SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
1
โปรแกรม After Effect เป็นโปรแกรมสําหรับงานทางด้าน Video Compost หรืองานซ้อนภาพ
วีดีโอ รวมถึงงานทางด้านการตกแต่ง หรือเพิ่มเติม Effect พิเศษให้กับภาพ ลักษณะการทํางานของ
โปรแกรม After Effect มีลักษณะเดียวกับโปรแกรม Photoshop เพียงแต่เปลี่ยนจากการทํางานภาพนิ่ง
มาเป็นภาพเคลื่อนไหวผู้ที่มีพื้นทางด้านการใช้งานโปรแกรม Photoshop มาก่อน ก็จะสามารถใช้งาน
โปรแกรม After Effect ได้ง่ายมากขึ้น
โดยใช้โปรแกรม Adobe After Effect ซึ่งเป็นโปรแกรมยอดนิยมทางด้าน Motion Graphic ใช้ใน
ธุรกิจการตัดต่อภาพยนตร์ งานโทรทัศน์ การสร้าง Project การใช้ Transition , Effect และ Plug in
ต่างๆ ในการทํางาน การตัดต่องาน Motion Graphic เช่น การบันทึกเสียง , การทําเสียงพากย์ , การใส่
ดนตรีประกอบ นอกจากนี้ยังมีเทคนิคพิเศษต่างๆ เช่น การทําตัวอักษรให้เคลื่อนไหว , การซ้อนภาพ
ร่วมกับโปรแกรมยอดนิยมต่างๆ และการทํา Mastering , การบันทึกผลงานลงเทป DV , VHS และการ
แปลงไฟล์เพื่อทํา VCD , DVD
โปรแกรม After Effect
มารูจักกับ โปรแกรม After Effect
บทที่ 1
2
After Effect เป็นโปรแกรมที่ใส่ Effect ให้กับ ภาพยนตร์ ในขั้นตอนการตัดต่อ ไฟล์ที่นําเข้ามา
ใช้ในโปรแกรมนี้ได้เกือบทุกชนิดได้ทั้งภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ไฟล์เสียง ยิ่งถ้าเป็นการทํามาจาก
โปรแกรม 3d แล้วมาทําต่อที่ After Effect จะทําให้งานสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยที่สามารถจะนําไฟล์ทั้งหลาย
เหล่านี้มาใช้งานร่วมกัน เพื่อให้ได้งานที่เป็นภาพเคลื่อนไหวชิ้นใหม่ออกมาจากโปรแกรม After Effects
การทําภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม After Effects
โปรแกรม After Effects เป็นโปรแกรมที่นิยมใช้ในการทํางาน
ด้าน Motion graphic และ Visual – Effect ที่เหมาะสําหรับนํามาใช้ในงาน Presentation ,
Multimedia , งานโฆษณา และรวมไปถึงการทํา Special – Effect ต่าง ๆ ให้กับงานภาพยนตร์ โดย
เครื่องมือที่ใช้และลักษณะการใช้งานโดยทั่วไปในโปรแกรมนั้น ก็จะคล้ายกับโปรแกรมอื่น ๆ ใน
ตระกูล Adobe ดังนั้นในการเริ่มต้นใช้งาน After Effects ก็จะง่ายขึ้น ถ้าผู้ใช้เคยได้ใช้โปรแกรม
ของ Adobe เช่น Photoshop , Illustrator หรือ Premiere มาก่อน
การทํางานของโปรแกรม After Effects
