SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  31
Télécharger pour lire hors ligne
การจัดการเชิงกลยุทธ์
(Strategic Management)
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
ปัจจุบันการดาเนินธุรกิจมีการแข่งขันค่อนข้างสูง ดังนั้นจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง
ที่ผู้บริหารจะต้องอาศัยชั้นเชิงในการบริหารที่เหนือกว่าคู่แข่ง หรืออาศัยความว่องไวในการ
ปรับตัวให้ทันต่อภาวะการแข่งขันที่เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
การจัดการเชิงกลยุทธ์จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยให้นักบริหารกาหนดทิศทาง
ของธุรกิจ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในองค์การ ช่วยกาหนดกลยุทธ์ที่
เหมาะสมกับองค์การ เพื่อที่จะนากลยุทธ์เหล่านั้นไปประยุกต์ปฏิบัติ และควบคุม
ประเมินผลการดาเนินงานขององค์การได้ ทั้งนี้ไม่จากัดเฉพาะแต่องค์การภาครัฐหรือ
ภาคเอกชนแต่อย่างใด
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
กลยุทธ์ขององค์การจะเป็นสิ่งสาคัญที่จะกาหนดความสาเร็จหรือความล้มเหลว
ขององค์การได้ การทาความเข้าใจและการพยายามศึกษาองค์การที่ประสบผลสาเร็จใน
การใช้กลยุทธ์เพื่อการจัดการ จะทาให้นักบริหารได้ทราบถึงคุณประโยชน์ของกลยุทธ์ ที่จะ
ช่วยสนับสนุนองค์การให้ประสบความสาเร็จ และจะต้องมีการพิจารณาเลือกกลยุทธ์และ
ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับองค์การ
การจัดการเชิงกลยุทธ์เป็ นการบริหารอย่างมีระบบที่ต้องอาศัยวิสัยทัศน์
ของผู้นาองค์การเป็ นส่วนประกอบ และอาศัยการวางแผนอย่างมี ขั้นตอน
เนื่องจากการบริหารกลยุทธ์เป็ นการบริหารองค์รวม ผู้นาที่มีความสามารถจะ
ต้องอาศัยกลยุทธ์ในการจัดการองค์การที่มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับองค์การ และ
สามารถนาไปปฏิบัติได้จริงไม่ล้มเหลว เนื่องจากกลยุทธ์ที่ดีแต่ล้มเหลวจะไม่
สามารถนาความสาเร็จมาสู่องค์การได้ ดังนั้นทั้งกลยุทธ์และนักบริหาร ที่
เป็นผู้ตัดสินใจเลือกใช้กลยุทธ์และนากลยุทธ์ไปปฏิบัติจึงมีความสาคัญเท่าเทียมกัน
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
คือ การจัดการเชิงกลยุทธ์เป็นเครื่องมือของนักบริหารในการบริหารงาน เพื่อตอบสนอง
ต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่เพิ่มขึ้น การบริหารเชิงกลยุทธ์จะเน้นและให้
ความสาคัญต่อการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ (Strategic decision making) ที่ไม่เหมือนกับ
การตัดสินใจในลักษณะอื่น ๆ เพราะการบริหารเชิงกลยุทธ์จะเกี่ยวข้องกับอนาคต
ใ น ร ะ ย ะ ย า ว ข อ ง อ ง ค์ ก า ร ทั้ง ห ม ด ซึ่ ง มี ลั ก ษ ณ ะ ดั ง นี้ คื อ
• เป็นกระบวนการของการบริหารองค์การโดยรวม
• เป็นการบริหารที่เน้นการสร้างกลยุทธ์ เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับองค์การในระยะยาว
• เป็นการตัดสินใจที่อาศัยชั้นเชิง ไม่มีวิธีการที่สาเร็จรูป
• ต้องอาศัยความร่วมมือ พันธะผูกพัน (Commitment) และทรัพยากรในองค์การ
• มีทิศทางที่ชัดเจนต่อทางเลือกต่าง ๆ และแสดงให้ทุกคนในองค์การเข้าใจตรงกัน
ลักษณะที่สาคัญของการจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
ความหมายเกี่ยวกับการจัดการเชิงกลยุทธ์
คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเชิงกลยุทธ์นั้นมีความหมายที่แตกต่างกันบ้างใน
รายละเอียด แต่ส่วนใหญ่แล้วจะมีความหมายคล้ายคลึงกัน ดังนี้
การจัดการเชิงกลยุทธ์เป็ นศาสตร์ที่มีมานานโดยคาว่า กลยุทธ์ หรือ
Strategic มีที่มาจากคาว่า Strategia ในภาษากรีกซึ่งหมายความว่า Generalship โดย
คาว่ายุทธศาสตร์มักจะถูกนามาใช้ในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการทหาร และได้เข้า
สู่แวดวงการศึกษาในเวลาต่อมา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสศึกษา
ถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในธุรกิจ และต้องการให้เกิดการนาไปสู่การจัดทานโยบายทาง
ธุรกิจที่นาไปใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานได้ในอนาคต
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
การจัดการเชิงกลยุทธ์
(Strategic Management)
โดยทั่วไป หมายถึงการกาหนด
วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission)
วัตถุประสงค์ (Objective) เป้ าหมาย (Goal)
ขององค์การในระยะสั้นและระยะยาว จากนั้น
จึงวางแผนทากิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้องค์การ
สามารถดาเนินงานตามพันธกิจ อันนาไปสู่การ
บรรลุวัตถุประสงค์และเป้ าหมายที่กาหนดไว้
ความหมายเกี่ยวกับการจัดการเชิงกลยุทธ์
ความหมายเกี่ยวกับการจัดการเชิงกลยุทธ์
นอกจากนี้เนื่องจากสภาพแวดล้อมทางธุรกิจมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งอาจ
ก่อให้เกิดโอกาส หรืออุปสรรคแก่องค์การได้ องค์การจึงจาเป็ นต้องพิจารณา
สภาพแวดล้อมภายในขององค์การ เพื่อหาจุดแข็งหรือจุดอ่อนในการที่จะสามารถ
หลีกเลี่ยงจากอุปสรรคหรือใช้ประโยชน์จากโอกาสที่มีอยู่นั้นได้ ดังนั้นการจัดการเชิงกล
ยุทธ์จึงเป็นการบริหารโดยคานึงถึง 1. ลักษณะการดาเนินงานขององค์การ
2. ลักษณะธุรกิจในอนาคต
3. สภาพแวดล้อม
4. การจัดสรรทรัพยากร
5. การปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
แนวคิดที่สาคัญในการจัดการเชิงกลยุทธ์
แนวคิดพื้นฐานที่สาคัญของการ
จัดการเชิงกลยุทธ์ คือการกาหนดภารกิจ
วัตถุประสงค์และเป้ าหมายของกิจการ
ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยการจัดการ
เชิงกลยุทธ์และการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์
จะมีผลต่อการดาเนินงานในระยะยาว
ดังนั้นองค์การจึงต้องมีการวาง
แผนการทากิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้การ
ดาเนินงานตามภารกิจบรรลุเป้ าหมายที่ตั้งไว้
ทั้งนี้เพื่อให้ ตอบสนองต่อกระแสการ
เปลี่ยนแปลง ซึ่งอาจจะเป็นอุปสรรคและบดบัง
โอกาสในการก้าวหน้าขององค์การได้
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
แนวคิดที่สาคัญในการจัดการเชิงกลยุทธ์
ฉะนั้นองค์การจึงต้องพิจารณาถึงจุดแข็งที่มีอยู่แล้วนามาใช้ให้เป็นประโยชน์
และพิจารณาถึงจุดอ่อนขององค์การเพื่อหาแนวทางขจัดจุดอ่อนเหล่านั้นเสีย
ในแนวคิดด้านการจัดการเชิงกลยุทธ์นั้น จะมีความแตกต่างไปจากการจัดการโดยทั่วไป
ซึ่งมักจะศึกษาถึงบทบาทหน้าที่ของผู้บริหาร ตามกระบวนการหรือขั้นตอนต่าง ๆและเน้น
หนักไปที่การจัดการและการบริหารภายในองค์การ แต่การจัดการเชิงกลยุทธ์จะให้
ความสาคัญกับปัจจัยต่าง ๆ โดยเฉพาะปัจจัยภายนอกองค์การ หรือสภาวะแวดล้อม
ภายนอกด้านต่าง ๆ ที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับการแข่งขัน คานึงถึงการสร้างความได้เปรียบใน
การแข่งขันในระยะยาว และสภาวะการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรม
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
การจัดการกลยุทธ์ยังคานึงถึงความความสาคัญของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับ
องค์การ (Stakeholders) และการจัดการเชิงกลยุทธ์ยังทาหน้าที่ในการเชื่อมโยงประสาน
หน่วยต่าง ๆ ในองค์การให้สามารถบริหารจัดการเพื่อบรรลุเป้ าหมายขององค์การร่วมกัน
แนวคิดที่สาคัญในการจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
หลักการสาคัญของการจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์จะนาไปสู่การเพิ่มโอกาสของความสาเร็จและความล้มเหลวของ
องค์การได้อย่างไรนั้นมีหลักสาคัญดังนี้
1.
• การจัดการเชิงกลยุทธ์เป็นการกาหนดวิสัยทัศน์ ทิศทาง ภารกิจ และวัตถุประสงค์ขององค์การธุรกิจ
