SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  17
Télécharger pour lire hors ligne
1


             สวัสดีค่ะชัวโมงนี ้ หนูอ้น หนูอ้วน จะพาไปศึกษาเรื่ อง
                        ่
       พุทธประวัติและพระจริยวัตรของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ านะคะ




พุทธประวัติ เราเข้ าใจ แต่พระจริยวัตร คืออะไร
นะ หนูอ้วน


                       พระจริยวัตร คือ หน้ าที่ที่พงประพฤติปฏิบติ,
                                                   ึ           ั
                       ความประพฤติ ไงละจ๊ ะหนูอ้น
2
  กรอบที่ 1


   เราจะเริ่มศึกษาพุทธประวัติ ตอนผจญมารครับ


                      พุทธประวัติ ตอนผจญมาร


         เมื่อพระโพธิสตว์ ทรงรับหญ้ ากุศะ 8 กําจากพราหมณ์ ชื่อโสตถิยะ
                       ั
แล้ ว ทรงนํ า ไปปูล าดเป็ นอาสนะที่ โคนต้ น “อั ส สั ต ถะ” (ต่ อ มาเรี ยก
ต้ นพระศรี มหาโพธิ์) ประทับนังผินพระพักตร์ ไปทางแม่นํ ้าเนรัญชรา ทรง
                                ่
ตังสัตยาธิฐานว่า “ตราบใดที่ยงไม่บรรลุสิ่งที่พงบรรลุด้วยความพยายาม ของ
   ้                          ั              ึ
บุรุษด้ วยเรี่ ยวแรงของบุรุษ แม้ ว่าเลือดและเนื ้อจะเหือดแห้ งไป เหลือแต่
หนังและกระดูกก็ตามที เราจะไม่ลกขึ ้นจากอาสนะนี ้”
                                      ุ


                      ไปทบทวนความรู้ต่อไปครับ
 นักเรียนเลือกคำตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว
                        ่ ่
     1. “อัสสัตถะ” หมายถึงต้ นใด
        ก. ต้ นโพธิ์
        ข. ต้ นพิกลุ
        ค. ต้ นแก้ ว
        ง. ต้ นลีลาวดี


                          ตอบเสร็จไปดูเฉลยครับ
3
เฉลยกรอบที่ 1                ข้ อ 1. ก. ต้ นโพธิ์


 เก่งมากครับ ตอบถูกอ่านกรอบต่อไป
 ถ้ าตอบไม่ถกกลับไปศึกษากรอบเดิมใหม่ครับ
            ู                                                      กรอบที่ 2


          ทรงนังสมาธิวิปัสสนา ได้ ฌาน ทรงฌานเป็ นฐานแห่งวิปัสสนาแนวดิ่ง
               ่
ต่อไปว่ากันว่า พญามารวสวัตตี ผู้ตามผจญพระองค์มาตลอด ตังแต่วน          ้ ั
เสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์ (ออกผนวช) มาปรากฏตัวพร้ อมเสนามาร
 มีอาวุธครบครันน่าสะพรึงกลัว พญามารร้ องบอก ให้ พระองค์เสด็จลุกจาก
                                    อาสนะว่า “บัลลังก์นี ้เป็ นของข้ า ท่านจง
                                           ลุกขึ ้นเดี๋ยวนี ้”เมื่อพระองค์แย้ งว่า
                                              บัลลังก์เป็ นของพระองค์
                                              พญามารถามหาพยาน
                                           พระองค์ทรงเหยียด พระดรรชนี
                                        ลงยังพื ้นดินและตรัสว่า “ขอให้
                                 วสุนธรา (พระแม่ธรณี) จงเป็ นพยาน”
          ทันใดนันพระแม่ธรณีก็ผดขึ ้นจากพื ้นปรากฏตัวบีบมวยผม บันดาล
                   ้              ุ
ให้ มี กระแสนํ าหลากมาท่ วมทับพญามารพร้ อมทังกองทัพพ่ ายไปในที่ สุ ด
                 ้                                     ้
เป็ นอันว่าพญามารพร้ อมทังกองทัพได้ พายแพ้ แก่พระองค์โดยสิ ้นเชิง
                            ้            ่
          เหตุการณ์ตอนนี ้ ต่อมาได้ ถกจําลองเป็ นพระพุทธรู ปปางหนึง
                                      ู                                    ่
เป็ นปางนังสมาธิ พระหัตถ์วางบนพระเพลา ชี ้พระดรรชนีลงพื ้นดิน
            ่
 เรี ยกว่า “ปางมารวิชัย” (อ่านว่า “มา–ระ– วิ-ไช”) หรื อ “ปางผจญมาร”
4


       จากเหตุการณ์ดงกล่าว สามารถวิเคราะห์ได้ ว่าการที่พระพุทธเจ้ า
                       ั
ทรงผจญมารและเอาชนะมารได้ ในที่สด ในคัมภีร์พระพุทธศาสนายืนยันว่า
                                    ุ
มีมารจริง มีเทพจริง และมารก็มีถึง 5 ประเภท ถ้ าจะแปลว่ามารในที่นี ้ คือ
เทวปุตตมาร (เทพที่เป็ นมาร) ก็ได้



                    ไปทบทวนความรู้ต่อไปครับ



    นักเรียนเลือกคำตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว
                                  ่ ่
        1. พญามารผู้ตามผจญพระพุทธเจ้ าคือใคร
            ก. พญามารสหัสพาหุ
            ข. พญามารวสวัตตี
            ค. พญามารนิมมานนรดี
            ง. พญามารองคุลีมาล
        2. เทวปุตตมาร มีความหมายตรงกับข้ อใด
            ก. เทพที่เป็ นเทวดา
            ข. เทพที่เป็ นนางฟา ้
            ค. เทพที่เป็ นยักษ์
            ง. เทพที่เป็ นมาร
5

                          ข้ อ 1. ข. พญามารวสวัตตี
  เฉลยกรอบที่ 2
                          ข้ อ 2. ง. เทพที่เป็ นมาร

   เยี่ยมมากครับ ตอบถูกอ่านกรอบต่อไป
   ถ้ าตอบไม่ถกกลับไปศึกษากรอบเดิมใหม่ครับ
              ู
                                                             กรอบที่ 3


         มาร แต่ถ้า “ถอดออกเป็ นภาษาธรรม” อาจหมายความว่า มาร ก็คือ
กิเลสได้ แก่ โลภะ โทสะ โมหะ ที่มารบกวนพระทัยพระพุทธองค์ในขณะนัง          ่
สมาธิ นนเอง เสนามาร ก็คือกิเลสเล็ก ๆ น้ อย ๆ ที่เป็ นบริ วารของโลภะ
         ั่
โทสะ โมหะ การที่ทรงผจญมาร ก็คือ ทรงต่อสู้กบอํานาจของกิเลสเหล่านี ้นันเอง
                                          ั                         ่
         ส่วนพระแม่ ธรณี ก็คือบารมีทง้ั 10 ที่ทรงบําเพ็ญมา การอ้ าง
พระแม่ธรณี ก็คือทรงอ้ างถึงคุณความดีที่ทรงบําเพ็ญมาเป็ นกําลังใจให้
ต่อสู้กบอํานาจของกิเลส เพราะพระบารมีที่ทรงบําเพ็ญมาเต็มเปี่ ยมพระองค์จึง
       ั
สามารถเอาชนะอํานาจของกิเลสทังปวง บรรลุอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณในที่สด
                                ้                                      ุ

     นักเรียนเลือกคำตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว
                                ่ ่
         1. ข้ อใด คือกิเลส
            ก. รัก หลง โกรธ
            ข. โลภะ โทสะ โมหะ
            ค. ขโมย ฆ่าสัตว์ ดื่มสุรา
            ง. สามัคคี มีวินย ใฝ่ ความรู้
                            ั

                          ตอบเสร็จไปดูเฉลยครับ
6

  เฉลยกรอบที่ 3             ข้ อ 1. ข. โลภะ โทสะ โมหะ


     เยี่ยมมากครับ ตอบถูกอ่านกรอบต่อไป
     ถ้ าตอบไม่ถกกลับไปศึกษากรอบเดิมใหม่ครับ
                ู