ในการทํางานของโปรแกรม After Effects นั้น เปรียบเทียบกับการทํางานภาพยนตร์คือการ
ตัดต่อ เนื่องจากการทํางานของโปรแกรมจะทํางานในลักษณะที่เป็นการนําไฟล์ที่ทําเอาไว้เรียบร้อยแล้ว
จากที่อื่นเข้ามาใช้ โดยไฟล์ที่จะนํามาใช้งานโปรแกรม After Effects สามารถเป็น ไฟล์ใด ๆ ก็ได้
แทบทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นไฟล์ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และไฟล์เสียง โดยที่สามารถจะนําไฟล์
3
ทั้งหลายเหล่านี้มาใช้งานร่วมกัน เพื่อให้ได้งานที่เป็นภาพเคลื่อนไหวชิ้นใหม่ออกมาจาก
โปรแกรม After Effects
การเตรียมไฟล์ที่จะนํามาใช้งาน
เนื่องจากในการทํางานกับโปรแกรม After Effects จําเป็นจะต้องมีการนําไฟล์อื่นเข้ามาใช้
ร่วมด้วยอยู่เสมอจึงต้องมีการเตรียมไฟล์ที่จะใช้งานไว้ให้เรียบร้อยก่อน และจึงนําไฟล์ที่ได้เตรียมไว้แล้ว
มาใช้เป็นฟุตเทจในการทํางานของโปรแกรม After Effects
ระบบดิจิตอลวิดีโอ
สําหรับระบบ NTSC digital video ในมาตรฐานของ CCIR – 601 ที่นิยมใช้กันอยู่
ทั่วไป คือ NTSC D1 จะมีอัตราส่วนเท่ากับ 720 x 486 pixels และเช่นเดียวกัน
สําหรับ PAL D1 จะมีอัตราส่วนเท่ากับ 720 x 576
โดยอัตราส่วน 720 x 486 ของระบบ NTSC D1 จะไม่ได้เป็น 4 : 3 เท่ากับหน้าจอใน
ระบบอื่น ๆ และเนื่องจากว่า pixels ของระบบ D1 ไม่ได้มีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสเหมือน pixels ที่
ใช้ในระบบอื่น ๆ แต่จะมีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่ด้านกว้างมีขนาดแค่ 90 % ของด้านสูง จึงทํา
ให้ pixels ของระบบ D1 จะมีลักษณะผอมสูง และผลจากความแตกต่างของรูปร่าง pixels ส่งผลให้
งานบางชนิดเกิดการผิดพลาดได้เมื่อมีการย้ายจากระบบหนึ่งไปอีกระบบหนึ่ง
เมื่อนํางานจากระบบ NTSC D1 ไปแสดงงานบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ ก็จะมีภาพที่มีลักษณะ
แคบลงเมื่อนําไปใช้งานที่หน้าจอระบบ NTSC D1
ส่วนในระบบ PAL D1 ก็จะมี pixels ในทางกลับกันกับระบบ NTSC D1 คือ pixels
ระบบ PAL D1 จะมีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่กว้างเตี้ย ดังนั้นในการแสดงงานที่หน้าจอจะเป็น
ในทางกลับกันด้วยเช่นกัน เมื่อเป็นเช่นนี้จึงทําให้สิ่งสําคัญที่ควรระวังในการทํางานที่ต้องเกี่ยวข้องกับ
ระบบ D1 คือ อย่ามองข้ามอัตราส่วนต่าง ๆ ขอ pixels เหล่านี้
โปรแกรม After Effects สามารถเลือกที่จะกําหนดการแสดงผลในอัตราส่วนของ pixels
