SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
Télécharger pour lire hors ligne
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                   ชุดที่ 6 นัยน์ตาและการมองเห็น




                                ศูนย์ การเรียนที่ 2
                                หน้ าที่ของนัยน์ ตา

                                รู้ หรือไม่ นัยน์ ตามีหน้ าทีอะไรบ้ าง
                                                             ่
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                 ชุดที่ 6 นัยน์ตาและการมองเห็น 12



                                           บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 2
                                           หน้ าที่ของนัยน์ ตา
              โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ
              1.   หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย
              2.   หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง พร้ อมกับปฏิบัตตามคาสั่ ง
                                                                           ิ
              3.   สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที
                                        ้
              4.   สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม      ิ
              5.   หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย
              6.   เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว
                                                                      ิ
                   ขอให้ ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง
                   ยกเว้นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                   ชุดที่ 6 นัยน์ตาและการมองเห็น 13




                                         บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 2
                                                ้

                                          หน้ าที่ของนัยน์ ตา

                                 นักเรียนคิดว่ าม่ านตาเทียบได้ กบส่ วนใด
                                                                 ั
                                  ของกล้ องถ่ ายรู ปหรือกล้ องจุลทรรศน์




                                     ภาพจาลองแสดงเซลล์ รูปแท่ งและเซลล์ รูปกรวย
             ทีมา : mulinet6.li.mahidol.ac.th/.../rod_cell.jpg 224 x 157 - 32k ( 10 เมษายน 2550 )
               ่

    จุดประสงค์ การเรียนรู้
             1. นักเรียนสามารถบอกหน้ าทีของนัยน์ ตาได้
                                        ่
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                   ชุดที่ 6 นัยน์ตาและการมองเห็น 14




                                     นัยน์ ตาและการมองเห็น
             นัยน์ ตาของมนุษย์ มีรูปร่ างค่ อนข้ างกลม อยู่ในเบ้ าตา มีส่วนประกอบ 3 ส่ วน ดังนี้
             1. เยือชั้นนอก เรียกว่า สเคอรา (sclera) มีลษณะหนาและเหนียว เพือต้ านแรงดันของ
                    ่                                       ั                        ่
   ของเหลวในลูกตาให้ คงรู ป สเคอราจะเจริญเปลียนแปลงเป็ น กระจกตา (cornea) ซึ่งเป็ นส่ วน
                                                       ่
   หน้ าสุ ดผิวโค้ งสม่าเสมอ โปร่ งแสง ไม่ มีเส้ นเลือดมาหล่ อเลียง บางทีเรียกว่ า ตาดา กระจกตาช่ วย
                                                                 ้
   ในการหักเหแสงทาหน้ าทีเ่ ป็ นเลนส์ อกอันหนึ่ง หากเป็ นฝ้ าทึบจะมองไม่ เห็นปัจจุบันสามารถ
                                         ี
   เปลียนกระจกตาได้ และ ตาขาว เป็ นส่ วนทีอยู่รอบ ๆ ตาดา มีสีขาวขุ่นแสงผ่ านไม่ ได้
        ่                                         ่
             2. เยือชั้นคอรอยด์ (horoids) เป็ นผนังชั้นในถัดจากสเคอราเข้ าไป ภายในประกอบด้ วย
                      ่
   เส้ นเลือดฝอย มีรงควัตถุสีดา คือ เมลานินจานวนมาก ประกอบด้ วย
             - กล้ามเนือม่ านตา (Iris) เป็ นส่ วนทีมีรงควัตถุทาให้ นัยน์ ตามีสีดา สี ฟา นาตาล
                         ้                           ่                                 ้ ้
   ตรงกลางม่ านตามีช่อง ปิ วปิ ล (pupil) ยอมให้ แสงผ่ านเข้ าไปยังเลนส์ ม่ านตาควบคุมการปิ ดเปิ ด
   ของปิ วปิ ล หากมีแสงสว่างมากปิ วปิ ลจะแคบ และมีแสงน้ อยปิ วปิ ลจะเปิ ดกว้าง ม่ านตาเปรียบ
   เหมือนไดอะแฟรม (diaphragm) ช่ วยปรับแสงให้ พอเหมาะทาให้ เราสามารถมองเห็นภาพได้
             - เลนส์ รับภาพ (lens) หรือแก้วตา มีลษณะใสยึดติดกับเอนยึดเลนส์
                                                         ั
             - กล้ามเนือยึดเลนส์ ( Cillary muscle) ควบคุมการเปลี่ยนรู ปร่ างและความ
                           ้
   โค้ งนูนของเลนส์ ทาให้ มองเห็นภาพทีอยู่ใกล้ หรือไกลได้ ชัดเจน
                                            ่