อย่างเป็นระบบ ดังนั้นการจัดการเชิงกลยุทธ์จึงเป็นสิ่งที่กาหนดทิศทางขององค์การ และช่วย
ให้นักบริหารปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม การตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลงนั้น
ทาให้นักบริหารสามารถกาหนดวัตถุประสงค์และทิศทางการดาเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม
สอดคล้องกับสภาวะความเปลี่ยนแปลงได้
2.
• การจัดการเชิงกลยุทธ์ยังนาไปสู่การจัดการความเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น เนื่องจากมีการเตรียมรับกับ
สถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงไว้แล้ว ทาให้องค์การค้นหาแนวทางที่เหมาะสมที่สุดต่อองค์การ
ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยต่าง ๆ ที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ทั้งนี้เนื่องจากการจัดการเชิงกลยุทธ์
เป็นการกาหนดวิธีการหรือแนวทางในการดาเนินงานและกิจกรรมต่าง ๆ ขององค์การ เพื่อให้บรรลุ
เป้ าหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์การที่ตั้งไว้
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
3.
• การจัดการเชิงกลยุทธ์เป็นการนาแนวทางในการดาเนินองค์การที่คิดค้นสร้างสรรค์ขึ้น และนามา
ประยุกต์ใช้เพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย ดังนั้นความคิดสร้างสรรค์จึงเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับนักบริหาร
4.
• การวางแผนกลยุทธ์เป็นหน้าที่หลักของนักบริหาร เนื่องจากต้องวางแผนประยุกต์ใช้ และกาหนด
ทิศทางในการดาเนินงานขององค์การ การจัดทาและปฏิบัติให้สอดคล้องตามแผนกลยุทธ์จึงมี
ความสาคัญโดยเฉพาะในระยะยาว ดังนั้นความสามารถในการกาหนดกลยุทธ์ของนักบริหาร
และความสามารถในการควบคุมให้การปฏิบัติเป็นไปตามกลยุทธ์ที่วางไว้ได้ จะเป็นสิ่งสะท้อน
ศักยภาพและและสะท้อนของผู้บริหารได้เป็นอย่างดี
หลักการสาคัญของการจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
5.
• การจัดการเชิงกลยุทธ์ทาให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน จะช่วยสร้างประสิทธิภาพและ
ศักยภาพในการแข่งขันให้แก่ธุรกิจ และเสริมสร้างการพัฒนาขีดความสามารถทางการบริหารของ
นักบริหาร รวมทั้งช่วยเตรียมความพร้อมและพัฒนาบุคลากรที่อยู่ภายในองค์การ เนื่องจากการ
พัฒนาเชิงกลยุทธ์จะต้องมีการสร้างความเข้าใจและแนวทางในการเตรียมพร้อม เพื่อรับกับความ
เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นของสภาพแวดล้อมและคู่แข่ง นอกจากนี้แล้วการจัดการเชิงกลยุทธ์ยัง
ช่วยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในองค์การเข้าใจในภาพรวม โดยเฉพาะเป้ าหมายในการดาเนินงานทาให้
สามารถจัดลาดับการดาเนินงานตามลาดับความสาคัญเร่งด่วนได้
6.
• การจัดการเชิงกลยุทธ์ช่วยให้การทางานเกิดความสอดคล้องในการปฏิบัติหน้าที่ เนื่องจากมีการ
กาหนดกลยุทธ์ การประยุกต์ใช้ และการตรวจสอบควบคุมไว้อย่างชัดเจน ทาให้เกิดความเข้าใจ
ตรงกันและเกิดความร่วมมือ โดยเฉพาะความเข้าใจในวัตถุประสงค์ขององค์การ อีกทั้งจะช่วยให้มี
การจัดสรรทรัพยากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับการบริหารองค์การในส่วนต่าง ๆ
หลักการสาคัญของการจัดการเชิงกลยุทธ์
องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์ ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยพื้นฐาน 5 ประการ คือ
1.
• การกาหนดทิศทาง (Direction Setting)
2.
• การประเมินองค์การและสภาพแวดล้อม (Environment Scanning)
3.
• การกาหนดกลยุทธ์ (Strategy Formulation)
4.
• การดาเนินกลยุทธ์ (Strategy Implementation)
5.
• การประเมินผลและการควบคุม (Evaluation and Control)
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
1.
• การกาหนดทิศทาง (Direction Setting)
องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์
ในการกาหนดทิศทางขององค์การจะประกอบด้วย การกาหนดวิสัยทัศน์ (Vision ) และการกาหนดภารกิจ
( Mission ) หรือ กรอบในการดาเนินงานที่ชัดเจนจะช่วยให้องค์การสามารถกาหนดทิศทางในระยะยาว อีกทั้งยังแสดงถึง
ความตั้งใจในการดาเนินธุรกิจอีกด้วย
ภารกิจ (Mission) ในกระบวนการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์นั้น ขั้นแรกองค์การจะต้องระบุภารกิจและ
เป้ าหมายหลักที่สาคัญของบริษัท ซึ่งภารกิจ หมายถึง ประกาศหรือข้อความของบริษัทที่พยายามกาหนดว่าจะทาอะไรใน
ปัจจุบัน และกาลังจะทาอะไรในอนาคตและองค์การเป็นองค์การแบบใด และจะก้าวไปสู่การเป็นองค์การแบบใดทั้งนี้เพื่อ
บรรลุสู่ความเป็นเลิศเหนือคู่แข่ง ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วข้อความเรื่องภารกิจขององค์การจะประกอบไปด้วย ข้อความที่บ่ง
บอกถึงคุณค่าทางปรัชญาสาคัญที่ผู้บริหารตัดสินใจกระทา ซึ่งแสดงถึงพันธะของบริษัทที่มีต่อเป้ าหมายและสอดคล้องกับ
คุณค่าของผู้บริหาร นอกจากนี้แล้วภารกิจยังจะสร้างสภาพแวดล้อมในการกาหนดกลยุทธ์อีกด้วย
เป้ าหมาย (Gold) คือการบอกถึงสิ่งที่องค์การปรารถนาให้เกิดขึ้นในอนาคต และพยามบรรลุ โดยมีการ
กาหนดให้ชัดเจน กระชับ ตรงจุด และสามารรถวัดได้ ทั้งนี้การกาหนดเป้ าหมายจะมีการกาหนดให้ชัดเจนขึ้นกว่าการ
กาหนดภารกิจว่าจะต้องทาสิ่งใด
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
2.
• การประเมินองค์การและสภาพแวดล้อม (Environment Scanning)
องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์
ในการประเมินสภาพแวดล้อมขององค์การนั้นจะประกอบไปด้วยการประเมินสภาพแวดล้อมภายนอก
และการประเมินสภาพแวดล้อมภายใน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ทราบถึง จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค หรือ
โดยทั่วไปจะเรียกว่าการวิเคราะห์ตามตัวแบบสว็อท (SWOT Analysis) ได้แก่
การวิเคราะห์จุดแข็ง (Strength –S)
การวิเคราะห์จุดอ่อน (Weakness –W)
การวิเคราะห์โอกาส (Opportunity –O)
การวิเคราะห์ภาวะคุกคาม (Threat- T)
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
2.1
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในขององค์การ (Internal Analysis)
การวิเคราะห์ภายในขององค์การนั้น จะทาให้ทราบถึงจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์การ ช่วยให้
ประเมินอดีตและแนวโน้มในปัจจุบัน การวิเคราะห์ภายในสามารถทาได้โดยการวิเคราะห์ปัจจัยที่จะนาไป
สู่ความสาเร็จ (Critical success factor) การวิเคราะห์ (Value chain) และวิเคราะห์กระบวนการหลัก
(Core business process) ซึ่งจะทาให้องค์การมีความสามารถหลักที่โดดเด่น (Core competency)
องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์
• การวิเคราะห์ห่วงโซ่ค่านิยม (Value chain) เป็นการพยายามเชื่อมโยงกิจกรรมหลัก และกิจกรรมย่อยของ
องค์การ โดยการพยายามจัดกิจกรรมย่อยให้สนับสนุนกิจกรรมหลัก เพื่อจะสร้างคุณค่าที่สนองตอบกับ
ค่านิยมของลูกค้า โดยสายงานหลักจะทาหน้าที่ในการผลิตกิจกรรมพื้นฐาน ประกอบไปด้วย การนาเข้า
วัตถุดิบ การผลิตสินค้าและบริการ การตลาด และการให้บริการลูกค้า ส่วนสายงานสนับสนุนจะทาหน้าที่ใน
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาเทคโนโลยี การการจัดซื้อวัตถุดิบ เนื่องจากการวิเคราะห์ห่วงโซ่
ค่านิยม จะทาให้องค์การได้รับรู้ถึงค่านิยมของลูกค้าได้อย่างชัดเจน ทาให้สามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยง
ค่านิยมของลูกค้า เข้าสู่กิจกรรมทุกกิจกรรมขององค์การ
• การวิเคราะห์ปัจจัยที่จะนาไปสู่ความสาเร็จ (Critical success factor) สามารถทาได้โดยการวิเคราะห์