ระบบต่าง ๆ ของได้ ด้วยการกําหนดค่าที่หน้าต่าง Composition Settings ในการกําหนดค่าเพื่อสร้าง
หน่าง Composition ขึ้นมาและในปจจุบันก็ได้มีั PC ดิจิตอลวีดิโอรุ่นใหม่ ๆ บางรุ่น ที่สามารถใช้ได้
กับพื้นที่การแสดงงานที่มีขนาด720x480 pixels โดยระบบนี้ชื่อว่าระบบ DV (digital video)
ซึ่ง pixel จะมีอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนของระบบ D1
Adobe After Effect เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้าง motion graphic งาน Compositeซึ่งรูปแบบ
การใช้งานค่อนข้างง่าย เหมาะสําหรับผู้เริ่มต้น และมีคอนเซ็พท์ของโปรแกรมที่ทํางานในแบบเลเยอร์
4
ตัวอยางผลงาน่ ด้วยโปรแกรม After Effects
โทรทัศน์
เห็นได้ประจําทุกวันกับรายการทีวีเกือบทุกรายการ ละคร ข่าว และโฆษณาที่เราได้ดูกันอยู่ทุก
วันล้วนแต่มีการใช้ภาพกราฟิกเคลื่อนไหวและตกแต่งภาพ Video กันทั้งนั้น ซึ่งส่วนใหญ่ก็มักจะถูกสร้าง
ด้วยโปรแกรม After Effects เป็นเสียส่วนใหญ่
ภาพยนตร์
Special Effects ที่ตระการตาต่างๆ ที่เห็นในหนังภาพยนตร์ ฉากบู๊แอ็คชันระเบิดเถิดเทิงและ
เหนือจินตนาการสะใจคนดูกับเทคนิคการตกแต่งต่างๆ ที่ทําให้ภาพยนตร์นั้นดูสวยงามเสียเหลือเกิน ก็
สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยโปรแกรม After Effects
Internet
ในเว็บไซด์ต่างๆ ที่มีการนํา
ภาพกราฟิกเคลื่อนไหวมาใช้ ถ้าสังเกตดีๆ
ก็จะเห็นว่าไอ้ภาพเคลื่อนไหวที่เราเห็นกัน
นั้นถึงแม้จะสร้างขึ้นมาด้วยโปรแกรม
Multimedia ยอดนิยม เป็นโปรแกรม
Macromedia Flash เป็นเสียส่วนใหญ่ แต่
ก็จะเห็นว่ามีการนํากราฟิกเคลื่อนไหวมา
สร้างขึ้นมาจากโปรแกรม flash นั้นมา
ตกแต่งใส่ Effects ให้กับภาพกราฟิก
เคลื่อนไหวนั้นๆ ด้วยโปรแกรม After Effects ซึ่งทําให้งานที่ดูธรรมดา ในตอนแรกกลับมีชีวิตชีวามีชาติ
ตระกูลและน่าสนใจขึ้น
5
Animation
งานการ์ตูนแอนิเมชั่นต่างๆ ที่เราเห็นกันในบางฉากหรือบางตอนที่สร้าง Special Effects ก็
สามารถทําได้ด้วยโปรแกรม After Effects เช่นเดียวกับงานภาพยนตร์ นอกจากนี้การเคลื่อนไหวของ
ตัวการ์ตูน (ในรูปแบบ 2 มิติ) ก็สามารถทําได้เหมือนกัน
งาน Presentation ตางๆ่
การนําเสนอต่างๆ ที่เราต้องการทําให้ดูมีความสนใจยิ่งขึ้นด้วยเทคนิคของการเร้าความสนใจ
ด้วยภาพเคลื่อนไหว ก็สามารถทําได้โดยสร้างภาพกราฟิกเคลื่อนไหวสวย และ Effects ที่ดึงดูดให้ผู้คน
สนใจกับสิ่งที่เราต้องการนําเสนอได้เป็นอย่างดี