                               ภาพแสดงโครงสร้ างของนัยน์ ตา
             ทีมา : www.topcharoen.co.th/.../image009.jpg 508 x 377 - 41k ( 10 เมษายน 2550 )
               ่
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                        ชุดที่ 6 นัยน์ตาและการมองเห็น 15




               3. เยือชั้นเรตินา ( retina ) ชั้ นในสุ ด มีเซลล์ รับแสง คือเซลล์ รูปแท่ ง (rod cell)
                     ่
   ทาหน้ าทีรับแสงสว่ างได้ ไวมาก และเซลล์ รูปกรวย (cone cell) ซึ่งรับแสงได้ ดี หากเปรียบกับ
               ่
   กล้ องถ่ ายรู ป เรตินาเปรี ยบได้ กบฟิ ล์ มทีใช้ บันทึกภาพ ภายในเรตินา ประกอบด้ วย
                                      ั           ่
                 3.1 เซลล์ รูปแท่ ง ( rod cell ) เป็ นเซลล์ รูปร่ างยาวทาหน้ าทีเ่ ป็ นเซลล์ รับแสงได้ ไวมาก
    แม้ ในทีสลัว ๆ หรือมีแสงสว่ างน้ อยก็ยงรับภาพได้ แต่ ไม่ สามารถบอกความแตกต่ างของสี ได้
             ่                                  ั
   เรตินาข้ างหนึ่งมีเซลล์ รูปแท่ งประมาณ 125 ล้ านเซลล์ ภายในเซลล์ รูปแท่ งมีรงควัตถุ สี ม่วงแดง
   เรียกว่า โรดอปซิน ( Rhodopsin ) ซึ่งไวต่ อแสงมาก เมื่อถูกแสงสว่ างสารนีจะเปลียนเป็ น ้      ่
   เรตินีน( retinene ) และ ออปซิน ( Opsin ) พร้ อมกับมีพลังงานกระตุ้นให้ เกิดกระแสประสาท
   ส่ งไปตามใยประสาทออปติกไปแปลผลทีสมองทาให้ มองเห็นภาพ เมื่อไม่ มีแสงเรตินีนและ
                                                    ่
   ออปซินจะรวมตัวกันกลายเป็ น โรดอปซินตามเดิม เรตินีนสั งเคราะห์ มาจากวิตามินเอ
   ถ้ าขาดวิตามินเอจะทาให้ ตาพร่ าเพราะการสร้ าง โรดอปซินเกิดขึนได้ ช้าลง้




                                   ภาพแสดงลักษณะของเซลล์ รูปแท่ ง
            ทีมา : mulinet6.li.mahidol.ac.th/.../rod_cell.jpg 224 x 157 - 32k (10 เมษายน 2550)
              ่
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                ชุดที่ 6 นัยน์ตาและการมองเห็น 16