  กรอบที่ 4

                       พุทธประวัติ ตอนการตรัสรู้

         เมื่ อ ทรงผนวชแล้ ว พระสิ ท ธั ต ถะโคตมะ ได้ ศึ ก ษาค้ น คว้ า
 ทางพ้ นทุก ข์ อ ยู่เป็ นเวลา 6 ปี จึง ได้ ต รั ส รู้ เป็ นพระสัม มาสัมพุท ธเจ้ า
 ในช่ว งเวลา 6 ปี นี ้ พระองค์ ท รงทํ า อะไรบ้ า ง จะขอสรุ ป เป็ นขัน ตอน้
 ตามลําดับดังต่อไปนี ้
 ขันที่ 1 ทรงฝึ กปฎิบัติโยคะ ในแคว้ นมคธ สมัยนันมีอาจารย์ผ้ มีชื่อเสียง
    ้                                                        ้         ู
 อยู่ 2 ท่าน ที่ สอนวิ ธี ปฎิ บัติ โยคะ คื อ “อาฬารดาบส ” กับ “อุทกดาบส”
 พระสิทธัตถะโคตมะ ทรงไปขอศึกษาและปฎิบติอยู่กับอาจารย์ทงสองจนจบ
                                                  ั                 ั้
 ความรู้ของท่านทังสอง โดยได้ สําเร็จฌานสมาบัติ 7 ขัน จากอาฬารดาบส
                     ้                                         ้
 และได้ ฌานสมาบัติขนที่ 8 จากอุทกดาบส ก็ทรงทราบด้ วยพระองค์เองว่า
                         ั้
 ยังไม่ใช่ทางพ้ นทุกข์ที่แท้ จริ ง จึงอําลาอาจารย์ทงสองเพื่อแสวงหาหนทาง
                                                          ั้
 พ้ นทุกข์โดยลําพังต่อไป


ทบทวนความรู้ครับ
   1. พระสิทธัตถะได้ ตรัสรู้หลังจากที่ได้ ศกษาค้ นคว้ าอยู่เป็ นเวลากี่ปี
                                           ึ
7

   เฉลยกรอบที่ 4            ตอบ ทรงศึกษาอยู่นาน 6 ปี

                                                          กรอบที่ 5


ขันที่ 2 ทรงบาเพ็ญตบะ บํ าเพ็ญตบะ คื อ การทรมานตนเองให้
  ้
ลําบาก ตามวิธีทรมานตนเองแบบต่างๆ ที่นกบวชชาวอินเดียทํากันเป็ น
                                              ั
จํานวนมากและเชื่อว่าเป็ นแนวทางพ้ นทุกข์ทางหนึ่งในคัมภีร์พระไตรปิ ฏก
บันทึกไว้ ว่าพระพุทธเจ้ าทรงเล่าให้ สาวกทังหลายฟั งว่า พระองค์ทรงทําตบะ
                                          ้
หรื อทรมานตนหลายอย่างเช่น เปลือยกายตากลมและฝน ไม่ฉันปลา
และเนื ้อ ฉันโคมัย (กินมูลโค) ยืนเขย่งเท้ า ไม่ยอมนัง นอนบนหนาม
                                                        ่
แหลมคม ลงไปแช่นํ ้าเย็นจัดวันละสามเวลา เป็ นต้ น พระองค์ทรงทรมานตน
อย่างอุกฤษฎ์ปานฉะนี ้ ก็ยงไม่ค้นพบทางแห่ง ความพ้ นทุกข์จึงหันมาเริ่ ม
                            ั
ขันตอนขันที่ 3 อันเป็ นขันสุดท้ ายของตบะวิธี
    ้      ้              ้



น้ อง ๆ ตอบคําถามต่อไปนี ้นะครับ
1. บําเพ็ญตบะ หมายถึง การกระทําลักษณะใด




                                   คงสนุกกันมากนะครั บ ขอบคุณ
                                   น้ องอ้ วนกับน้ องอ้ นครั บที่มาช่ วย
                                   เล่ าเรื่ องให้ น้องๆได้ รับความรู้
                                   เชิญศึกษาต่ อเลยครั บ
8

เฉลยกรอบที่ 5            ตอบ บําเพ็ญตบะหมายถึงการทรมานตนเอง
                        ให้ ลําบากนักบวชชาวอินเดียเชื่อว่าเป็ นแนวทางพ้ นทุกข์
                                                                    กรอบที่ 6

ขันที่ 3 ทรงบาเพ็ญทุกรกิริยา “ทุกรกิริยา” แปลว่า การกระทําที่
   ้
ทําได้ ยากยิ่ง พระองค์ทรงเล่าไว้ ว่า ทรงกระทําเป็ น 3 ขันตอนตามลําดับ ดังนี ้
                                                        ้
         ขันที่ 1 กัดฟั น คือกัดฟั นเข้ าหากัน เอาลิ ้นดุนเพดาน ทํานาน ๆ
           ้
จนเกิดความร้ อนขึ ้นในร่างกาย จนเหงื่อไหลออกจากรักแร้
         ขันที่ 2 กลันลมหายใจ คือกลันลมหายใจ
             ้         ้                 ้
ให้ นานที่สดจนกระทังหูอื ้อ ปวดศีรษะ
                 ุ       ่
จุกเสียดท้ อง ร้ อนไปทัวสรรพางค์
                           ่
ดุจนังอยู่บนกองไฟ
      ่
         ขันที่ 3 อดอาหาร คือ ค่อย ๆ ลดอาหารลง
               ้
ทีละน้ อย ๆ ในที่สดไม่เสวยอะไรเลยเป็ นเวลานาน จนกระทัง
                     ุ                                           ่
ร่างกายผอมเหลือแต่หนังหุ้มกระดูก เวลาเอามือลูบกายเส้ นขนก็ร่วง
หลุดออกมาเป็ นกระจุก เดินไปไหนก็ซวดเซ เป็ นลมแทบสิ ้นชีวิต
พระองค์ทรงกระทําถึงขันนี ้ก็ยงไม่ตรัสรู้ จึงทรงคิดว่ามิใช่หนทางที่ถกต้ อง
                             ้   ั                                    ู
จึงทรงเลิกบําเพ็ญทุกรกิริยา แล้ วหันมาเสวยพระกระยาหารดังเดิม

นักเรียนเลือกคำตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว
                          ่ ่
  1. พระพุทธเจ้ าทรงบําเพ็ญทุกรกิริยา ตามลําดับขันตอนใด
                                                 ้
       ก. กลันลมหายใจ อดอาหาร กัดฟั น
               ้
       ข. กลันลมหายใจ กัดฟั น อดอาหาร
             ้
       ค. กัดฟั น กลันลมหายใจ อดอาหาร
                     ้
       ง. อดอาหาร กลันลมหายใจ กัดฟั น
                        ้
9

เฉลยกรอบที่ 6          ตอบ ข้ อ ค.
                                                               กรอบที่ 7