ลักษณะของกิจการ ตาแหน่งทางการแข่งขัน สภาพแวดล้อมทั่วไป และการพัฒนาองค์การ
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
โดยสรุปแล้วการวิเคราะห์ปัจจัยภายในหรือสภาพแวดล้อมภายในนี้จะทาให้ทราบถึงจุดแข็งหรือจุดอ่อนทางธุรกิจขององค์การ
องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์
• การวิเคราะห์กระบวนการหลัก (Core business process) และระบบการดาเนินงาน เป็นกระบวนการสร้างคุณค่า
ที่เชื่อมโยงระหว่างผู้จัดหาวัตถุดิบ องค์การ และลูกค้าเข้าด้วยกัน โดยมีกระบวนการหลักขององค์การ เพื่อพัฒนาสินค้าและ
บริการ และเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์
• ลักษณะหรือองค์ประกอบของ
องค์การที่มีสมรรถนะเหนือกว่าจุดแข็ง
• ลักษณะหรือองค์ประกอบของ
องค์การที่มีสมรรถนะด้อยกว่า
เมื่อเทียบกับคู่แข่ง
จุดอ่อน
2.2 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองค์การ (External Analysis) สภาพแวดล้อม
ภายนอกประกอบด้วย สภาพแวดล้อมทั่วไปและสภาพแวดล้อมในการดาเนินงาน
* สภาพแวดล้อมทั่วไป (General Environment) เป็นสภาพแวดล้อมที่มีความสาคัญ แต่อาจจะ
ไม่ใช่สิ่งแวดล้อมที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับองค์การโดยตรงแต่เป็นสภาพแวดล้อมโดยทั่วไป มีตัวแบบในการ
พิจารณา คือ PEST Environment ได้แก่
องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์
สภาพแวดล้อมด้านการเมือง (Political Environment –P)
สภาพแวดล้อมด้านเศรษฐกิจ (Economic Environment –E)
สภาพแวดล้อมด้านสังคม (Sociological Environment –S)
สภาพแวดล้อมด้านเทคโนโลยี (Technology Environment –T)
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
สภาพแวดล้อมทั่วไปสามารถส่งผลกระทบต่อองค์การได้ ยกตัวอย่างเช่น หากรัฐออกกฎหมายที่เอื้อต่อการดาเนินธุรกิจ ก็จะ
ส่งผลดีต่อโอกาสในการดาเนินงานขององค์การ หรือการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่รวดเร็วอาจส่งผลให้สินค้ามีความ
ล้าสมัยอย่างรวดเร็ว เป็นต้น
องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์
• สภาพแวดล้อมในการดาเนินงาน (Task Environment) ไมเคิล อี พอร์ตเตอร์ (Michael E.Poter ) ได้เสนอตัวแบบการ
วิเคราะห์สภาพการแข่งขัน โดยใช้ตัวแบบที่ชื่อ The Five Compettive Force ซึ่งจะทาให้เราทราบถึงสมรรถภาพคู่แข่งที่เข้า
มาใหม่ ทราบความต้องการของลูกค้า สามารถสร้างความร่วมมือกับผู้จัดส่งวัตถุดิบ การระมัดระวังไม่ให้ลูกค้าหันไปให้
ความสนใจสินค้าทดแทน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นตัวแบบที่ช่วยในการวิเคราะห์คู่แข่งได้เป็นอย่างดี
• การวิเคราะห์คู่แข่งที่เข้ามาใหม่ (New Entrance) ผู้ที่เข้ามาใหม่มีความมุ่งหวังที่จะเข้ามามีส่วนร่วม หรือมีส่วนแบ่งทาง
การตลาด ดังนั้นจึงเป็นภาวะที่คุกคาม ซึ่งจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับอุปสรรคที่เข้ามาและภาวะการตอบโต้ขององค์การ โดย
สิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อผู้ที่เข้ามาใหม่ ได้แก่ Ecomies of Scale ความประหยัดที่เกิดจากการผลิตจานวนมาก (Economies of
Scale) ทาให้คู่แข่งต้องมีการผลิตที่มีขนาดใหญ่พอ จึงจะสามารถต่อสู้กับกิจการเดิมได้
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
ความแตกต่างของสินค้า Differentiation หรือ ขนาดของทุน Capital Requirement เนื่องจากผู้ที่เข้ามาใหม่จะต้องแบก
ภาระต้นทุนที่สูงมากในด้านต่าง ๆ เป็นต้น เหล่านี้เป็นตัวอย่างของอุปสรรคสาหรับผู้ที่เข้ามาใหม่ ซึ่งนักบริหารจะต้องสร้าง
ภาวะการตอบโต้ โดยอาศัยความได้เปรียบด้านอุปสรรคของผู้เข้ามาใหม่ในด้านต่าง ๆ
องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์
• การวิเคราะห์ผู้ซื้อ (Buyer) ผู้บริหารในองค์การภาครัฐ และภาคเอกชน จะต้องให้ความสาคัญกับลูกค้า เนื่องจากองค์การ
จะต้องเผชิญกับอานาจการต่อรองของลูกค้า ในเรื่องของปริมาณ คุณภาพ และราคา
• การวิเคราะห์ผู้จัดส่งวัตถุดิบ (Supplier) ผู้จัดส่งวัตถุดิบจะมีความสาคัญเนื่องจากองค์การจะต้องเผชิญกับพลังการต่อรอง
ของผู้จัดส่งวัตถุดิบเช่นเดียวกับลูกค้า ดังนั้นผู้บริหารทั้งองค์การภาครัฐและองค์การภาคเอกชน จะต้องปรับกลยุทธ์เพื่อรับ
กับพลังการต่อรองนั้น
• การวิเคราะห์สินค้าทดแทน (Substitute) การมีสินค้าหรือบริการทดแทนทาให้องค์การต่าง ๆ จะต้องให้ความสาคัญกับ
คุณภาพของสินค้า ราคา และบริการที่นาเสนอให้กับลูกค้า เนื่องจากการละเลยความสาคัญดังกล่าวจะทาให้องค์การ
เสียเปรียบต่อคู่แข่งได้
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
• การวิเคราะห์คู่แข่ง (Rival) คู่แข่งมีความสาคัญอย่างยิ่งที่นักบริหารจะต้องคานึงถึง เนื่องจากนักบริหารจะต้องใช้กลยุทธ์
เพื่อสร้างความได้เปรียบเหนือคู่แข่ง การละเลยหรือไม่ให้ความสาคัญกับคู่แข่งจะหมายถึงความพ่ายแพ้
องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์
โดยสรุปแล้วการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกหรือสภาพแวดล้อมภายนอกนี้จะทาให้ทราบถึงโอกาสหรืออุปสรรคทางธุรกิจขององค์การ
• การผสมผสานระหว่างเหตุการณ์ เวลา สถานที่
ที่มีแนวโน้มว่าจะเป็นประโยชน์ต่อองค์การ
มาทาให้องค์การมีสมรรถนะที่จะดาเนินการ
บางอย่างที่เหนือกว่าคู่แข่ง
โอกาส
• เหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ และถ้าเกิดขึ้น
ก็จะทาความเสียหายให้แก่องค์การอุปสรรค
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
3.
• การกาหนดกลยุทธ์ (Strategy Formulation)
องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์
การกาหนดกลยุทธ์ เป็นการพัฒนาแผนระยะยาวบนรากฐานของโอกาสและอุปสรรค ที่ได้จากการวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมภายนอก และการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนที่ได้จาการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน โดยองค์การจะต้อง
กาหนดและเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดที่เหมาะสมกับองค์การที่สุด ผู้บริหารต้องพยายามตอบคาถามว่าทาอย่างไรองค์การจึงจะไป
ถึงเป้ าหมายที่ได้กาหนดไว้ได้ โดยใช้ความได้เปรียบในการแข่งขันขององค์การกาหนดเป็นกลยุทธ์ ทั้งนี้จะต้องคานึงถึงระดับที่
แตกต่างกันของกลยุทธ์ด้วย ซึ่งมีทั้งสิ้น 3 ระดับ คือ
กลยุทธ์ระดับองค์การ (Corporate Strategy)
• เป็นกลยุทธ์ที่ครอบคลุมและบ่งบอกถึงกลยุทธ์โดยรวม และทิศทางในการแข่งขันขององค์การว่า องค์การ
จะมีการพัฒนาไปสู่ทิศทางใด จะดาเนินงานอย่างไร และจะจัดสรรทรัพยากรไปยังแต่ละหน่วยขององค์การอย่างไร
เช่น การดาเนินธุรกิจแบบครบวงจร การขยายตัวไปในธุรกิจที่ไม่เกี่ยวข้องกันเลย เป็นต้น ตัวอย่างเครื่องมือ (Tools)
ที่ช่วยในการกาหนดกลยุทธ์ในระดับองค์การ เช่น Boston Consulting Group Matrix, McKinsey 7 - S Framework
เป็นต้น
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์
กลยุทธ์ระดับธุรกิจ (Business Strategy)
• เป็นการกาหนดกลยุทธ์ในระดับที่ย่อยลงไป จะมุ่งปรับปรุงฐานะการแข่งขันขององค์การกับคู่แข่ง และ
ระบุถึงวิธีการที่องค์การจะใช้ในการแข่งขัน มุ่งปรับปรุงฐานะการแข่งขันของผลิตภัณฑ์ให้สูงขึ้น โดยอาจ
รวมกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่คล้ายกันไว้ด้วยกัน ภายในหน่วยธุรกิจเชิงกลยุทธ์ (Strategic Business Unit - SBU)
เดียวกัน กลยุทธ์ระดับธุรกิจของ SBU นี้จะมุ่งการเพิ่มกาไร (Improving Profitability) และขยายการเติบโต
(Growth) ให้มากขึ้น บางครั้งจึงเรียกกลยุทธ์ในระดับนี้ว่ากลยุทธ์การแข่งขัน (Competitive Strategy) ซึ่ง