            3.2 เซลล์ รูปกรวย (cone cell) เป็ นเซลล์ทใช้ บอกความแตกต่ างของสี ได้ แต่ ต้องมีแสง
                                                     ี่
   สว่ างมาก เซลล์ จึงทางานได้ ดี เซลล์ รูปกรวยในเรตินามีข้างละประมาณ 7 ล้ านเซลล์
   ในเซลล์ รูปกรวยมีเซลล์ ทไวต่ อแสงสี แดง สี นาเงิน และสี เขียว
                             ี่                 ้
             เซลล์ รูปกรวยมีความหนาแน่ นมากทีสุดบริ เวณใจกลางเรตินา เรี ยกจุดนีว่า โฟเวีย
                                                  ่                                   ้
    (Fovea) เป็ นบริเวณที่รับภาพได้ ชัดเจนทีสุด ส่ วนใน เรตินา ทีไม่ มีเซลล์ รูปแท่ งและ
                                             ่                   ่
   เซลล์ รูปกรวยเลยจะมองไม่ เห็นภาพ เรี ยกว่ า จุดบอด (Blind spot)




                             ภาพจาลองแสดงเซลล์ รูปแท่ งและเซลล์ รูปกรวย
         ทีมา : mulinet6.li.mahidol.ac.th/.../rod_cell.jpg 224 x 157 - 32k ( 10 เมษายน 2550 )
           ่
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                    ชุดที่ 6 นัยน์ตาและการมองเห็น 17



                                      บัตรคาถามศูนย์ ที่ 2
                                      หน้ าที่ของนัยน์ ตา
  คาชี้แจง ให้ นักเรียนเลือกคาตอบทีเ่ ห็นว่าถูกต้ องทีสุดเพียงข้ อเดียว
                                                      ่
      1. เซลล์ รูปแท่ งและเซลล์ รูปกรวยของเรตินาทาหน้ าทีใด
                                                         ่
               ก. กรองแสง
               ข. ปรับโฟกัสแสง
               ค. ขยายความเข้ มแสง
               ง. เปลียนแปลงพลังงานแสง
                       ่
      2. ส่ วนใดทีทาหน้ าทีปองกันการสะท้ อนแสงในตาของสั ตว์ เลียงลูกด้ วยนานม
                   ่           ่้                                  ้        ้
               ก. เรตินา
               ข. คอรอยด์
               ค. สเคอรา
               ง. กระจกตา
      3. ชั้ นของนัยน์ ตาทีมีเส้ นเลือดและรงควัตถุกระจายอยู่เป็ นจานวนมากคือข้ อใด
                             ่
               ก. ม่ านตา
               ข. เรตินา
               ค. คอรอยด์
               ง. สเคอรา
      4. ข้ อใดต่ อไปนีคือ สารโรดอปซิน
                         ้
               ก. เรตินา + ออปซิน
               ข. เรตินีน + ออปซิน
               ค. เรตินีน + ดอปซิน
               ง. วิตามินเอ + โรดอปซิน
      5. การผ่าตัดเปลียนดวงตาในคน เป็ นการเปลียนส่ วนใด
                           ่                       ่
               ก. ดวงตาทั้งดวง
               ข. เรตินาและคอรอยด์
               ค. เฉพาะเลนส์ รับภาพ
               ง. เฉพาะกระจกตาเท่านั้น
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141              ชุดที่ 6 นัยน์ตาและการมองเห็น 18



                                     บัตรเฉลยศูนย์ที่ 2
                                     หน้ าที่ของนัยน์ ตา

                                                1.   ง
                                                2.   ข
                                                3.   ค
                                                4.   ข
                                                5.   ง




                          ศึกษาศู นย์ การเรียนต่ อไป หมุนเวียนให้ ครบ
                                      4 ศู นย์ การเรียนนะคะ

Contenu connexe

En vedette

ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
Business phone etiquette
Business phone etiquetteBusiness phone etiquette
Business phone etiquette
Surendra Babu
 

En vedette (18)

ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 2
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 1
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 1ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 1
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 1
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพ ชุดการสอนที่ 1
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพ ชุดการสอนที่ 1ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพ ชุดการสอนที่ 1
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพ ชุดการสอนที่ 1
 