           พระองค์ทรงตระหนักว่าแนวทางที่ทรงทํามาเป็ นเวลา 6 ปี เต็ม
  เป็ นแนวทางที่ผดพลาดขณะเดียวกันก็ทรงค้ นพบทางสายใหม่ซงเรียกว่า “
                     ิ                                            ึ่
  “มัชฌิมาปฏิปทา” หรื อ “ทางสายกลาง” จากนันพระองค์ทรงดําเนิน
                                                       ้
  ตามทางสายกลางอันเป็ นขันสุดท้ าย
                                ้
           ในระหว่างนี ้ปั ญจวัคคีย์ (ศิษย์ทง้ั 5) ที่ตามมาอุปัฏฐากขณะที่
  ทรงบําเพ็ญทุกรกิริยาเห็นพระองค์ทรงกลับมาเสวยพระกระยาหาร
  จึงเสื่อมศรัทธาหาว่าพระองค์ทรงคลายความเพียรเวียนมาเป็ น
  คนมักมากเสียแล้ วคงไม่มีทางตรัสรู้แน่ จึงพากันปลีกตัวไปอยู่เสียที่อื่น
  ขันที่ 4 ทรงบาเพ็ญเพียรทางจิต พูดง่ายๆ คือ ทรงคิดค้ นหาเหตุผล
    ้
  ทางด้ านจิตใจนันเอง
                   ่
           เหตุการณ์ช่วงนี ้มีอยู่ว่า เมื่อพระองค์ทรงเลิกบําเพ็ญทุกรกิริยา
  แล้ วพระองค์ก็เสด็จลําพังพระองค์ ไปยังตําบลอุรุเวลาเสนานิคมใน
  ตอนเช้ าทรงรับข้ าว“มธุปายาส”จากนางสุชาดาซึงนํามาถวายโดยนาง
                                                         ่
  คิดว่าเป็ น เทวดาที่ตนบนบานขอบุตรชายไว้ หลังจากเสวยข้ าว
  มธุปายาสแล้ วก็ทรงลอยถาดลงในแม่นํ ้า ต่อมาในเวลาเย็นพระองค์ได้
  เสด็จข้ ามแม่นํ ้าเนรัญชราไปยังฝั่ งตะวันตกทรงนําเอาหญ้ ากุศะ (แปล
  ว่า หญ้ าคา) 8 กํา ที่นายโสตถิยะถวาย มาปูลาดเป็ นอาสนะ ณ
  โคนต้ นมหาโพธิ์ พระองค์ประทับนังขัดสมาธิ ผินพระพักตร์ ไปทาง
                                        ่
  ทิศตะวันออก พระปฤษฎางค์ (หลัง) พิงต้ นมหาโพธิ์
10


           ทรงเข้ าสมาธิจนจิตตังมันแน่วแน่บรรลุฌานทังสี่เป็ น “บาท”
                                      ้ ่                   ้
(เป็ นพื ้นฐาน) พิจารณาความเป็ นไปของธรรมชาติและสภาวธรรม
ทังหลายจนเกิดญาณ (การหยังรู้) ในสิ่งทังหลายตามความเป็ นจริง
  ้                                     ่        ้
ความรู้แจ่มแจ้ งนัน ปรากฏขึ ้นในพระทัยของพระองค์ดจมองเห็นด้ วย
                      ้                                       ุ
ตาเปล่าเป็ นความสว่างโพลงภายในที่ปราศจากความสงสัยเคลือบ
แคลงใด ๆ ความรู้นี ้ได้ ตอบปั ญหาที่ทรงค้ างพระทัยมาเป็ นเวลากว่า
หกปี พร้ อมกับการเกิดความรู้ด้านกิเลส (ความเศร้ าหมองแห่งจิต คือ
โลภ โกรธ หลง) ที่ทรงสงสัยอยู่ในจิตใจของพระองค์ก็ได้ ปลาสนาการ
ไปหมดสิ ้นการรู้แจ้ งของพระองค์สามารถสรุปเป็ นขัน ๆ ดังนี ้
                                                        ้
           1. ในยามต้ น ทรงระลึกชาติหนหลังของพระองค์ได้
           2. ในยามที่สอง ทรงได้ ตาทิพย์มองเห็นการเกิด การตายของ
สัตว์ทงหลายตามผลกรรมที่ได้ กระทําไว้
       ั้
           3. ในยามที่สาม ทรงเกิดความรู้แจ้ งที่สามารถทําลายกิเลสให้
หมดสิ ้นไปได้
           สิ่งที่พระองค์ตรัสรู้นี ้ก็คือ กระบวนการเกิดขึ ้นของทุกข์และ
การดับทุกข์ เรี ยกว่า “อริ ยสัจ” คือ ทุกข์ สมุทย นิโรธ มรรค
                                                     ั
เหตุการณ์ครังนี ้เกิดขึ ้นในเวลารุ่งอรุณของคืนวันเพ็ญเดือนวิสาขะ
                   ้
(เดือน 6) ก่อนพุทธศักราช 45 ปี

 ไปทบทวนความรู้ครับ นักเรี ยนเติมคําในช่องว่าง
 นะครับฌิมาปฏิปทา คือ ..............................
  1. มัช
  2. “อริยสัจ” คือ .........................................
11

      เฉลยกรอบที่ 7

       ข้ อ 1 ทางสายกลาง
       ข้ อ 2 กระบวนการเกิดขึ ้นของทุกข์และการดับทุกข์ ได้ แก่ ทุกข์ สมุทย
                                                                         ั
นิโรธ มรรค



                        เก่งมากครับ ตอบถูกอ่านกรอบต่อไป
                        ถ้ าตอบไม่ถกกลับไปศึกษากรอบเดิมใหม่ครับ
                                   ู




                          เมื่อพระพุทธเจ้ าตรัสรู้ธรรมแล้ ว พระองค์เสด็จ
                          ไปสังสอนใครก่อน เราศึกษาต่อนะครับ
                               ่
12

  พระพุทธเจ้ าทรงสังสอนธรรม
                   ่                                          กรอบที่ 8
  ครังแรกให้ ปัญจวัคคีย์ครับ
     ้



                                การสั่งสอน
         พระพุทธเจ้ าพระองค์ เสด็จไปตรัสสอน “ธั มมจักกัปปวัตนสู ตร” ว่า
ด้ วยอริ ยสัจ 4 ประการ แก่ ปัญจวัคคี ย์ โกณฑั ญญะหัวหน้ าปั ญจวัคคี ย์ได้
“ดวงตาเห็น ธรรม” ทันที ที่ ฟัง พระธรรมเทศนาจบได้ ทูล ขอบวช พระองค์
ประทานอุปสมบทให้ ด้วยวิ ธีอุปสมบทที่ เรี ยกว่า “เอหิภิกขุ ” นับเป็ นพระสาวก
รูปแรกของพระพุทธองค์
                          ไปทบทวนความรู้ก่อนนะคะ


              นักเรียนเลือกคำตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว
                                      ่ ่
                  1. พระพุทธเจ้ าทรงสอนธรรมเรื่ องใดเป็ นเรื่ องแรก
                     ก. อนัตตลักขณสูตร
                     ข. อาทิตตปริยายสูตร
                     ค. ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
                     ง. กาลามสูตร
                 2. สาวกที่พระพุทธเจ้าบวชให้เรี ยกว่าอะไร
                     ก. เอหิภิกขุ
                     ข. อุปสมบท
                     ค. บรรพชา
                     ง. ถูกทุกข้ อ
13
                            ข้ อ 1 ค. ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
     เฉลยกรอบที่ 8
                            ข้ อ 2 ก. เอหิภิกขุ
                        เก่งมากค่ะ ตอบถูกศึกษาต่อไป ตอบไม่ถก
                                                           ู
                       กลับไปศึกษาใหม่อีกครังค่ะ
                                            ้

                                                            กรอบที่ 9

        จากนันก็ทรงแสดงธรรมให้ อีก 4 ท่าน จนได้ ดวงตาเห็นธรรม และทูลขอ
              ้
บวชเป็ นภิกษุ ตามลําดับ หลังจากนันก็ทรงแสดง “อนั ตตลักขณสูตร” (ว่า
                                     ้
ด้ วยไตรลักษณ์ คือ อนิจจตา ทุกขตา อนัตตา) ปั ญจวัคคีย์ได้ บรรลุอรหัตผล
        หลังจากนันก็ ประทานอุปสมบทให้ ยสกุมาร และสหายของยสะอี ก
                  ้
54 คน จนมีพระอรหันตสาวกครบ 60 รู ป พระองค์ก็ทรงส่งให้ แยกย้ ายกันไป
ประกาศพระพุทธศาสนายัง ทิศต่า งๆ ส่วนพระองค์ เองก็ เ สด็จไปโปรดชฎิ ล
สามพี่น้องพร้ อมบริ วารจํานวนหนึ่งพันคน โดยทรงแสดง “อาทิตตปริ ยายสูตร”
(สูตรว่าด้ วยไฟ) จนชฎิลสามพี่น้องพร้ อมบริ วารได้ บวชเป็ นสาวกของพระพุทธ
องค์                       ไปทบทวนความรู้ต่อไปครับ


             นักเรียนเลือกคำตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว
                                      ่ ่
                1. “อาทิตตปริยายสูตร” พระพุทธเจ้ าทรงสอนธรรมแก่ใคร
                    ก. โกณฑัญญะ
                    ข. ชฎิลสามพี่น้อง
                    ค. พระอัสสซิ
                    ง. ยสกุมาร
                                   ตอบเสร็จไปดูเฉลยครับ
14
                          ข้ อ 1 ข. ชฎิลสามพี่น้อง
   เฉลยกรอบที่ 9

                                                           กรอบที่ 10


            พระเจ้ าพิมพิสาร และชาวเมืองมคธ ที่นบถือชฎิลสามพี่น้อง เมื่อเห็น
                                                ั
อาจารย์ของพวกตนมานับถือพระพุทธเจ้ าเป็ นศาสดา
ก็พากันเลื่อมใส ปฏิญาณตนนับถือไตรสรณคมน์
เป็ นที่พงบ้ าง พระเจ้ าพิมพิสารทรงสร้ าง
         ึ่
วัดพระเวฬุวันถวายเป็ นวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา
            ในระหว่างนี ้เอง อุปติสสมาณพ
กับ โกลิตมาณพ ศิษย์ของสัญชัยเวลัฏฐบุตร
หนึงในจํานวนครูทงหก มาบวชเป็ นสาวกของ
      ่               ั้
พระพุทธองค์โดยการแนะนําของ พระอัสสชิ
หลังจากบวชแล้ วอุปติสสะมีชื่อเรี ยกว่า พระสารี บุตร โกลิตะมีชื่อเรี ยกว่า
พระโมคคัลลานะ ทังสองท่านต่อมาไม่นานก็ได้ รับแต่งตังจากพระพุทธองค์
                           ้                              ้
ให้ เป็ นพระสาวกเบื ้องขวาและเบื ้องซ้ าย โดยพระสารี บุตรเป็ นพระอัครสาวก
เบื ้องขวา เลิศกว่าภิกษุทงหลายในทางมีปัญญามาก พระโมคคัลลานะเป็ น
                             ั้
พระอัครสาวกเบื ้องซ้ ายเลิศกว่าภิกษุทงหลายทางมีฤทธิ์มาก
                                        ั้


     นักเรียนเลือกคำตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว
                               ่ ่
     1. พระอัครสาวกเบื ้องขวา คือใคร
         ก. โกณฑัญญะ               ข. พระโมคคัลลานะ
         ค. พระเจ้ าพิมพิสาร        ง. พระสารี บตร
                                                ุ
15
                       ข้ อ 1. ง. พระสารี บตร
                                           ุ
เฉลยกรอบที่ 10
                          เยี่ยมมากค่ะ ตอบถูกศึกษาต่อไป ตอบไม่ถก
                                                               ู
                          กลับไปศึกษาใหม่อีกครังค่ะ
                                                ้

                                                          กรอบที่ 11


จากนันไม่นาน สุทตตเศรษฐี (ต่อมาปรากฎนามว่า อนาถบิณฑิกเศรษฐี )
        ้              ั
ได้ เดินทางมาพบพระพุทธเจ้ า ทูลอาราธนาพระพุทธองค์ให้ เสด็จไปโปรด
ชาวเมืองสาวัตถี แคว้ นโกศล สุทตตะเองได้ สร้ างวัดถวายนามว่า พระเชตวัน-
                                 ั
มหาวิหาร พระพุทธองค์เสด็จไปประทับเป็ นประจํา ทําให้ ศูนย์กลางของ
พระพุทธศาสนาได้ ย้ายจากกรุงราชคฤห์ไปอยู่ยงที่เมืองสาวัตถีในเวลาต่อมา
                                             ั
            พุทธศาสนาได้ เจริ ญแพร่ หลายในเวลาอันรวดเร็ ว หลังจากนันก็
                                                                     ้
เกิดมีพทธบริ ษัทครบ 4 คือ ภิกษุบริ ษัท ภิกษุณีบริ ษัท อุบาสกบริ ษัท และ
          ุ
อุบาสิกาบริษัท
            เมื่อพระพุทธศาสนาเจริ ญมันคงแล้ ว พระพุทธองค์หลังจากเสด็จ
                                     ่
ไปโปรดเวไนยสัตว์ ยังแว่นแคว้ นต่างๆ เป็ นเวลา 45 พรรษา ก็ได้ เสด็จ
ดับขันธปริ นิพพาน เมื่ อพระชนมายุได้ 80 พรรษา ณ สาลวโนทยาน
ของเหล่ามัลลกษัตริย์ กรุงกุสินารา ในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ


          ทบทวนความรู้ต่อไปครับ
16

                                 มาทบทวนความรู้ กรอบที่ 11 ค่ะ




นักเรียนเลือกคำตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว
                              ่ ่
       1. ข้ อใดเป็ นพุทธบริ ษััท 4
           ก. ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
          ข. ทุกข์ สมุทย นิโรธ มรรค
                          ั
          ค. โลภ โกรธ หลง รัก
          ง. เกิด แก่ เจ็บ ตาย
      2. พระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานพระชนมายุได้ กี่พรรษา
           ก. 35 พรรษา
           ข. 45 พรรษา
           ค. 60 พรรษา
           ง. 80 พรรษา
       3. พระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานที่ใด
           ก. กรุงราชคฤห์
           ข. กรุงกบิลพัสดุ์
           ค. กรุงกุสินารา
           ง. อุรุเวลาเสนานิคม



                          ตอบเสร็จไปดูเฉลยค่ะ
17

เฉลยกรอบที่ 11          ข้ อ 1 ก. ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
                        ข้ อ 2 ง. 80 พรรษา
                        ข้ อ 3 ค. กรุงกุสินารา
      จากที่หนูอ้นกับหนูอ้วนเล่ามาทังหมดนี ้
                                    ้                 กรอบที่ 12
      ใครพอจะสรุปได้ บ้างคะ



    แกละขอสรุป อย่างนี ้นะครับ
            ขณะที่พระสิทธัตถะทรงบําเพ็ญเพียรเพื่อแสวงหาหนทางพ้ น
ทุกข์ พญามารวสวัตตีได้ ตามมาผจญ รบกวนสมาธิของพระองค์
แม่พระธรณีได้ เสด็จมาช่วยพระองค์จนพ้ นภัยจากพญามาร เหตุการณ์
นี ้จึงเป็ นที่มาของการสร้ างพระพุทธรูปปางมารวิชย พระสิทธัตถะได้
                                                 ั
ทรงค้ นหาทางดับทุกข์ เช่น ฝึ กปฏิบติโยคะเพื่อบําเพ็ญตะบะ บําเพ็ญ
                                       ั
ทุกรกิริยา แต่ไม่สําเร็ จจึงมาบําเพ็ญทางจิตและหลังจากได้ เสวยข้ าว
มธุปายาสที่นางสุชาดานํามาถวาย ในคืนนัน พระองค์ก็ได้ ตรัสรู้ ที่
                                             ้
เรี ยกว่า อริยสัจ 4 หลังจากนันได้ ไปโปรด ปั จจวัคคีย์ ด้ วย “ธัมจัก-
                                ้
กัปปวัตนสูตร” และ”อนัตตลักขณสูตร”จากนันได้ ไปโปรดชฎิล
                                               ้
สามพี่น้อง พระเจ้ าพิมพิสาร อุปติสสะ โกลิตะ สุทตตเศรษฐี
                                                   ั
และสัตว์โลกอื่น ๆ จนถึงกาลปรินิพพานเมื่อพระชนมายุได้ 80
พรรษาที่เมืองกุสินารา
            จะเห็นได้ ว่าพระองค์มีความเพียรพยายามจึงทําให้ ได้
ตรัสรู้ มนุษย์เราจึงควรดําเนินชีวิตโดยเดินทางสายกลาง ไม่ตง      ึ
เกินไปหรื อหย่อนเกินไปเปรี ยบได้ กบพิณ 3 สาย
                                     ั

