสิควีดีโอ มิวสิกวิดีโอถูกนาเสนอในหลายแนว เช่นภาพการแสดงสด, ละครเพลง ซึ่งแสดงเนื ้อหา ของบทเพลง, การร้ องและเต้ นประกอบเพลง ในรูปแบบต่างๆ, การใช่วิวทิวทัศน์ มาประกอบซึ่งไม่ เกี่ยวกับบทเพลง, การใช้ ผ้ หญิ งนุ่งน้ อยห่มน้ อยเดิ นผ่านหน้ ากล้ อง ส่วนใหญ่จะเป็ นมิวสิกวิดีโอ ู เพลงต่างประเทศที่คนไทยนามารวมลงซีดี แต่ทนต่าและติดปั ญหาลิขสิทธิ์ จึงใช้ ภาพเหล่านี ้แทน ุ นอกจากนี ้ ในปั จจุบน เนื่องจากเทคโนโลยีในการผลิตสื่อค่อนข้ างก้ าวหน้ ามาก บางเพลงมีเนื ้อหา ั ออกแนวนามธรรมจึ ง ผลิ ต มิ ว สิ ค วี ดี โ อออกแนวนามธรรม โดยการไม่ พู ด ถึ ง ศิ ล ปิ น แต่ ใ ช้
  • 24. องค์ประกอบทางศิลปะดาเนินเรื่ องแทน และการนาเสนออีกประเภทที่ฮิตมากในประเทศญี่ปนคือ ุ่ ใช้ เทคนิคการ์ ตนแอนิเมชันในการนาเสนอ ทังรูปแบบอนิเมะ หรื อการ์ ตนสามมิติ ู ่ ้ ู