Contenu connexe

Tendances

การสร้างสระบบนำชมด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง 3D Vista
การสร้างสระบบนำชมด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง 3D Vistaการสร้างสระบบนำชมด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง 3D Vista
การสร้างสระบบนำชมด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง 3D VistaDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforiaการสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + VuforiaDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPointDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1
การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1
การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสมแผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสมkrunueng1
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิกใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิกsomdetpittayakom school
 
สื่อดิจิตอล ( Digital media )
สื่อดิจิตอล ( Digital media )สื่อดิจิตอล ( Digital media )
สื่อดิจิตอล ( Digital media )phakwan018
 

Tendances (20)

การสร้างสระบบนำชมด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง 3D Vista
การสร้างสระบบนำชมด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง 3D Vistaการสร้างสระบบนำชมด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง 3D Vista
การสร้างสระบบนำชมด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง 3D Vista
 
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforiaการสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
 
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพ
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1
การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1
การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1
 
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสมแผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
 
Adobe flash-คู่มือ-สำหรับครู
Adobe flash-คู่มือ-สำหรับครูAdobe flash-คู่มือ-สำหรับครู
Adobe flash-คู่มือ-สำหรับครู
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studioสอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
 
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิกใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
 
สื่อดิจิตอล ( Digital media )
สื่อดิจิตอล ( Digital media )สื่อดิจิตอล ( Digital media )
สื่อดิจิตอล ( Digital media )
 

Similaire à โปรแกรม After effect

การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกกชพร มณีพงษ์
 
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกกชพร มณีพงษ์
 
เอกสารประกอบการอบรม
เอกสารประกอบการอบรมเอกสารประกอบการอบรม
เอกสารประกอบการอบรมBurin Narin
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
ระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windowsระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ WindowsArrat Krupeach
 
คู่มือการใช้ Sony vegas 7
คู่มือการใช้  Sony vegas 7คู่มือการใช้  Sony vegas 7
คู่มือการใช้ Sony vegas 7Vinz Primo
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 
ข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียDuangsuwun Lasadang
 
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11Kroopop Su
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6Khon Kaen University
 
คู่มือ Sony Vegus 7.0
คู่มือ Sony Vegus 7.0คู่มือ Sony Vegus 7.0
คู่มือ Sony Vegus 7.0usanee31
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์Suthida23
 

Similaire à โปรแกรม After effect (20)

การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
Window mm
Window mmWindow mm
Window mm
 
เอกสารประกอบการอบรม
เอกสารประกอบการอบรมเอกสารประกอบการอบรม
เอกสารประกอบการอบรม
 
Window mm
Window mmWindow mm
Window mm
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windowsระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windows
 
Open source พื้นฐานที่ควรมี
Open source พื้นฐานที่ควรมีOpen source พื้นฐานที่ควรมี
Open source พื้นฐานที่ควรมี
 
คู่มือการใช้ Sony vegas 7
คู่มือการใช้  Sony vegas 7คู่มือการใช้  Sony vegas 7
คู่มือการใช้ Sony vegas 7
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
 
ข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดีย
 
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
 
ซอฟแวร์
ซอฟแวร์ซอฟแวร์
ซอฟแวร์
 
ซอฟแวร์
ซอฟแวร์ซอฟแวร์
ซอฟแวร์
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
 
คู่มือ Sony Vegus 7.0
คู่มือ Sony Vegus 7.0คู่มือ Sony Vegus 7.0
คู่มือ Sony Vegus 7.0
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 

Plus de Ch Khankluay

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Ch Khankluay
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2Ch Khankluay
 
การบ้านแผนที่1
การบ้านแผนที่1การบ้านแผนที่1
การบ้านแผนที่1Ch Khankluay
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดCh Khankluay
 
แผนที่1
แผนที่1แผนที่1
แผนที่1Ch Khankluay
 
นอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nf
นอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nfนอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nf
นอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nfCh Khankluay
 
แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11Ch Khankluay
 
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550Ch Khankluay
 
อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรมCh Khankluay
 
กฎหมายคอมพิวเตอร์
กฎหมายคอมพิวเตอร์กฎหมายคอมพิวเตอร์
กฎหมายคอมพิวเตอร์Ch Khankluay
 
โลกไร้อาชญากรรม
โลกไร้อาชญากรรมโลกไร้อาชญากรรม
โลกไร้อาชญากรรมCh Khankluay
 
จังหวัดยะลา
จังหวัดยะลาจังหวัดยะลา
จังหวัดยะลาCh Khankluay
 
พายุสุริยะ
พายุสุริยะพายุสุริยะ
พายุสุริยะCh Khankluay
 
การฝึกวิ่ง
การฝึกวิ่งการฝึกวิ่ง
การฝึกวิ่งCh Khankluay
 
พายุงวงช้าง
พายุงวงช้างพายุงวงช้าง
พายุงวงช้างCh Khankluay
 

Plus de Ch Khankluay (15)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
การบ้านแผนที่1
การบ้านแผนที่1การบ้านแผนที่1
การบ้านแผนที่1
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
แผนที่1
แผนที่1แผนที่1
แผนที่1
 
นอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nf
นอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nfนอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nf
นอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nf
 
แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11
 
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
 
อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรม
 
กฎหมายคอมพิวเตอร์
กฎหมายคอมพิวเตอร์กฎหมายคอมพิวเตอร์
กฎหมายคอมพิวเตอร์
 
โลกไร้อาชญากรรม
โลกไร้อาชญากรรมโลกไร้อาชญากรรม
โลกไร้อาชญากรรม
 
จังหวัดยะลา
จังหวัดยะลาจังหวัดยะลา
จังหวัดยะลา
 
พายุสุริยะ
พายุสุริยะพายุสุริยะ
พายุสุริยะ
 
การฝึกวิ่ง
การฝึกวิ่งการฝึกวิ่ง
การฝึกวิ่ง
 
พายุงวงช้าง
พายุงวงช้างพายุงวงช้าง
พายุงวงช้าง
 

โปรแกรม After effect

  • 1.
  • 2. 1 โปรแกรม After Effect เป็นโปรแกรมสําหรับงานทางด้าน Video Compost หรืองานซ้อนภาพ วีดีโอ รวมถึงงานทางด้านการตกแต่ง หรือเพิ่มเติม Effect พิเศษให้กับภาพ ลักษณะการทํางานของ โปรแกรม After Effect มีลักษณะเดียวกับโปรแกรม Photoshop เพียงแต่เปลี่ยนจากการทํางานภาพนิ่ง มาเป็นภาพเคลื่อนไหวผู้ที่มีพื้นทางด้านการใช้งานโปรแกรม Photoshop มาก่อน ก็จะสามารถใช้งาน โปรแกรม After Effect ได้ง่ายมากขึ้น โดยใช้โปรแกรม Adobe After Effect ซึ่งเป็นโปรแกรมยอดนิยมทางด้าน Motion Graphic ใช้ใน ธุรกิจการตัดต่อภาพยนตร์ งานโทรทัศน์ การสร้าง Project การใช้ Transition , Effect และ Plug in ต่างๆ ในการทํางาน การตัดต่องาน Motion Graphic เช่น การบันทึกเสียง , การทําเสียงพากย์ , การใส่ ดนตรีประกอบ นอกจากนี้ยังมีเทคนิคพิเศษต่างๆ เช่น การทําตัวอักษรให้เคลื่อนไหว , การซ้อนภาพ ร่วมกับโปรแกรมยอดนิยมต่างๆ และการทํา Mastering , การบันทึกผลงานลงเทป DV , VHS และการ แปลงไฟล์เพื่อทํา VCD , DVD โปรแกรม After Effect มารูจักกับ โปรแกรม After Effect บทที่ 1
  • 3. 2 After Effect เป็นโปรแกรมที่ใส่ Effect ให้กับ ภาพยนตร์ ในขั้นตอนการตัดต่อ ไฟล์ที่นําเข้ามา ใช้ในโปรแกรมนี้ได้เกือบทุกชนิดได้ทั้งภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ไฟล์เสียง ยิ่งถ้าเป็นการทํามาจาก โปรแกรม 3d แล้วมาทําต่อที่ After Effect จะทําให้งานสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยที่สามารถจะนําไฟล์ทั้งหลาย เหล่านี้มาใช้งานร่วมกัน เพื่อให้ได้งานที่เป็นภาพเคลื่อนไหวชิ้นใหม่ออกมาจากโปรแกรม After Effects การทําภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม After Effects โปรแกรม After Effects เป็นโปรแกรมที่นิยมใช้ในการทํางาน