Contenu connexe

Tendances

การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
พัน พัน
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
Thiranan Suphiphongsakorn
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
website22556
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
dnavaroj
 
34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ
My Parents
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
Jiraprapa Suwannajak
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
yasotornrit
 

Tendances (20)

การใช้ Cause effect markers
การใช้ Cause effect markersการใช้ Cause effect markers
การใช้ Cause effect markers
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
ใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1page
ใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1pageใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1page
ใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1page
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
หู
หูหู
หู
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
 
6 colligative
6 colligative6 colligative
6 colligative
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
 
34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 

Similaire à Buddha

ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
Panda Jing
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
Panda Jing
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Nid Noy Kaowkong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Nid Noy Kaowkong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Jariya Huangjing
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
Tongsamut vorasan
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
Tongsamut vorasan
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
Tongsamut vorasan
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
Kat Suksrikong
 
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tongsamut vorasan
 

Similaire à Buddha (20)

ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
มนุษย์กับการสร้างสรรค์
มนุษย์กับการสร้างสรรค์มนุษย์กับการสร้างสรรค์
มนุษย์กับการสร้างสรรค์
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
 
Tripoom
TripoomTripoom
Tripoom
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
Lion
LionLion
Lion
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
งานด่วน
งานด่วนงานด่วน
งานด่วน
 
งานด่วน
งานด่วนงานด่วน
งานด่วน
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิตบาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
 