โดยทั่วไปจะมีอยู่ 3 กลยุทธ์ คือ การเป็นผู้นาด้านต้นทุนต่า (Cost Leadership) การสร้างความแตกต่าง
(Differentiation) และ การจากัดขอบเขตหรือการมุ่งเน้นหรือการรวมศูนย์ (Focus Strategy)
กลยุทธ์ระดับปฏิบัติการ (Operational Strategy)
• เป็นการกาหนดกลยุทธ์ที่ครอบคลุมวิธีการในการแข่งขัน แก่ผู้เกี่ยวข้องใน
หน่วยงาน (Function) ต่าง ๆ มุ่งเน้นให้แผนกงานตามหน้าที่พัฒนากลยุทธ์ขึ้นมา โดยอยู่
ภายใต้กรอบของกลยุทธ์ระดับองค์การและกลยุทธ์ระดับธุรกิจ เช่น แผนการผลิต
แผนการตลาด แผนการดาเนินงานทั่วไป แผนการด้านทรัพยากรบุคคล แผนการเงิน
เป็นต้น
องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์
Michel Robert ได้กล่าวถึงขั้นตอนในการสร้างกลยุทธ์ไว้ในหนังสือ e-Strategy ที่
อาจแตกต่างไปจากทั่ว ๆ ไปว่า ขั้นตอนในการสร้างกลยุทธ์จะอยู่บนพื้นฐานของสิ่งที่เราทาได้ดี
ที่สุด What you do best แต่ไม่ได้อยู่บนพื้นฐานของสิ่งที่คู่แข่งขันของเราทาอยู่ (Not what the
others do) ซึ่งแนวคิดนี้ใช้ได้ดีทั้งธุรกิจการผลิตและธุรกิจการบริการ โดยมีขั้นตอน 4 ขั้นตอน คือ
1. ระบุแรงขับดัน (Driving Force) ขององค์การ ที่สามารถช่วยให้มีความ
ได้เปรียบทางการแข่งขัน ซึ่งเกี่ยวข้องกับจุดแข็งที่องค์การมีอยู่ เช่น การที่
องค์การมีเทคโนโลยีที่แตกต่าง องค์การสามารถใช้เทคโนโลยีเป็นตัวนา
สาคัญในการดาเนินงานได้ เป็นต้น
2. สร้างกรอบแนวคิดทางธุรกิจ (Business Concept) อย่าง
สั้น ๆ เพื่อแสดงว่าจะใช้แรงขับดันนั้นอย่างไร เช่น จะใช้
เทคโนโลยีนั้นผลิตสินค้าอะไร จะเจาะจงขายยังภูมิภาคใด
3. ระบุความเชี่ยวชาญขององค์การ (Area of Excellence) ที่เราต้องการ
เพื่อนามาใช้สนับสนุนกลยุทธ์ เช่น อาจจาเป็นต้องปรับปรุงคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์ให้สูงขึ้น หรือการสร้างความชานาญในการขายและบริการแก่
พนักงานขาย เป็นต้น
4. ระบุประเด็นสาคัญ (Critical Issues) หรือเรื่องที่เกี่ยวข้องและมีความสาคัญ ที่อาจจะต้องถูก
ปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลง เพื่อให้เอื้อต่อการนากลยุทธ์ไปดาเนินการ เช่น โครงสร้าง
(Structure) กระบวนการหรือระบบ (Process/System) ทักษะและความสามารถ
(Skills/Competencies) ระบบการให้ผลตอบแทน (Compensation) เป็นต้น
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์
อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีทฤษฎีที่ว่าด้วยกลยุทธ์ที่สามารถนามาพิจารณาใช้ได้มากมาย แต่ย่อมไม่มีทฤษฎีหรือแนวทาง
จัดการใดใช้ได้กับทุกสถานการณ์ ดังนั้นจึงไม่มีสูตรสาเร็จในการกาหนดกลยุทธ์และสร้างกลยุทธ์ที่สามารถใช้ได้กับ
ทุกสถานการณ์ แต่อย่างน้อยในการกาหนด กลยุทธ์นั้นควรจะได้พิจารณาเกณฑ์ต่อไปนี้ประกอบด้วย เช่น
* เป็นกลยุทธ์ที่ตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมภายนอก
* เป็นกลยุทธ์ที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน
* เป็นกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ในระยะยาว
* เป็นกลยุทธ์ที่มีความยืดหยุ่น เหมาะสม
* เป็นกลยุทธ์ที่เป็นไปได้
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
4.
• การดาเนินกลยุทธ์ (Strategy Implementation)
องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์
การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ คือกระบวนการที่ผู้บริหารแปลงกลยุทธ์และนโยบาย ไปสู่แผนการดาเนินงาน กาหนด
รายละเอียดด้านต่าง ๆ เช่น ด้านงบประมาณ หรือวิธีการดาเนินงาน ซึ่งกระบวนการนี้อาจจะเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง
ภายในด้านวัฒนธรรม โครงสร้าง หรือระบบการบริหาร เพื่อให้สามารถดาเนินการตามกลยุทธ์ได้อย่างเป็นรูปธรรม
โดยทั่วไปจะประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ
1. ขั้นตอนของการกาหนดแผนและการจัดสรรทรัพยากร (Resources Allocation)
2. ขั้นตอนของการปรับโครงสร้างองค์การ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของการใช้กลยุทธ์และการใช้ทรัพยากร
เป็นต้น
3. ขั้นตอนของการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในส่วนของระบบและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เช่น เรื่องระบบข้อมูล
ข่าวสาร ระบบบริหารบุคคล (การให้การศึกษา การให้การอบรม การกระตุ้น ส่งเสริมให้บุคลากรในองค์การทางานได้
อย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ) เป็นต้น
4. การกระจายกลยุทธ์ (Strategic Deployment) หากองค์การมีการสร้างวิสัยทัศน์ สร้างพันธกิจขึ้นมาแล้ว แต่ไม่ได้มีการ
ดาเนินการก็จะทาให้เกิดการสูญเปล่า (Waste) ได้ เพราะแม้ว่าแผนเหล่านั้นจะเป็นแผนงานที่ถูกจัดทามาอย่างดี ผ่าน
การระดมความคิดมาอย่างเข้มข้นเพียงใดก็ตาม หากไม่ลงมือปฏิบัติก็ย่อมไม่เกิดผลเป็นรูปธรรมขึ้น
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์
ดังนั้นเพื่อทาให้เกิดผลจึงจาเป็นต้องมีการกระจายแผนไปยังทุก ๆ ส่วนทั่วทั้งองค์การ โดยต้องสอดประสานกับบทบาท
หน้าที่ของหน่วยงานต่าง ๆ อย่างชัดเจน และเข้าใจได้ ซึ่งจากเป้ าหมายเชิงกลยุทธ์ (Strategic goals) อาจถูกแปลงเป็นเป้ าหมายย่อย
(Sub-goals) กาหนดเป็นเป้ าหมายประจาปี (Annual goals) จากนั้นจะแตกไปเป็นเป้ าหมายของแต่ละกลุ่ม แต่ละโครงการ
เพื่อให้ทราบว่า เป้ าหมายของตนเองที่ชัดเจนนั้นคืออะไร และควรจะดาเนินการที่เรื่องใดก่อน ซึ่งนอกจากจะทาให้
ผู้ปฏิบัติงานในระดับล่างสุดเข้าใจเป้ าหมายที่ไม่คลาดเคลื่อนแล้ว ยังมีประโยชน์ต่อกระบวนการในการวัดผลที่เหมาะสมด้วย ทั้งยัง
ช่วยให้มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสมพอดี เพียงเพื่อให้บรรลุผลในแต่ละกลุ่มหรือแต่ละโครงการ นั่นเอง
ความสาเร็จขององค์การนั้นเกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพในการนากลยุทธ์ไปประยุกต์ปฏิบัติ ทั้งนี้ผู้บริหารควรมีการ
มอบหมาย และกาหนดแนวทางหรือวิธีการในการปฏิบัติงาน สิ่งที่สาคัญในการนากลยุทธ์ไปปฏิบัติให้ประสบผลสาเร็จนั้น ผู้ปฏิบัติ
จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการปฏิบัติงานอย่างถ่องแท้
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์
5.
• การประเมินผลและการควบคุม (Evaluation and Control)
การควบคุมกลยุทธ์ เป็นหน้าที่สาคัญที่เกี่ยวข้องกับการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลกลยุทธ์ที่นาไปปฏิบัติ ทั้งนี้ในการ
นากลยุทธ์ไปปฏิบัตินั้นมักจะเกิดข้อผิดพลาดที่ต้องการการปรับปรุง เพื่อให้แน่ใจว่ากลยุทธ์นั้นจะก่อให้เกิดผลการ
ปฏิบัติงานที่ตรงตามแผนที่ได้ตั้งไว้
การตรวจสอบกลยุทธ์ (Strategic Control) จะมีการวัดผลทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีการกาหนด
เกณฑ์และมาตรฐาน โดยมาตรวัดการดาเนินงานที่เหมาะสมกับแต่ละองค์การ ซึ่งในแต่ละองค์การจะมาตรฐานและ
เกณฑ์การดาเนินงานของตนเอง ทั้งนี้การกาหนดมาตรฐานควรมีความระมัดระวังเพื่อให้สามารถสะท้อนผลการทางาน
ได้อย่างเป็นรูปธรรม
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์
ในการติดตาม ควบคุม และประเมินผลนั้น จาเป็นที่จะต้องมีการจัดตั้งหน่วยงานขึ้นมาดูแลแผนกลยุทธ์
โดยเฉพาะ ซึ่งจะต้องมีบุคลากรที่มีความรับผิดชอบเต็มเวลาที่สามารถทุ่มเทให้กับการติดตามและประเมินผลได้อย่าง
เต็มที่ หน่วยงานนี้ควรอยู่กับฝ่ายวางแผนที่มีผู้บริหารในฝ่ายอยู่ในระดับผู้บริหารชั้นสูง อย่างไรก็ตามในการดาเนินกลยุทธ์
นั้น จาเป็นต้องได้รับความร่วมมือที่ดีจากทุกฝ่ายตลอดเวลา จึงอาจมีความจาเป็นในการตั้งคณะกรรมการติดตามและ
ประเมินผลแผนกลยุทธ์ ที่ประกอบด้วยผู้แทนระดับบริหารจากฝ่ายต่าง ๆ ขึ้นร่วมด้วย