ด้าน Motion graphic และ Visual – Effect ที่เหมาะสําหรับนํามาใช้ในงาน Presentation , Multimedia , งานโฆษณา และรวมไปถึงการทํา Special – Effect ต่าง ๆ ให้กับงานภาพยนตร์ โดย เครื่องมือที่ใช้และลักษณะการใช้งานโดยทั่วไปในโปรแกรมนั้น ก็จะคล้ายกับโปรแกรมอื่น ๆ ใน ตระกูล Adobe ดังนั้นในการเริ่มต้นใช้งาน After Effects ก็จะง่ายขึ้น ถ้าผู้ใช้เคยได้ใช้โปรแกรม ของ Adobe เช่น Photoshop , Illustrator หรือ Premiere มาก่อน การทํางานของโปรแกรม After Effects ในการทํางานของโปรแกรม After Effects นั้น เปรียบเทียบกับการทํางานภาพยนตร์คือการ ตัดต่อ เนื่องจากการทํางานของโปรแกรมจะทํางานในลักษณะที่เป็นการนําไฟล์ที่ทําเอาไว้เรียบร้อยแล้ว จากที่อื่นเข้ามาใช้ โดยไฟล์ที่จะนํามาใช้งานโปรแกรม After Effects สามารถเป็น ไฟล์ใด ๆ ก็ได้ แทบทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นไฟล์ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และไฟล์เสียง โดยที่สามารถจะนําไฟล์
  • 4. 3 ทั้งหลายเหล่านี้มาใช้งานร่วมกัน เพื่อให้ได้งานที่เป็นภาพเคลื่อนไหวชิ้นใหม่ออกมาจาก โปรแกรม After Effects การเตรียมไฟล์ที่จะนํามาใช้งาน เนื่องจากในการทํางานกับโปรแกรม After Effects จําเป็นจะต้องมีการนําไฟล์อื่นเข้ามาใช้ ร่วมด้วยอยู่เสมอจึงต้องมีการเตรียมไฟล์ที่จะใช้งานไว้ให้เรียบร้อยก่อน และจึงนําไฟล์ที่ได้เตรียมไว้แล้ว มาใช้เป็นฟุตเทจในการทํางานของโปรแกรม After Effects ระบบดิจิตอลวิดีโอ สําหรับระบบ NTSC digital video ในมาตรฐานของ CCIR – 601 ที่นิยมใช้กันอยู่ ทั่วไป คือ NTSC D1 จะมีอัตราส่วนเท่ากับ 720 x 486 pixels และเช่นเดียวกัน สําหรับ PAL D1 จะมีอัตราส่วนเท่ากับ 720 x 576 โดยอัตราส่วน 720 x 486 ของระบบ NTSC D1 จะไม่ได้เป็น 4 : 3 เท่ากับหน้าจอใน ระบบอื่น ๆ และเนื่องจากว่า pixels ของระบบ D1 ไม่ได้มีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสเหมือน pixels ที่ ใช้ในระบบอื่น ๆ แต่จะมีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่ด้านกว้างมีขนาดแค่ 90 % ของด้านสูง จึงทํา ให้ pixels ของระบบ D1 จะมีลักษณะผอมสูง และผลจากความแตกต่างของรูปร่าง pixels ส่งผลให้ งานบางชนิดเกิดการผิดพลาดได้เมื่อมีการย้ายจากระบบหนึ่งไปอีกระบบหนึ่ง เมื่อนํางานจากระบบ NTSC D1 ไปแสดงงานบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ ก็จะมีภาพที่มีลักษณะ แคบลงเมื่อนําไปใช้งานที่หน้าจอระบบ NTSC D1 ส่วนในระบบ PAL D1 ก็จะมี pixels ในทางกลับกันกับระบบ NTSC D1 คือ pixels ระบบ PAL D1 จะมีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่กว้างเตี้ย ดังนั้นในการแสดงงานที่หน้าจอจะเป็น