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
 

Buddha

  • 1. 1 สวัสดีค่ะชัวโมงนี ้ หนูอ้น หนูอ้วน จะพาไปศึกษาเรื่ อง ่ พุทธประวัติและพระจริยวัตรของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ านะคะ พุทธประวัติ เราเข้ าใจ แต่พระจริยวัตร คืออะไร นะ หนูอ้วน พระจริยวัตร คือ หน้ าที่ที่พงประพฤติปฏิบติ, ึ ั ความประพฤติ ไงละจ๊ ะหนูอ้น
  • 2. 2 กรอบที่ 1 เราจะเริ่มศึกษาพุทธประวัติ ตอนผจญมารครับ พุทธประวัติ ตอนผจญมาร เมื่อพระโพธิสตว์ ทรงรับหญ้ ากุศะ 8 กําจากพราหมณ์ ชื่อโสตถิยะ ั แล้ ว ทรงนํ า ไปปูล าดเป็ นอาสนะที่ โคนต้ น “อั ส สั ต ถะ” (ต่ อ มาเรี ยก ต้ นพระศรี มหาโพธิ์) ประทับนังผินพระพักตร์ ไปทางแม่นํ ้าเนรัญชรา ทรง ่ ตังสัตยาธิฐานว่า “ตราบใดที่ยงไม่บรรลุสิ่งที่พงบรรลุด้วยความพยายาม ของ ้ ั ึ บุรุษด้ วยเรี่ ยวแรงของบุรุษ แม้ ว่าเลือดและเนื ้อจะเหือดแห้ งไป เหลือแต่ หนังและกระดูกก็ตามที เราจะไม่ลกขึ ้นจากอาสนะนี ้” ุ ไปทบทวนความรู้ต่อไปครับ นักเรียนเลือกคำตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว ่ ่ 1. “อัสสัตถะ” หมายถึงต้ นใด ก. ต้ นโพธิ์ ข. ต้ นพิกลุ ค. ต้ นแก้ ว ง. ต้ นลีลาวดี ตอบเสร็จไปดูเฉลยครับ
  • 3. 3 เฉลยกรอบที่ 1 ข้ อ 1. ก. ต้ นโพธิ์ เก่งมากครับ ตอบถูกอ่านกรอบต่อไป ถ้ าตอบไม่ถกกลับไปศึกษากรอบเดิมใหม่ครับ ู กรอบที่ 2 ทรงนังสมาธิวิปัสสนา ได้ ฌาน ทรงฌานเป็ นฐานแห่งวิปัสสนาแนวดิ่ง ่ ต่อไปว่ากันว่า พญามารวสวัตตี ผู้ตามผจญพระองค์มาตลอด ตังแต่วน ้ ั เสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์ (ออกผนวช) มาปรากฏตัวพร้ อมเสนามาร มีอาวุธครบครันน่าสะพรึงกลัว พญามารร้ องบอก ให้ พระองค์เสด็จลุกจาก อาสนะว่า “บัลลังก์นี ้เป็ นของข้ า ท่านจง ลุกขึ ้นเดี๋ยวนี ้”เมื่อพระองค์แย้ งว่า บัลลังก์เป็ นของพระองค์ พญามารถามหาพยาน พระองค์ทรงเหยียด พระดรรชนี ลงยังพื ้นดินและตรัสว่า “ขอให้ วสุนธรา (พระแม่ธรณี) จงเป็ นพยาน” ทันใดนันพระแม่ธรณีก็ผดขึ ้นจากพื ้นปรากฏตัวบีบมวยผม บันดาล ้ ุ ให้ มี กระแสนํ าหลากมาท่ วมทับพญามารพร้ อมทังกองทัพพ่ ายไปในที่ สุ ด ้ ้ เป็ นอันว่าพญามารพร้ อมทังกองทัพได้ พายแพ้ แก่พระองค์โดยสิ ้นเชิง ้ ่ เหตุการณ์ตอนนี ้ ต่อมาได้ ถกจําลองเป็ นพระพุทธรู ปปางหนึง ู ่ เป็ นปางนังสมาธิ พระหัตถ์วางบนพระเพลา ชี ้พระดรรชนีลงพื ้นดิน ่ เรี ยกว่า “ปางมารวิชัย” (อ่านว่า “มา–ระ– วิ-ไช”) หรื อ “ปางผจญมาร”
  • 4. 4 จากเหตุการณ์ดงกล่าว สามารถวิเคราะห์ได้ ว่าการที่พระพุทธเจ้ า ั ทรงผจญมารและเอาชนะมารได้ ในที่สด ในคัมภีร์พระพุทธศาสนายืนยันว่า ุ มีมารจริง มีเทพจริง และมารก็มีถึง 5 ประเภท ถ้ าจะแปลว่ามารในที่นี ้ คือ เทวปุตตมาร (เทพที่เป็ นมาร) ก็ได้ ไปทบทวนความรู้ต่อไปครับ นักเรียนเลือกคำตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว ่ ่ 1. พญามารผู้ตามผจญพระพุทธเจ้ าคือใคร ก. พญามารสหัสพาหุ ข. พญามารวสวัตตี ค. พญามารนิมมานนรดี ง. พญามารองคุลีมาล 2. เทวปุตตมาร มีความหมายตรงกับข้ อใด ก. เทพที่เป็ นเทวดา ข. เทพที่เป็ นนางฟา ้ ค. เทพที่เป็ นยักษ์ ง. เทพที่เป็ นมาร
  • 5. 5 ข้ อ 1. ข. พญามารวสวัตตี เฉลยกรอบที่ 2 ข้ อ 2. ง. เทพที่เป็ นมาร เยี่ยมมากครับ ตอบถูกอ่านกรอบต่อไป ถ้ าตอบไม่ถกกลับไปศึกษากรอบเดิมใหม่ครับ ู กรอบที่ 3 มาร แต่ถ้า “ถอดออกเป็ นภาษาธรรม” อาจหมายความว่า มาร ก็คือ กิเลสได้ แก่ โลภะ โทสะ โมหะ ที่มารบกวนพระทัยพระพุทธองค์ในขณะนัง ่ สมาธิ นนเอง เสนามาร ก็คือกิเลสเล็ก ๆ น้ อย ๆ ที่เป็ นบริ วารของโลภะ ั่ โทสะ โมหะ การที่ทรงผจญมาร ก็คือ ทรงต่อสู้กบอํานาจของกิเลสเหล่านี ้นันเอง ั ่ ส่วนพระแม่ ธรณี ก็คือบารมีทง้ั 10 ที่ทรงบําเพ็ญมา การอ้ าง พระแม่ธรณี ก็คือทรงอ้ างถึงคุณความดีที่ทรงบําเพ็ญมาเป็ นกําลังใจให้ ต่อสู้กบอํานาจของกิเลส เพราะพระบารมีที่ทรงบําเพ็ญมาเต็มเปี่ ยมพระองค์จึง ั สามารถเอาชนะอํานาจของกิเลสทังปวง บรรลุอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณในที่สด ้ ุ นักเรียนเลือกคำตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว ่ ่ 1. ข้ อใด คือกิเลส ก. รัก หลง โกรธ ข. โลภะ โทสะ โมหะ ค. ขโมย ฆ่าสัตว์ ดื่มสุรา ง. สามัคคี มีวินย ใฝ่ ความรู้ ั ตอบเสร็จไปดูเฉลยครับ
  • 6. 6 เฉลยกรอบที่ 3 ข้ อ 1. ข. โลภะ โทสะ โมหะ เยี่ยมมากครับ ตอบถูกอ่านกรอบต่อไป ถ้ าตอบไม่ถกกลับไปศึกษากรอบเดิมใหม่ครับ ู กรอบที่ 4 พุทธประวัติ ตอนการตรัสรู้ เมื่ อ ทรงผนวชแล้ ว พระสิ ท ธั ต ถะโคตมะ ได้ ศึ ก ษาค้ น คว้ า ทางพ้ นทุก ข์ อ ยู่เป็ นเวลา 6 ปี จึง ได้ ต รั ส รู้ เป็ นพระสัม มาสัมพุท ธเจ้ า ในช่ว งเวลา 6 ปี นี ้ พระองค์ ท รงทํ า อะไรบ้ า ง จะขอสรุ ป เป็ นขัน ตอน้ ตามลําดับดังต่อไปนี ้ ขันที่ 1 ทรงฝึ กปฎิบัติโยคะ ในแคว้ นมคธ สมัยนันมีอาจารย์ผ้ มีชื่อเสียง ้ ้ ู อยู่ 2 ท่าน ที่ สอนวิ ธี ปฎิ บัติ โยคะ คื อ “อาฬารดาบส ” กับ “อุทกดาบส” พระสิทธัตถะโคตมะ ทรงไปขอศึกษาและปฎิบติอยู่กับอาจารย์ทงสองจนจบ ั ั้ ความรู้ของท่านทังสอง โดยได้ สําเร็จฌานสมาบัติ 7 ขัน จากอาฬารดาบส ้ ้ และได้ ฌานสมาบัติขนที่ 8 จากอุทกดาบส ก็ทรงทราบด้ วยพระองค์เองว่า ั้ ยังไม่ใช่ทางพ้ นทุกข์ที่แท้ จริ ง จึงอําลาอาจารย์ทงสองเพื่อแสวงหาหนทาง ั้ พ้ นทุกข์โดยลําพังต่อไป ทบทวนความรู้ครับ 1. พระสิทธัตถะได้ ตรัสรู้หลังจากที่ได้ ศกษาค้ นคว้ าอยู่เป็ นเวลากี่ปี ึ