Contenu connexe

Tendances

ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) Yaowaluk Chaobanpho
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตRungnapa Rungnapa
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์Thida Noodaeng
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุขโครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข0868472700
 
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การChapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การwanna2728
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้DuangdenSandee
 

Tendances (20)

ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
 
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
Week1
Week1Week1
Week1
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุขโครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
 
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การChapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 

En vedette

บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...NIDA Business School
 
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp universitythammasat university
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัดPongsa Pongsathorn
 
ตัวอย่างการวิเคราะห์ความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์กร
ตัวอย่างการวิเคราะห์ความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์กรตัวอย่างการวิเคราะห์ความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์กร
ตัวอย่างการวิเคราะห์ความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์กรParadorn Sriarwut
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธNatepanna Yavirach
 
กรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยกรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยChatchamon Uthaikao
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Wichien Juthamongkol
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวpurithem
 
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?NIDA Business School
 
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหารแนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหารประพันธ์ เวารัมย์
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
การประเมินผล
การประเมินผลการประเมินผล
การประเมินผลthidtaya
 
การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2
การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2
การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2Watcharin Chongkonsatit
 

En vedette (20)

บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
 
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp university
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
 
ตัวอย่างการวิเคราะห์ความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์กร
ตัวอย่างการวิเคราะห์ความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์กรตัวอย่างการวิเคราะห์ความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์กร
ตัวอย่างการวิเคราะห์ความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์กร
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
 
กรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยกรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทย
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
การจัดการในศตวรรษที่ 21
การจัดการในศตวรรษที่ 21การจัดการในศตวรรษที่ 21
การจัดการในศตวรรษที่ 21
 
Micheal e.porter
Micheal e.porterMicheal e.porter
Micheal e.porter
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียว
 
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
 
Tsba action plan_20100616_v3
Tsba action plan_20100616_v3Tsba action plan_20100616_v3
Tsba action plan_20100616_v3
 
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
 
Strategic Management
Strategic ManagementStrategic Management
Strategic Management
 
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหารแนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
 
e-commerce
e-commercee-commerce
e-commerce
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
Taew
TaewTaew
Taew
 
การประเมินผล
การประเมินผลการประเมินผล
การประเมินผล
 
การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2
การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2
การบรรยายครั้งที่ 1 DGD641 การบริหารคลินิกและโรงพยาบาล 2
 

Similaire à การจัดการเชิงกลยุทธ์

ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารPrapon Pimsawat
 
Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic managementTum Aditap
 
ย่องานวิจัย
ย่องานวิจัยย่องานวิจัย
ย่องานวิจัยbenchamas21
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร Punyapon Tepprasit
 
Strategic leadership system 1
Strategic leadership system 1Strategic leadership system 1
Strategic leadership system 1maruay songtanin
 
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
chapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdf
chapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdfchapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdf
chapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdfPhatchaRee5
 
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016sakarinkhul
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
บทที่3องค์การและการจัดการ
บทที่3องค์การและการจัดการบทที่3องค์การและการจัดการ
บทที่3องค์การและการจัดการThamonwan Theerabunchorn
 
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดSWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดssuser711f08
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการpop Jaturong
 

Similaire à การจัดการเชิงกลยุทธ์ (20)

Strategy from role models
Strategy from role modelsStrategy from role models
Strategy from role models
 
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
 
Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic management
 
ย่องานวิจัย
ย่องานวิจัยย่องานวิจัย
ย่องานวิจัย
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
Strategic leadership system 1
Strategic leadership system 1Strategic leadership system 1
Strategic leadership system 1
 
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
 
chapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdf
chapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdfchapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdf
chapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdf
 
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
บทที่3องค์การและการจัดการ
บทที่3องค์การและการจัดการบทที่3องค์การและการจัดการ
บทที่3องค์การและการจัดการ
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
Strategy insights
Strategy insightsStrategy insights
Strategy insights
 
HRM of TAT
HRM of TATHRM of TAT
HRM of TAT
 
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดSWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
 
Hr of TAT
Hr of TATHr of TAT
Hr of TAT
 

Plus de Thida Noodaeng

คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียนคุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียนThida Noodaeng
 
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)Thida Noodaeng
 
พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์Thida Noodaeng
 
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาโครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาThida Noodaeng
 
แรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานแรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานThida Noodaeng
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
การจัดการคุณภาพ 1
การจัดการคุณภาพ 1การจัดการคุณภาพ 1
การจัดการคุณภาพ 1Thida Noodaeng
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟThida Noodaeng
 
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคบทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคThida Noodaeng
 
การใช้พลังงานนิวเคลียร์
การใช้พลังงานนิวเคลียร์การใช้พลังงานนิวเคลียร์
การใช้พลังงานนิวเคลียร์Thida Noodaeng
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าThida Noodaeng
 

Plus de Thida Noodaeng (13)

คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียนคุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
 
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)
 
พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์
 
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาโครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
 
แรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานแรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงาน
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
 
การจัดการคุณภาพ 1
การจัดการคุณภาพ 1การจัดการคุณภาพ 1
การจัดการคุณภาพ 1
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
 
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคบทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
 
การใช้พลังงานนิวเคลียร์
การใช้พลังงานนิวเคลียร์การใช้พลังงานนิวเคลียร์
การใช้พลังงานนิวเคลียร์
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 