ในทางกลับกันด้วยเช่นกัน เมื่อเป็นเช่นนี้จึงทําให้สิ่งสําคัญที่ควรระวังในการทํางานที่ต้องเกี่ยวข้องกับ ระบบ D1 คือ อย่ามองข้ามอัตราส่วนต่าง ๆ ขอ pixels เหล่านี้ โปรแกรม After Effects สามารถเลือกที่จะกําหนดการแสดงผลในอัตราส่วนของ pixels ระบบต่าง ๆ ของได้ ด้วยการกําหนดค่าที่หน้าต่าง Composition Settings ในการกําหนดค่าเพื่อสร้าง หน่าง Composition ขึ้นมาและในปจจุบันก็ได้มีั PC ดิจิตอลวีดิโอรุ่นใหม่ ๆ บางรุ่น ที่สามารถใช้ได้ กับพื้นที่การแสดงงานที่มีขนาด720x480 pixels โดยระบบนี้ชื่อว่าระบบ DV (digital video) ซึ่ง pixel จะมีอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนของระบบ D1 Adobe After Effect เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้าง motion graphic งาน Compositeซึ่งรูปแบบ การใช้งานค่อนข้างง่าย เหมาะสําหรับผู้เริ่มต้น และมีคอนเซ็พท์ของโปรแกรมที่ทํางานในแบบเลเยอร์
  • 5. 4 ตัวอยางผลงาน่ ด้วยโปรแกรม After Effects โทรทัศน์ เห็นได้ประจําทุกวันกับรายการทีวีเกือบทุกรายการ ละคร ข่าว และโฆษณาที่เราได้ดูกันอยู่ทุก วันล้วนแต่มีการใช้ภาพกราฟิกเคลื่อนไหวและตกแต่งภาพ Video กันทั้งนั้น ซึ่งส่วนใหญ่ก็มักจะถูกสร้าง ด้วยโปรแกรม After Effects เป็นเสียส่วนใหญ่ ภาพยนตร์ Special Effects ที่ตระการตาต่างๆ ที่เห็นในหนังภาพยนตร์ ฉากบู๊แอ็คชันระเบิดเถิดเทิงและ เหนือจินตนาการสะใจคนดูกับเทคนิคการตกแต่งต่างๆ ที่ทําให้ภาพยนตร์นั้นดูสวยงามเสียเหลือเกิน ก็ สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยโปรแกรม After Effects Internet ในเว็บไซด์ต่างๆ ที่มีการนํา ภาพกราฟิกเคลื่อนไหวมาใช้ ถ้าสังเกตดีๆ ก็จะเห็นว่าไอ้ภาพเคลื่อนไหวที่เราเห็นกัน นั้นถึงแม้จะสร้างขึ้นมาด้วยโปรแกรม Multimedia ยอดนิยม เป็นโปรแกรม Macromedia Flash เป็นเสียส่วนใหญ่ แต่ ก็จะเห็นว่ามีการนํากราฟิกเคลื่อนไหวมา สร้างขึ้นมาจากโปรแกรม flash นั้นมา ตกแต่งใส่ Effects ให้กับภาพกราฟิก เคลื่อนไหวนั้นๆ ด้วยโปรแกรม After Effects ซึ่งทําให้งานที่ดูธรรมดา ในตอนแรกกลับมีชีวิตชีวามีชาติ ตระกูลและน่าสนใจขึ้น
  • 6. 5 Animation งานการ์ตูนแอนิเมชั่นต่างๆ ที่เราเห็นกันในบางฉากหรือบางตอนที่สร้าง Special Effects ก็ สามารถทําได้ด้วยโปรแกรม After Effects เช่นเดียวกับงานภาพยนตร์ นอกจากนี้การเคลื่อนไหวของ ตัวการ์ตูน (ในรูปแบบ 2 มิติ) ก็สามารถทําได้เหมือนกัน งาน Presentation ตางๆ่ การนําเสนอต่างๆ ที่เราต้องการทําให้ดูมีความสนใจยิ่งขึ้นด้วยเทคนิคของการเร้าความสนใจ ด้วยภาพเคลื่อนไหว ก็สามารถทําได้โดยสร้างภาพกราฟิกเคลื่อนไหวสวย และ Effects ที่ดึงดูดให้ผู้คน สนใจกับสิ่งที่เราต้องการนําเสนอได้เป็นอย่างดี