  • 7. 7 เฉลยกรอบที่ 4 ตอบ ทรงศึกษาอยู่นาน 6 ปี กรอบที่ 5 ขันที่ 2 ทรงบาเพ็ญตบะ บํ าเพ็ญตบะ คื อ การทรมานตนเองให้ ้ ลําบาก ตามวิธีทรมานตนเองแบบต่างๆ ที่นกบวชชาวอินเดียทํากันเป็ น ั จํานวนมากและเชื่อว่าเป็ นแนวทางพ้ นทุกข์ทางหนึ่งในคัมภีร์พระไตรปิ ฏก บันทึกไว้ ว่าพระพุทธเจ้ าทรงเล่าให้ สาวกทังหลายฟั งว่า พระองค์ทรงทําตบะ ้ หรื อทรมานตนหลายอย่างเช่น เปลือยกายตากลมและฝน ไม่ฉันปลา และเนื ้อ ฉันโคมัย (กินมูลโค) ยืนเขย่งเท้ า ไม่ยอมนัง นอนบนหนาม ่ แหลมคม ลงไปแช่นํ ้าเย็นจัดวันละสามเวลา เป็ นต้ น พระองค์ทรงทรมานตน อย่างอุกฤษฎ์ปานฉะนี ้ ก็ยงไม่ค้นพบทางแห่ง ความพ้ นทุกข์จึงหันมาเริ่ ม ั ขันตอนขันที่ 3 อันเป็ นขันสุดท้ ายของตบะวิธี ้ ้ ้ น้ อง ๆ ตอบคําถามต่อไปนี ้นะครับ 1. บําเพ็ญตบะ หมายถึง การกระทําลักษณะใด คงสนุกกันมากนะครั บ ขอบคุณ น้ องอ้ วนกับน้ องอ้ นครั บที่มาช่ วย เล่ าเรื่ องให้ น้องๆได้ รับความรู้ เชิญศึกษาต่ อเลยครั บ
  • 8. 8 เฉลยกรอบที่ 5 ตอบ บําเพ็ญตบะหมายถึงการทรมานตนเอง ให้ ลําบากนักบวชชาวอินเดียเชื่อว่าเป็ นแนวทางพ้ นทุกข์ กรอบที่ 6 ขันที่ 3 ทรงบาเพ็ญทุกรกิริยา “ทุกรกิริยา” แปลว่า การกระทําที่ ้ ทําได้ ยากยิ่ง พระองค์ทรงเล่าไว้ ว่า ทรงกระทําเป็ น 3 ขันตอนตามลําดับ ดังนี ้ ้ ขันที่ 1 กัดฟั น คือกัดฟั นเข้ าหากัน เอาลิ ้นดุนเพดาน ทํานาน ๆ ้ จนเกิดความร้ อนขึ ้นในร่างกาย จนเหงื่อไหลออกจากรักแร้ ขันที่ 2 กลันลมหายใจ คือกลันลมหายใจ ้ ้ ้ ให้ นานที่สดจนกระทังหูอื ้อ ปวดศีรษะ ุ ่ จุกเสียดท้ อง ร้ อนไปทัวสรรพางค์ ่ ดุจนังอยู่บนกองไฟ ่ ขันที่ 3 อดอาหาร คือ ค่อย ๆ ลดอาหารลง ้ ทีละน้ อย ๆ ในที่สดไม่เสวยอะไรเลยเป็ นเวลานาน จนกระทัง ุ ่ ร่างกายผอมเหลือแต่หนังหุ้มกระดูก เวลาเอามือลูบกายเส้ นขนก็ร่วง หลุดออกมาเป็ นกระจุก เดินไปไหนก็ซวดเซ เป็ นลมแทบสิ ้นชีวิต พระองค์ทรงกระทําถึงขันนี ้ก็ยงไม่ตรัสรู้ จึงทรงคิดว่ามิใช่หนทางที่ถกต้ อง ้ ั ู จึงทรงเลิกบําเพ็ญทุกรกิริยา แล้ วหันมาเสวยพระกระยาหารดังเดิม นักเรียนเลือกคำตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว ่ ่ 1. พระพุทธเจ้ าทรงบําเพ็ญทุกรกิริยา ตามลําดับขันตอนใด ้ ก. กลันลมหายใจ อดอาหาร กัดฟั น ้ ข. กลันลมหายใจ กัดฟั น อดอาหาร ้ ค. กัดฟั น กลันลมหายใจ อดอาหาร ้ ง. อดอาหาร กลันลมหายใจ กัดฟั น ้
  • 9. 9 เฉลยกรอบที่ 6 ตอบ ข้ อ ค. กรอบที่ 7 พระองค์ทรงตระหนักว่าแนวทางที่ทรงทํามาเป็ นเวลา 6 ปี เต็ม เป็ นแนวทางที่ผดพลาดขณะเดียวกันก็ทรงค้ นพบทางสายใหม่ซงเรียกว่า “ ิ ึ่ “มัชฌิมาปฏิปทา” หรื อ “ทางสายกลาง” จากนันพระองค์ทรงดําเนิน ้ ตามทางสายกลางอันเป็ นขันสุดท้ าย ้ ในระหว่างนี ้ปั ญจวัคคีย์ (ศิษย์ทง้ั 5) ที่ตามมาอุปัฏฐากขณะที่ ทรงบําเพ็ญทุกรกิริยาเห็นพระองค์ทรงกลับมาเสวยพระกระยาหาร จึงเสื่อมศรัทธาหาว่าพระองค์ทรงคลายความเพียรเวียนมาเป็ น คนมักมากเสียแล้ วคงไม่มีทางตรัสรู้แน่ จึงพากันปลีกตัวไปอยู่เสียที่อื่น ขันที่ 4 ทรงบาเพ็ญเพียรทางจิต พูดง่ายๆ คือ ทรงคิดค้ นหาเหตุผล ้ ทางด้ านจิตใจนันเอง ่ เหตุการณ์ช่วงนี ้มีอยู่ว่า เมื่อพระองค์ทรงเลิกบําเพ็ญทุกรกิริยา แล้ วพระองค์ก็เสด็จลําพังพระองค์ ไปยังตําบลอุรุเวลาเสนานิคมใน ตอนเช้ าทรงรับข้ าว“มธุปายาส”จากนางสุชาดาซึงนํามาถวายโดยนาง ่ คิดว่าเป็ น เทวดาที่ตนบนบานขอบุตรชายไว้ หลังจากเสวยข้ าว มธุปายาสแล้ วก็ทรงลอยถาดลงในแม่นํ ้า ต่อมาในเวลาเย็นพระองค์ได้ เสด็จข้ ามแม่นํ ้าเนรัญชราไปยังฝั่ งตะวันตกทรงนําเอาหญ้ ากุศะ (แปล ว่า หญ้ าคา) 8 กํา ที่นายโสตถิยะถวาย มาปูลาดเป็ นอาสนะ ณ โคนต้ นมหาโพธิ์ พระองค์ประทับนังขัดสมาธิ ผินพระพักตร์ ไปทาง ่ ทิศตะวันออก พระปฤษฎางค์ (หลัง) พิงต้ นมหาโพธิ์
  • 10. 10 ทรงเข้ าสมาธิจนจิตตังมันแน่วแน่บรรลุฌานทังสี่เป็ น “บาท” ้ ่ ้ (เป็ นพื ้นฐาน) พิจารณาความเป็ นไปของธรรมชาติและสภาวธรรม ทังหลายจนเกิดญาณ (การหยังรู้) ในสิ่งทังหลายตามความเป็ นจริง ้ ่ ้ ความรู้แจ่มแจ้ งนัน ปรากฏขึ ้นในพระทัยของพระองค์ดจมองเห็นด้ วย ้ ุ ตาเปล่าเป็ นความสว่างโพลงภายในที่ปราศจากความสงสัยเคลือบ แคลงใด ๆ ความรู้นี ้ได้ ตอบปั ญหาที่ทรงค้ างพระทัยมาเป็ นเวลากว่า หกปี พร้ อมกับการเกิดความรู้ด้านกิเลส (ความเศร้ าหมองแห่งจิต คือ โลภ โกรธ หลง) ที่ทรงสงสัยอยู่ในจิตใจของพระองค์ก็ได้ ปลาสนาการ ไปหมดสิ ้นการรู้แจ้ งของพระองค์สามารถสรุปเป็ นขัน ๆ ดังนี ้ ้ 1. ในยามต้ น ทรงระลึกชาติหนหลังของพระองค์ได้ 2. ในยามที่สอง ทรงได้ ตาทิพย์มองเห็นการเกิด การตายของ สัตว์ทงหลายตามผลกรรมที่ได้ กระทําไว้ ั้ 3. ในยามที่สาม ทรงเกิดความรู้แจ้ งที่สามารถทําลายกิเลสให้ หมดสิ ้นไปได้ สิ่งที่พระองค์ตรัสรู้นี ้ก็คือ กระบวนการเกิดขึ ้นของทุกข์และ การดับทุกข์ เรี ยกว่า “อริ ยสัจ” คือ ทุกข์ สมุทย นิโรธ มรรค ั เหตุการณ์ครังนี ้เกิดขึ ้นในเวลารุ่งอรุณของคืนวันเพ็ญเดือนวิสาขะ ้ (เดือน 6) ก่อนพุทธศักราช 45 ปี ไปทบทวนความรู้ครับ นักเรี ยนเติมคําในช่องว่าง นะครับฌิมาปฏิปทา คือ .............................. 1. มัช 2. “อริยสัจ” คือ .........................................
  • 11. 11 เฉลยกรอบที่ 7 ข้ อ 1 ทางสายกลาง ข้ อ 2 กระบวนการเกิดขึ ้นของทุกข์และการดับทุกข์ ได้ แก่ ทุกข์ สมุทย ั นิโรธ มรรค เก่งมากครับ ตอบถูกอ่านกรอบต่อไป ถ้ าตอบไม่ถกกลับไปศึกษากรอบเดิมใหม่ครับ ู เมื่อพระพุทธเจ้ าตรัสรู้ธรรมแล้ ว พระองค์เสด็จ ไปสังสอนใครก่อน เราศึกษาต่อนะครับ ่
  • 12. 12 พระพุทธเจ้ าทรงสังสอนธรรม ่ กรอบที่ 8 ครังแรกให้ ปัญจวัคคีย์ครับ ้ การสั่งสอน พระพุทธเจ้ าพระองค์ เสด็จไปตรัสสอน “ธั มมจักกัปปวัตนสู ตร” ว่า ด้ วยอริ ยสัจ 4 ประการ แก่ ปัญจวัคคี ย์ โกณฑั ญญะหัวหน้ าปั ญจวัคคี ย์ได้ “ดวงตาเห็น ธรรม” ทันที ที่ ฟัง พระธรรมเทศนาจบได้ ทูล ขอบวช พระองค์ ประทานอุปสมบทให้ ด้วยวิ ธีอุปสมบทที่ เรี ยกว่า “เอหิภิกขุ ” นับเป็ นพระสาวก รูปแรกของพระพุทธองค์ ไปทบทวนความรู้ก่อนนะคะ นักเรียนเลือกคำตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว ่ ่ 1. พระพุทธเจ้ าทรงสอนธรรมเรื่ องใดเป็ นเรื่ องแรก ก. อนัตตลักขณสูตร ข. อาทิตตปริยายสูตร ค. ธัมมจักกัปปวัตนสูตร ง. กาลามสูตร 2. สาวกที่พระพุทธเจ้าบวชให้เรี ยกว่าอะไร ก. เอหิภิกขุ ข. อุปสมบท ค. บรรพชา ง. ถูกทุกข้ อ