การจัดการเชิงกลยุทธ์

  • 2. ปัจจุบันการดาเนินธุรกิจมีการแข่งขันค่อนข้างสูง ดังนั้นจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง ที่ผู้บริหารจะต้องอาศัยชั้นเชิงในการบริหารที่เหนือกว่าคู่แข่ง หรืออาศัยความว่องไวในการ ปรับตัวให้ทันต่อภาวะการแข่งขันที่เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การจัดการเชิงกลยุทธ์จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยให้นักบริหารกาหนดทิศทาง ของธุรกิจ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในองค์การ ช่วยกาหนดกลยุทธ์ที่ เหมาะสมกับองค์การ เพื่อที่จะนากลยุทธ์เหล่านั้นไปประยุกต์ปฏิบัติ และควบคุม ประเมินผลการดาเนินงานขององค์การได้ ทั้งนี้ไม่จากัดเฉพาะแต่องค์การภาครัฐหรือ ภาคเอกชนแต่อย่างใด การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
  • 3. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) กลยุทธ์ขององค์การจะเป็นสิ่งสาคัญที่จะกาหนดความสาเร็จหรือความล้มเหลว ขององค์การได้ การทาความเข้าใจและการพยายามศึกษาองค์การที่ประสบผลสาเร็จใน การใช้กลยุทธ์เพื่อการจัดการ จะทาให้นักบริหารได้ทราบถึงคุณประโยชน์ของกลยุทธ์ ที่จะ ช่วยสนับสนุนองค์การให้ประสบความสาเร็จ และจะต้องมีการพิจารณาเลือกกลยุทธ์และ ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับองค์การ การจัดการเชิงกลยุทธ์เป็ นการบริหารอย่างมีระบบที่ต้องอาศัยวิสัยทัศน์ ของผู้นาองค์การเป็ นส่วนประกอบ และอาศัยการวางแผนอย่างมี ขั้นตอน เนื่องจากการบริหารกลยุทธ์เป็ นการบริหารองค์รวม ผู้นาที่มีความสามารถจะ ต้องอาศัยกลยุทธ์ในการจัดการองค์การที่มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับองค์การ และ สามารถนาไปปฏิบัติได้จริงไม่ล้มเหลว เนื่องจากกลยุทธ์ที่ดีแต่ล้มเหลวจะไม่ สามารถนาความสาเร็จมาสู่องค์การได้ ดังนั้นทั้งกลยุทธ์และนักบริหาร ที่ เป็นผู้ตัดสินใจเลือกใช้กลยุทธ์และนากลยุทธ์ไปปฏิบัติจึงมีความสาคัญเท่าเทียมกัน
  • 4. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) คือ การจัดการเชิงกลยุทธ์เป็นเครื่องมือของนักบริหารในการบริหารงาน เพื่อตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่เพิ่มขึ้น การบริหารเชิงกลยุทธ์จะเน้นและให้ ความสาคัญต่อการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ (Strategic decision making) ที่ไม่เหมือนกับ การตัดสินใจในลักษณะอื่น ๆ เพราะการบริหารเชิงกลยุทธ์จะเกี่ยวข้องกับอนาคต ใ น ร ะ ย ะ ย า ว ข อ ง อ ง ค์ ก า ร ทั้ง ห ม ด ซึ่ ง มี ลั ก ษ ณ ะ ดั ง นี้ คื อ • เป็นกระบวนการของการบริหารองค์การโดยรวม • เป็นการบริหารที่เน้นการสร้างกลยุทธ์ เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับองค์การในระยะยาว • เป็นการตัดสินใจที่อาศัยชั้นเชิง ไม่มีวิธีการที่สาเร็จรูป • ต้องอาศัยความร่วมมือ พันธะผูกพัน (Commitment) และทรัพยากรในองค์การ • มีทิศทางที่ชัดเจนต่อทางเลือกต่าง ๆ และแสดงให้ทุกคนในองค์การเข้าใจตรงกัน ลักษณะที่สาคัญของการจัดการเชิงกลยุทธ์
  • 5. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) ความหมายเกี่ยวกับการจัดการเชิงกลยุทธ์ คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเชิงกลยุทธ์นั้นมีความหมายที่แตกต่างกันบ้างใน รายละเอียด แต่ส่วนใหญ่แล้วจะมีความหมายคล้ายคลึงกัน ดังนี้ การจัดการเชิงกลยุทธ์เป็ นศาสตร์ที่มีมานานโดยคาว่า กลยุทธ์ หรือ Strategic มีที่มาจากคาว่า Strategia ในภาษากรีกซึ่งหมายความว่า Generalship โดย คาว่ายุทธศาสตร์มักจะถูกนามาใช้ในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการทหาร และได้เข้า สู่แวดวงการศึกษาในเวลาต่อมา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสศึกษา ถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในธุรกิจ และต้องการให้เกิดการนาไปสู่การจัดทานโยบายทาง ธุรกิจที่นาไปใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานได้ในอนาคต
  • 6. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) โดยทั่วไป หมายถึงการกาหนด วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) วัตถุประสงค์ (Objective) เป้ าหมาย (Goal) ขององค์การในระยะสั้นและระยะยาว จากนั้น จึงวางแผนทากิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้องค์การ สามารถดาเนินงานตามพันธกิจ อันนาไปสู่การ บรรลุวัตถุประสงค์และเป้ าหมายที่กาหนดไว้ ความหมายเกี่ยวกับการจัดการเชิงกลยุทธ์
  • 7. ความหมายเกี่ยวกับการจัดการเชิงกลยุทธ์ นอกจากนี้เนื่องจากสภาพแวดล้อมทางธุรกิจมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งอาจ ก่อให้เกิดโอกาส หรืออุปสรรคแก่องค์การได้ องค์การจึงจาเป็ นต้องพิจารณา สภาพแวดล้อมภายในขององค์การ เพื่อหาจุดแข็งหรือจุดอ่อนในการที่จะสามารถ หลีกเลี่ยงจากอุปสรรคหรือใช้ประโยชน์จากโอกาสที่มีอยู่นั้นได้ ดังนั้นการจัดการเชิงกล ยุทธ์จึงเป็นการบริหารโดยคานึงถึง 1. ลักษณะการดาเนินงานขององค์การ 2. ลักษณะธุรกิจในอนาคต 3. สภาพแวดล้อม 4. การจัดสรรทรัพยากร 5. การปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์
  • 8. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) แนวคิดที่สาคัญในการจัดการเชิงกลยุทธ์ แนวคิดพื้นฐานที่สาคัญของการ จัดการเชิงกลยุทธ์ คือการกาหนดภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้ าหมายของกิจการ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยการจัดการ เชิงกลยุทธ์และการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ จะมีผลต่อการดาเนินงานในระยะยาว ดังนั้นองค์การจึงต้องมีการวาง แผนการทากิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้การ ดาเนินงานตามภารกิจบรรลุเป้ าหมายที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เพื่อให้ ตอบสนองต่อกระแสการ เปลี่ยนแปลง ซึ่งอาจจะเป็นอุปสรรคและบดบัง โอกาสในการก้าวหน้าขององค์การได้
  • 9. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) แนวคิดที่สาคัญในการจัดการเชิงกลยุทธ์ ฉะนั้นองค์การจึงต้องพิจารณาถึงจุดแข็งที่มีอยู่แล้วนามาใช้ให้เป็นประโยชน์ และพิจารณาถึงจุดอ่อนขององค์การเพื่อหาแนวทางขจัดจุดอ่อนเหล่านั้นเสีย ในแนวคิดด้านการจัดการเชิงกลยุทธ์นั้น จะมีความแตกต่างไปจากการจัดการโดยทั่วไป ซึ่งมักจะศึกษาถึงบทบาทหน้าที่ของผู้บริหาร ตามกระบวนการหรือขั้นตอนต่าง ๆและเน้น หนักไปที่การจัดการและการบริหารภายในองค์การ แต่การจัดการเชิงกลยุทธ์จะให้ ความสาคัญกับปัจจัยต่าง ๆ โดยเฉพาะปัจจัยภายนอกองค์การ หรือสภาวะแวดล้อม ภายนอกด้านต่าง ๆ ที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับการแข่งขัน คานึงถึงการสร้างความได้เปรียบใน การแข่งขันในระยะยาว และสภาวะการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรม
  • 10. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) การจัดการกลยุทธ์ยังคานึงถึงความความสาคัญของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับ องค์การ (Stakeholders) และการจัดการเชิงกลยุทธ์ยังทาหน้าที่ในการเชื่อมโยงประสาน หน่วยต่าง ๆ ในองค์การให้สามารถบริหารจัดการเพื่อบรรลุเป้ าหมายขององค์การร่วมกัน แนวคิดที่สาคัญในการจัดการเชิงกลยุทธ์