Coder plus vite avec LabVIEW
Coder plus vite avec LabVIEWCoder plus vite avec LabVIEW
Coder plus vite avec LabVIEW
 
Vi analyzer gagnez en qualité en révisant vos codes LabVIEW régulièrement
Vi analyzer   gagnez en qualité en révisant vos codes LabVIEW régulièrementVi analyzer   gagnez en qualité en révisant vos codes LabVIEW régulièrement
Vi analyzer gagnez en qualité en révisant vos codes LabVIEW régulièrement
 
Ahmed Reda Iraqi
Ahmed Reda Iraqi Ahmed Reda Iraqi
Ahmed Reda Iraqi
 
Geysers
GeysersGeysers
Geysers
 
Saphir - Exemples de réalisations
Saphir - Exemples de réalisationsSaphir - Exemples de réalisations
Saphir - Exemples de réalisations
 
Business phone etiquette
Business phone etiquetteBusiness phone etiquette
Business phone etiquette
 

Similaire à ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6

ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
Chok Ke
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
civicton
 

Similaire à ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6 (20)

ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 
Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 1
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 1ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 1
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 1
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 2
 
Astroplan11
Astroplan11Astroplan11
Astroplan11
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 

Plus de ชโลธร กีรติศักดิ์กุล

ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 

Plus de ชโลธร กีรติศักดิ์กุล (20)

ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 

ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6

  • 1. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 6 นัยน์ตาและการมองเห็น ศูนย์ การเรียนที่ 2 หน้ าที่ของนัยน์ ตา รู้ หรือไม่ นัยน์ ตามีหน้ าทีอะไรบ้ าง ่
  • 2. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 6 นัยน์ตาและการมองเห็น 12 บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 2 หน้ าที่ของนัยน์ ตา โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง พร้ อมกับปฏิบัตตามคาสั่ ง ิ 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที ้ 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ 5. หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย 6. เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว ิ ขอให้ ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง ยกเว้นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ
  • 3. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 6 นัยน์ตาและการมองเห็น 13 บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 2 ้ หน้ าที่ของนัยน์ ตา นักเรียนคิดว่ าม่ านตาเทียบได้ กบส่ วนใด ั ของกล้ องถ่ ายรู ปหรือกล้ องจุลทรรศน์ ภาพจาลองแสดงเซลล์ รูปแท่ งและเซลล์ รูปกรวย ทีมา : mulinet6.li.mahidol.ac.th/.../rod_cell.jpg 224 x 157 - 32k ( 10 เมษายน 2550 ) ่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกหน้ าทีของนัยน์ ตาได้ ่
  • 4. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 6 นัยน์ตาและการมองเห็น 14 นัยน์ ตาและการมองเห็น นัยน์ ตาของมนุษย์ มีรูปร่ างค่ อนข้ างกลม อยู่ในเบ้ าตา มีส่วนประกอบ 3 ส่ วน ดังนี้ 1. เยือชั้นนอก เรียกว่า สเคอรา (sclera) มีลษณะหนาและเหนียว เพือต้ านแรงดันของ ่ ั ่ ของเหลวในลูกตาให้ คงรู ป สเคอราจะเจริญเปลียนแปลงเป็ น กระจกตา (cornea) ซึ่งเป็ นส่ วน ่ หน้ าสุ ดผิวโค้ งสม่าเสมอ โปร่ งแสง ไม่ มีเส้ นเลือดมาหล่ อเลียง บางทีเรียกว่ า ตาดา กระจกตาช่ วย ้ ในการหักเหแสงทาหน้ าทีเ่ ป็ นเลนส์ อกอันหนึ่ง หากเป็ นฝ้ าทึบจะมองไม่ เห็นปัจจุบันสามารถ ี เปลียนกระจกตาได้ และ ตาขาว เป็ นส่ วนทีอยู่รอบ ๆ ตาดา มีสีขาวขุ่นแสงผ่ านไม่ ได้ ่ ่ 2. เยือชั้นคอรอยด์ (horoids) เป็ นผนังชั้นในถัดจากสเคอราเข้ าไป ภายในประกอบด้ วย ่ เส้ นเลือดฝอย มีรงควัตถุสีดา คือ เมลานินจานวนมาก ประกอบด้ วย - กล้ามเนือม่ านตา (Iris) เป็ นส่ วนทีมีรงควัตถุทาให้ นัยน์ ตามีสีดา สี ฟา นาตาล ้ ่ ้ ้ ตรงกลางม่ านตามีช่อง ปิ วปิ ล (pupil) ยอมให้ แสงผ่ านเข้ าไปยังเลนส์ ม่ านตาควบคุมการปิ ดเปิ ด ของปิ วปิ ล หากมีแสงสว่างมากปิ วปิ ลจะแคบ และมีแสงน้ อยปิ วปิ ลจะเปิ ดกว้าง ม่ านตาเปรียบ เหมือนไดอะแฟรม (diaphragm) ช่ วยปรับแสงให้ พอเหมาะทาให้ เราสามารถมองเห็นภาพได้ - เลนส์ รับภาพ (lens) หรือแก้วตา มีลษณะใสยึดติดกับเอนยึดเลนส์ ั - กล้ามเนือยึดเลนส์ ( Cillary muscle) ควบคุมการเปลี่ยนรู ปร่ างและความ ้ โค้ งนูนของเลนส์ ทาให้ มองเห็นภาพทีอยู่ใกล้ หรือไกลได้ ชัดเจน ่ ภาพแสดงโครงสร้ างของนัยน์ ตา ทีมา : www.topcharoen.co.th/.../image009.jpg 508 x 377 - 41k ( 10 เมษายน 2550 ) ่