  • 13. 13 ข้ อ 1 ค. ธัมมจักกัปปวัตนสูตร เฉลยกรอบที่ 8 ข้ อ 2 ก. เอหิภิกขุ เก่งมากค่ะ ตอบถูกศึกษาต่อไป ตอบไม่ถก ู กลับไปศึกษาใหม่อีกครังค่ะ ้ กรอบที่ 9 จากนันก็ทรงแสดงธรรมให้ อีก 4 ท่าน จนได้ ดวงตาเห็นธรรม และทูลขอ ้ บวชเป็ นภิกษุ ตามลําดับ หลังจากนันก็ทรงแสดง “อนั ตตลักขณสูตร” (ว่า ้ ด้ วยไตรลักษณ์ คือ อนิจจตา ทุกขตา อนัตตา) ปั ญจวัคคีย์ได้ บรรลุอรหัตผล หลังจากนันก็ ประทานอุปสมบทให้ ยสกุมาร และสหายของยสะอี ก ้ 54 คน จนมีพระอรหันตสาวกครบ 60 รู ป พระองค์ก็ทรงส่งให้ แยกย้ ายกันไป ประกาศพระพุทธศาสนายัง ทิศต่า งๆ ส่วนพระองค์ เองก็ เ สด็จไปโปรดชฎิ ล สามพี่น้องพร้ อมบริ วารจํานวนหนึ่งพันคน โดยทรงแสดง “อาทิตตปริ ยายสูตร” (สูตรว่าด้ วยไฟ) จนชฎิลสามพี่น้องพร้ อมบริ วารได้ บวชเป็ นสาวกของพระพุทธ องค์ ไปทบทวนความรู้ต่อไปครับ นักเรียนเลือกคำตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว ่ ่ 1. “อาทิตตปริยายสูตร” พระพุทธเจ้ าทรงสอนธรรมแก่ใคร ก. โกณฑัญญะ ข. ชฎิลสามพี่น้อง ค. พระอัสสซิ ง. ยสกุมาร ตอบเสร็จไปดูเฉลยครับ
  • 14. 14 ข้ อ 1 ข. ชฎิลสามพี่น้อง เฉลยกรอบที่ 9 กรอบที่ 10 พระเจ้ าพิมพิสาร และชาวเมืองมคธ ที่นบถือชฎิลสามพี่น้อง เมื่อเห็น ั อาจารย์ของพวกตนมานับถือพระพุทธเจ้ าเป็ นศาสดา ก็พากันเลื่อมใส ปฏิญาณตนนับถือไตรสรณคมน์ เป็ นที่พงบ้ าง พระเจ้ าพิมพิสารทรงสร้ าง ึ่ วัดพระเวฬุวันถวายเป็ นวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา ในระหว่างนี ้เอง อุปติสสมาณพ กับ โกลิตมาณพ ศิษย์ของสัญชัยเวลัฏฐบุตร หนึงในจํานวนครูทงหก มาบวชเป็ นสาวกของ ่ ั้ พระพุทธองค์โดยการแนะนําของ พระอัสสชิ หลังจากบวชแล้ วอุปติสสะมีชื่อเรี ยกว่า พระสารี บุตร โกลิตะมีชื่อเรี ยกว่า พระโมคคัลลานะ ทังสองท่านต่อมาไม่นานก็ได้ รับแต่งตังจากพระพุทธองค์ ้ ้ ให้ เป็ นพระสาวกเบื ้องขวาและเบื ้องซ้ าย โดยพระสารี บุตรเป็ นพระอัครสาวก เบื ้องขวา เลิศกว่าภิกษุทงหลายในทางมีปัญญามาก พระโมคคัลลานะเป็ น ั้ พระอัครสาวกเบื ้องซ้ ายเลิศกว่าภิกษุทงหลายทางมีฤทธิ์มาก ั้ นักเรียนเลือกคำตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว ่ ่ 1. พระอัครสาวกเบื ้องขวา คือใคร ก. โกณฑัญญะ ข. พระโมคคัลลานะ ค. พระเจ้ าพิมพิสาร ง. พระสารี บตร ุ
  • 15. 15 ข้ อ 1. ง. พระสารี บตร ุ เฉลยกรอบที่ 10 เยี่ยมมากค่ะ ตอบถูกศึกษาต่อไป ตอบไม่ถก ู กลับไปศึกษาใหม่อีกครังค่ะ ้ กรอบที่ 11 จากนันไม่นาน สุทตตเศรษฐี (ต่อมาปรากฎนามว่า อนาถบิณฑิกเศรษฐี ) ้ ั ได้ เดินทางมาพบพระพุทธเจ้ า ทูลอาราธนาพระพุทธองค์ให้ เสด็จไปโปรด ชาวเมืองสาวัตถี แคว้ นโกศล สุทตตะเองได้ สร้ างวัดถวายนามว่า พระเชตวัน- ั มหาวิหาร พระพุทธองค์เสด็จไปประทับเป็ นประจํา ทําให้ ศูนย์กลางของ พระพุทธศาสนาได้ ย้ายจากกรุงราชคฤห์ไปอยู่ยงที่เมืองสาวัตถีในเวลาต่อมา ั พุทธศาสนาได้ เจริ ญแพร่ หลายในเวลาอันรวดเร็ ว หลังจากนันก็ ้ เกิดมีพทธบริ ษัทครบ 4 คือ ภิกษุบริ ษัท ภิกษุณีบริ ษัท อุบาสกบริ ษัท และ ุ อุบาสิกาบริษัท เมื่อพระพุทธศาสนาเจริ ญมันคงแล้ ว พระพุทธองค์หลังจากเสด็จ ่ ไปโปรดเวไนยสัตว์ ยังแว่นแคว้ นต่างๆ เป็ นเวลา 45 พรรษา ก็ได้ เสด็จ ดับขันธปริ นิพพาน เมื่ อพระชนมายุได้ 80 พรรษา ณ สาลวโนทยาน ของเหล่ามัลลกษัตริย์ กรุงกุสินารา ในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ ทบทวนความรู้ต่อไปครับ
  • 16. 16 มาทบทวนความรู้ กรอบที่ 11 ค่ะ นักเรียนเลือกคำตอบข้อทีถูกทีสุดเพียงข้อเดียว ่ ่ 1. ข้ อใดเป็ นพุทธบริ ษััท 4 ก. ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ข. ทุกข์ สมุทย นิโรธ มรรค ั ค. โลภ โกรธ หลง รัก ง. เกิด แก่ เจ็บ ตาย 2. พระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานพระชนมายุได้ กี่พรรษา ก. 35 พรรษา ข. 45 พรรษา ค. 60 พรรษา ง. 80 พรรษา 3. พระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานที่ใด ก. กรุงราชคฤห์ ข. กรุงกบิลพัสดุ์ ค. กรุงกุสินารา ง. อุรุเวลาเสนานิคม ตอบเสร็จไปดูเฉลยค่ะ
  • 17. 17 เฉลยกรอบที่ 11 ข้ อ 1 ก. ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ข้ อ 2 ง. 80 พรรษา ข้ อ 3 ค. กรุงกุสินารา จากที่หนูอ้นกับหนูอ้วนเล่ามาทังหมดนี ้ ้ กรอบที่ 12 ใครพอจะสรุปได้ บ้างคะ แกละขอสรุป อย่างนี ้นะครับ ขณะที่พระสิทธัตถะทรงบําเพ็ญเพียรเพื่อแสวงหาหนทางพ้ น ทุกข์ พญามารวสวัตตีได้ ตามมาผจญ รบกวนสมาธิของพระองค์ แม่พระธรณีได้ เสด็จมาช่วยพระองค์จนพ้ นภัยจากพญามาร เหตุการณ์ นี ้จึงเป็ นที่มาของการสร้ างพระพุทธรูปปางมารวิชย พระสิทธัตถะได้ ั ทรงค้ นหาทางดับทุกข์ เช่น ฝึ กปฏิบติโยคะเพื่อบําเพ็ญตะบะ บําเพ็ญ ั ทุกรกิริยา แต่ไม่สําเร็ จจึงมาบําเพ็ญทางจิตและหลังจากได้ เสวยข้ าว มธุปายาสที่นางสุชาดานํามาถวาย ในคืนนัน พระองค์ก็ได้ ตรัสรู้ ที่ ้ เรี ยกว่า อริยสัจ 4 หลังจากนันได้ ไปโปรด ปั จจวัคคีย์ ด้ วย “ธัมจัก- ้ กัปปวัตนสูตร” และ”อนัตตลักขณสูตร”จากนันได้ ไปโปรดชฎิล ้ สามพี่น้อง พระเจ้ าพิมพิสาร อุปติสสะ โกลิตะ สุทตตเศรษฐี ั และสัตว์โลกอื่น ๆ จนถึงกาลปรินิพพานเมื่อพระชนมายุได้ 80 พรรษาที่เมืองกุสินารา จะเห็นได้ ว่าพระองค์มีความเพียรพยายามจึงทําให้ ได้ ตรัสรู้ มนุษย์เราจึงควรดําเนินชีวิตโดยเดินทางสายกลาง ไม่ตง ึ เกินไปหรื อหย่อนเกินไปเปรี ยบได้ กบพิณ 3 สาย ั