  • 11. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) หลักการสาคัญของการจัดการเชิงกลยุทธ์ การจัดการเชิงกลยุทธ์จะนาไปสู่การเพิ่มโอกาสของความสาเร็จและความล้มเหลวของ องค์การได้อย่างไรนั้นมีหลักสาคัญดังนี้ 1. • การจัดการเชิงกลยุทธ์เป็นการกาหนดวิสัยทัศน์ ทิศทาง ภารกิจ และวัตถุประสงค์ขององค์การธุรกิจ อย่างเป็นระบบ ดังนั้นการจัดการเชิงกลยุทธ์จึงเป็นสิ่งที่กาหนดทิศทางขององค์การ และช่วย ให้นักบริหารปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม การตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลงนั้น ทาให้นักบริหารสามารถกาหนดวัตถุประสงค์และทิศทางการดาเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม สอดคล้องกับสภาวะความเปลี่ยนแปลงได้ 2. • การจัดการเชิงกลยุทธ์ยังนาไปสู่การจัดการความเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น เนื่องจากมีการเตรียมรับกับ สถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงไว้แล้ว ทาให้องค์การค้นหาแนวทางที่เหมาะสมที่สุดต่อองค์การ ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยต่าง ๆ ที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ทั้งนี้เนื่องจากการจัดการเชิงกลยุทธ์ เป็นการกาหนดวิธีการหรือแนวทางในการดาเนินงานและกิจกรรมต่าง ๆ ขององค์การ เพื่อให้บรรลุ เป้ าหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์การที่ตั้งไว้
  • 12. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) 3. • การจัดการเชิงกลยุทธ์เป็นการนาแนวทางในการดาเนินองค์การที่คิดค้นสร้างสรรค์ขึ้น และนามา ประยุกต์ใช้เพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย ดังนั้นความคิดสร้างสรรค์จึงเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับนักบริหาร 4. • การวางแผนกลยุทธ์เป็นหน้าที่หลักของนักบริหาร เนื่องจากต้องวางแผนประยุกต์ใช้ และกาหนด ทิศทางในการดาเนินงานขององค์การ การจัดทาและปฏิบัติให้สอดคล้องตามแผนกลยุทธ์จึงมี ความสาคัญโดยเฉพาะในระยะยาว ดังนั้นความสามารถในการกาหนดกลยุทธ์ของนักบริหาร และความสามารถในการควบคุมให้การปฏิบัติเป็นไปตามกลยุทธ์ที่วางไว้ได้ จะเป็นสิ่งสะท้อน ศักยภาพและและสะท้อนของผู้บริหารได้เป็นอย่างดี หลักการสาคัญของการจัดการเชิงกลยุทธ์
  • 13. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) 5. • การจัดการเชิงกลยุทธ์ทาให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน จะช่วยสร้างประสิทธิภาพและ ศักยภาพในการแข่งขันให้แก่ธุรกิจ และเสริมสร้างการพัฒนาขีดความสามารถทางการบริหารของ นักบริหาร รวมทั้งช่วยเตรียมความพร้อมและพัฒนาบุคลากรที่อยู่ภายในองค์การ เนื่องจากการ พัฒนาเชิงกลยุทธ์จะต้องมีการสร้างความเข้าใจและแนวทางในการเตรียมพร้อม เพื่อรับกับความ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นของสภาพแวดล้อมและคู่แข่ง นอกจากนี้แล้วการจัดการเชิงกลยุทธ์ยัง ช่วยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในองค์การเข้าใจในภาพรวม โดยเฉพาะเป้ าหมายในการดาเนินงานทาให้ สามารถจัดลาดับการดาเนินงานตามลาดับความสาคัญเร่งด่วนได้ 6. • การจัดการเชิงกลยุทธ์ช่วยให้การทางานเกิดความสอดคล้องในการปฏิบัติหน้าที่ เนื่องจากมีการ กาหนดกลยุทธ์ การประยุกต์ใช้ และการตรวจสอบควบคุมไว้อย่างชัดเจน ทาให้เกิดความเข้าใจ ตรงกันและเกิดความร่วมมือ โดยเฉพาะความเข้าใจในวัตถุประสงค์ขององค์การ อีกทั้งจะช่วยให้มี การจัดสรรทรัพยากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับการบริหารองค์การในส่วนต่าง ๆ หลักการสาคัญของการจัดการเชิงกลยุทธ์
  • 14. องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ การจัดการเชิงกลยุทธ์ ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยพื้นฐาน 5 ประการ คือ 1. • การกาหนดทิศทาง (Direction Setting) 2. • การประเมินองค์การและสภาพแวดล้อม (Environment Scanning) 3. • การกาหนดกลยุทธ์ (Strategy Formulation) 4. • การดาเนินกลยุทธ์ (Strategy Implementation) 5. • การประเมินผลและการควบคุม (Evaluation and Control)
  • 15. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) 1. • การกาหนดทิศทาง (Direction Setting) องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ ในการกาหนดทิศทางขององค์การจะประกอบด้วย การกาหนดวิสัยทัศน์ (Vision ) และการกาหนดภารกิจ ( Mission ) หรือ กรอบในการดาเนินงานที่ชัดเจนจะช่วยให้องค์การสามารถกาหนดทิศทางในระยะยาว อีกทั้งยังแสดงถึง ความตั้งใจในการดาเนินธุรกิจอีกด้วย ภารกิจ (Mission) ในกระบวนการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์นั้น ขั้นแรกองค์การจะต้องระบุภารกิจและ เป้ าหมายหลักที่สาคัญของบริษัท ซึ่งภารกิจ หมายถึง ประกาศหรือข้อความของบริษัทที่พยายามกาหนดว่าจะทาอะไรใน ปัจจุบัน และกาลังจะทาอะไรในอนาคตและองค์การเป็นองค์การแบบใด และจะก้าวไปสู่การเป็นองค์การแบบใดทั้งนี้เพื่อ บรรลุสู่ความเป็นเลิศเหนือคู่แข่ง ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วข้อความเรื่องภารกิจขององค์การจะประกอบไปด้วย ข้อความที่บ่ง บอกถึงคุณค่าทางปรัชญาสาคัญที่ผู้บริหารตัดสินใจกระทา ซึ่งแสดงถึงพันธะของบริษัทที่มีต่อเป้ าหมายและสอดคล้องกับ คุณค่าของผู้บริหาร นอกจากนี้แล้วภารกิจยังจะสร้างสภาพแวดล้อมในการกาหนดกลยุทธ์อีกด้วย เป้ าหมาย (Gold) คือการบอกถึงสิ่งที่องค์การปรารถนาให้เกิดขึ้นในอนาคต และพยามบรรลุ โดยมีการ กาหนดให้ชัดเจน กระชับ ตรงจุด และสามารรถวัดได้ ทั้งนี้การกาหนดเป้ าหมายจะมีการกาหนดให้ชัดเจนขึ้นกว่าการ กาหนดภารกิจว่าจะต้องทาสิ่งใด
  • 16. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) 2. • การประเมินองค์การและสภาพแวดล้อม (Environment Scanning) องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ ในการประเมินสภาพแวดล้อมขององค์การนั้นจะประกอบไปด้วยการประเมินสภาพแวดล้อมภายนอก และการประเมินสภาพแวดล้อมภายใน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ทราบถึง จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค หรือ โดยทั่วไปจะเรียกว่าการวิเคราะห์ตามตัวแบบสว็อท (SWOT Analysis) ได้แก่ การวิเคราะห์จุดแข็ง (Strength –S) การวิเคราะห์จุดอ่อน (Weakness –W) การวิเคราะห์โอกาส (Opportunity –O) การวิเคราะห์ภาวะคุกคาม (Threat- T)