  • 5. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 6 นัยน์ตาและการมองเห็น 15 3. เยือชั้นเรตินา ( retina ) ชั้ นในสุ ด มีเซลล์ รับแสง คือเซลล์ รูปแท่ ง (rod cell) ่ ทาหน้ าทีรับแสงสว่ างได้ ไวมาก และเซลล์ รูปกรวย (cone cell) ซึ่งรับแสงได้ ดี หากเปรียบกับ ่ กล้ องถ่ ายรู ป เรตินาเปรี ยบได้ กบฟิ ล์ มทีใช้ บันทึกภาพ ภายในเรตินา ประกอบด้ วย ั ่ 3.1 เซลล์ รูปแท่ ง ( rod cell ) เป็ นเซลล์ รูปร่ างยาวทาหน้ าทีเ่ ป็ นเซลล์ รับแสงได้ ไวมาก แม้ ในทีสลัว ๆ หรือมีแสงสว่ างน้ อยก็ยงรับภาพได้ แต่ ไม่ สามารถบอกความแตกต่ างของสี ได้ ่ ั เรตินาข้ างหนึ่งมีเซลล์ รูปแท่ งประมาณ 125 ล้ านเซลล์ ภายในเซลล์ รูปแท่ งมีรงควัตถุ สี ม่วงแดง เรียกว่า โรดอปซิน ( Rhodopsin ) ซึ่งไวต่ อแสงมาก เมื่อถูกแสงสว่ างสารนีจะเปลียนเป็ น ้ ่ เรตินีน( retinene ) และ ออปซิน ( Opsin ) พร้ อมกับมีพลังงานกระตุ้นให้ เกิดกระแสประสาท ส่ งไปตามใยประสาทออปติกไปแปลผลทีสมองทาให้ มองเห็นภาพ เมื่อไม่ มีแสงเรตินีนและ ่ ออปซินจะรวมตัวกันกลายเป็ น โรดอปซินตามเดิม เรตินีนสั งเคราะห์ มาจากวิตามินเอ ถ้ าขาดวิตามินเอจะทาให้ ตาพร่ าเพราะการสร้ าง โรดอปซินเกิดขึนได้ ช้าลง้ ภาพแสดงลักษณะของเซลล์ รูปแท่ ง ทีมา : mulinet6.li.mahidol.ac.th/.../rod_cell.jpg 224 x 157 - 32k (10 เมษายน 2550) ่
  • 6. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 6 นัยน์ตาและการมองเห็น 16 3.2 เซลล์ รูปกรวย (cone cell) เป็ นเซลล์ทใช้ บอกความแตกต่ างของสี ได้ แต่ ต้องมีแสง ี่ สว่ างมาก เซลล์ จึงทางานได้ ดี เซลล์ รูปกรวยในเรตินามีข้างละประมาณ 7 ล้ านเซลล์ ในเซลล์ รูปกรวยมีเซลล์ ทไวต่ อแสงสี แดง สี นาเงิน และสี เขียว ี่ ้ เซลล์ รูปกรวยมีความหนาแน่ นมากทีสุดบริ เวณใจกลางเรตินา เรี ยกจุดนีว่า โฟเวีย ่ ้ (Fovea) เป็ นบริเวณที่รับภาพได้ ชัดเจนทีสุด ส่ วนใน เรตินา ทีไม่ มีเซลล์ รูปแท่ งและ ่ ่ เซลล์ รูปกรวยเลยจะมองไม่ เห็นภาพ เรี ยกว่ า จุดบอด (Blind spot) ภาพจาลองแสดงเซลล์ รูปแท่ งและเซลล์ รูปกรวย ทีมา : mulinet6.li.mahidol.ac.th/.../rod_cell.jpg 224 x 157 - 32k ( 10 เมษายน 2550 ) ่
  • 7. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 6 นัยน์ตาและการมองเห็น 17 บัตรคาถามศูนย์ ที่ 2 หน้ าที่ของนัยน์ ตา คาชี้แจง ให้ นักเรียนเลือกคาตอบทีเ่ ห็นว่าถูกต้ องทีสุดเพียงข้ อเดียว ่ 1. เซลล์ รูปแท่ งและเซลล์ รูปกรวยของเรตินาทาหน้ าทีใด ่ ก. กรองแสง ข. ปรับโฟกัสแสง ค. ขยายความเข้ มแสง ง. เปลียนแปลงพลังงานแสง ่ 2. ส่ วนใดทีทาหน้ าทีปองกันการสะท้ อนแสงในตาของสั ตว์ เลียงลูกด้ วยนานม ่ ่้ ้ ้ ก. เรตินา ข. คอรอยด์ ค. สเคอรา ง. กระจกตา 3. ชั้ นของนัยน์ ตาทีมีเส้ นเลือดและรงควัตถุกระจายอยู่เป็ นจานวนมากคือข้ อใด ่ ก. ม่ านตา ข. เรตินา ค. คอรอยด์ ง. สเคอรา 4. ข้ อใดต่ อไปนีคือ สารโรดอปซิน ้ ก. เรตินา + ออปซิน ข. เรตินีน + ออปซิน ค. เรตินีน + ดอปซิน ง. วิตามินเอ + โรดอปซิน 5. การผ่าตัดเปลียนดวงตาในคน เป็ นการเปลียนส่ วนใด ่ ่ ก. ดวงตาทั้งดวง ข. เรตินาและคอรอยด์ ค. เฉพาะเลนส์ รับภาพ ง. เฉพาะกระจกตาเท่านั้น
  • 8. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 6 นัยน์ตาและการมองเห็น 18 บัตรเฉลยศูนย์ที่ 2 หน้ าที่ของนัยน์ ตา 1. ง 2. ข 3. ค 4. ข 5. ง ศึกษาศู นย์ การเรียนต่ อไป หมุนเวียนให้ ครบ 4 ศู นย์ การเรียนนะคะ