  • 17. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) 2.1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในขององค์การ (Internal Analysis) การวิเคราะห์ภายในขององค์การนั้น จะทาให้ทราบถึงจุดอ่อนและจุดแข็งขององค์การ ช่วยให้ ประเมินอดีตและแนวโน้มในปัจจุบัน การวิเคราะห์ภายในสามารถทาได้โดยการวิเคราะห์ปัจจัยที่จะนาไป สู่ความสาเร็จ (Critical success factor) การวิเคราะห์ (Value chain) และวิเคราะห์กระบวนการหลัก (Core business process) ซึ่งจะทาให้องค์การมีความสามารถหลักที่โดดเด่น (Core competency) องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ • การวิเคราะห์ห่วงโซ่ค่านิยม (Value chain) เป็นการพยายามเชื่อมโยงกิจกรรมหลัก และกิจกรรมย่อยของ องค์การ โดยการพยายามจัดกิจกรรมย่อยให้สนับสนุนกิจกรรมหลัก เพื่อจะสร้างคุณค่าที่สนองตอบกับ ค่านิยมของลูกค้า โดยสายงานหลักจะทาหน้าที่ในการผลิตกิจกรรมพื้นฐาน ประกอบไปด้วย การนาเข้า วัตถุดิบ การผลิตสินค้าและบริการ การตลาด และการให้บริการลูกค้า ส่วนสายงานสนับสนุนจะทาหน้าที่ใน การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาเทคโนโลยี การการจัดซื้อวัตถุดิบ เนื่องจากการวิเคราะห์ห่วงโซ่ ค่านิยม จะทาให้องค์การได้รับรู้ถึงค่านิยมของลูกค้าได้อย่างชัดเจน ทาให้สามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยง ค่านิยมของลูกค้า เข้าสู่กิจกรรมทุกกิจกรรมขององค์การ • การวิเคราะห์ปัจจัยที่จะนาไปสู่ความสาเร็จ (Critical success factor) สามารถทาได้โดยการวิเคราะห์ ลักษณะของกิจการ ตาแหน่งทางการแข่งขัน สภาพแวดล้อมทั่วไป และการพัฒนาองค์การ
  • 18. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) โดยสรุปแล้วการวิเคราะห์ปัจจัยภายในหรือสภาพแวดล้อมภายในนี้จะทาให้ทราบถึงจุดแข็งหรือจุดอ่อนทางธุรกิจขององค์การ องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ • การวิเคราะห์กระบวนการหลัก (Core business process) และระบบการดาเนินงาน เป็นกระบวนการสร้างคุณค่า ที่เชื่อมโยงระหว่างผู้จัดหาวัตถุดิบ องค์การ และลูกค้าเข้าด้วยกัน โดยมีกระบวนการหลักขององค์การ เพื่อพัฒนาสินค้าและ บริการ และเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า
  • 19. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ • ลักษณะหรือองค์ประกอบของ องค์การที่มีสมรรถนะเหนือกว่าจุดแข็ง • ลักษณะหรือองค์ประกอบของ องค์การที่มีสมรรถนะด้อยกว่า เมื่อเทียบกับคู่แข่ง จุดอ่อน
  • 20. 2.2 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองค์การ (External Analysis) สภาพแวดล้อม ภายนอกประกอบด้วย สภาพแวดล้อมทั่วไปและสภาพแวดล้อมในการดาเนินงาน * สภาพแวดล้อมทั่วไป (General Environment) เป็นสภาพแวดล้อมที่มีความสาคัญ แต่อาจจะ ไม่ใช่สิ่งแวดล้อมที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับองค์การโดยตรงแต่เป็นสภาพแวดล้อมโดยทั่วไป มีตัวแบบในการ พิจารณา คือ PEST Environment ได้แก่ องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ สภาพแวดล้อมด้านการเมือง (Political Environment –P) สภาพแวดล้อมด้านเศรษฐกิจ (Economic Environment –E) สภาพแวดล้อมด้านสังคม (Sociological Environment –S) สภาพแวดล้อมด้านเทคโนโลยี (Technology Environment –T)
  • 21. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) สภาพแวดล้อมทั่วไปสามารถส่งผลกระทบต่อองค์การได้ ยกตัวอย่างเช่น หากรัฐออกกฎหมายที่เอื้อต่อการดาเนินธุรกิจ ก็จะ ส่งผลดีต่อโอกาสในการดาเนินงานขององค์การ หรือการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่รวดเร็วอาจส่งผลให้สินค้ามีความ ล้าสมัยอย่างรวดเร็ว เป็นต้น องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ • สภาพแวดล้อมในการดาเนินงาน (Task Environment) ไมเคิล อี พอร์ตเตอร์ (Michael E.Poter ) ได้เสนอตัวแบบการ วิเคราะห์สภาพการแข่งขัน โดยใช้ตัวแบบที่ชื่อ The Five Compettive Force ซึ่งจะทาให้เราทราบถึงสมรรถภาพคู่แข่งที่เข้า มาใหม่ ทราบความต้องการของลูกค้า สามารถสร้างความร่วมมือกับผู้จัดส่งวัตถุดิบ การระมัดระวังไม่ให้ลูกค้าหันไปให้ ความสนใจสินค้าทดแทน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นตัวแบบที่ช่วยในการวิเคราะห์คู่แข่งได้เป็นอย่างดี • การวิเคราะห์คู่แข่งที่เข้ามาใหม่ (New Entrance) ผู้ที่เข้ามาใหม่มีความมุ่งหวังที่จะเข้ามามีส่วนร่วม หรือมีส่วนแบ่งทาง การตลาด ดังนั้นจึงเป็นภาวะที่คุกคาม ซึ่งจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับอุปสรรคที่เข้ามาและภาวะการตอบโต้ขององค์การ โดย สิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อผู้ที่เข้ามาใหม่ ได้แก่ Ecomies of Scale ความประหยัดที่เกิดจากการผลิตจานวนมาก (Economies of Scale) ทาให้คู่แข่งต้องมีการผลิตที่มีขนาดใหญ่พอ จึงจะสามารถต่อสู้กับกิจการเดิมได้
  • 22. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) ความแตกต่างของสินค้า Differentiation หรือ ขนาดของทุน Capital Requirement เนื่องจากผู้ที่เข้ามาใหม่จะต้องแบก ภาระต้นทุนที่สูงมากในด้านต่าง ๆ เป็นต้น เหล่านี้เป็นตัวอย่างของอุปสรรคสาหรับผู้ที่เข้ามาใหม่ ซึ่งนักบริหารจะต้องสร้าง ภาวะการตอบโต้ โดยอาศัยความได้เปรียบด้านอุปสรรคของผู้เข้ามาใหม่ในด้านต่าง ๆ องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ • การวิเคราะห์ผู้ซื้อ (Buyer) ผู้บริหารในองค์การภาครัฐ และภาคเอกชน จะต้องให้ความสาคัญกับลูกค้า เนื่องจากองค์การ จะต้องเผชิญกับอานาจการต่อรองของลูกค้า ในเรื่องของปริมาณ คุณภาพ และราคา • การวิเคราะห์ผู้จัดส่งวัตถุดิบ (Supplier) ผู้จัดส่งวัตถุดิบจะมีความสาคัญเนื่องจากองค์การจะต้องเผชิญกับพลังการต่อรอง ของผู้จัดส่งวัตถุดิบเช่นเดียวกับลูกค้า ดังนั้นผู้บริหารทั้งองค์การภาครัฐและองค์การภาคเอกชน จะต้องปรับกลยุทธ์เพื่อรับ กับพลังการต่อรองนั้น • การวิเคราะห์สินค้าทดแทน (Substitute) การมีสินค้าหรือบริการทดแทนทาให้องค์การต่าง ๆ จะต้องให้ความสาคัญกับ คุณภาพของสินค้า ราคา และบริการที่นาเสนอให้กับลูกค้า เนื่องจากการละเลยความสาคัญดังกล่าวจะทาให้องค์การ เสียเปรียบต่อคู่แข่งได้
  • 23. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) • การวิเคราะห์คู่แข่ง (Rival) คู่แข่งมีความสาคัญอย่างยิ่งที่นักบริหารจะต้องคานึงถึง เนื่องจากนักบริหารจะต้องใช้กลยุทธ์ เพื่อสร้างความได้เปรียบเหนือคู่แข่ง การละเลยหรือไม่ให้ความสาคัญกับคู่แข่งจะหมายถึงความพ่ายแพ้ องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ โดยสรุปแล้วการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกหรือสภาพแวดล้อมภายนอกนี้จะทาให้ทราบถึงโอกาสหรืออุปสรรคทางธุรกิจขององค์การ • การผสมผสานระหว่างเหตุการณ์ เวลา สถานที่ ที่มีแนวโน้มว่าจะเป็นประโยชน์ต่อองค์การ มาทาให้องค์การมีสมรรถนะที่จะดาเนินการ บางอย่างที่เหนือกว่าคู่แข่ง โอกาส • เหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ และถ้าเกิดขึ้น ก็จะทาความเสียหายให้แก่องค์การอุปสรรค
  • 24. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) 3. • การกาหนดกลยุทธ์ (Strategy Formulation) องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ การกาหนดกลยุทธ์ เป็นการพัฒนาแผนระยะยาวบนรากฐานของโอกาสและอุปสรรค ที่ได้จากการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายนอก และการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนที่ได้จาการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน โดยองค์การจะต้อง กาหนดและเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดที่เหมาะสมกับองค์การที่สุด ผู้บริหารต้องพยายามตอบคาถามว่าทาอย่างไรองค์การจึงจะไป ถึงเป้ าหมายที่ได้กาหนดไว้ได้ โดยใช้ความได้เปรียบในการแข่งขันขององค์การกาหนดเป็นกลยุทธ์ ทั้งนี้จะต้องคานึงถึงระดับที่ แตกต่างกันของกลยุทธ์ด้วย ซึ่งมีทั้งสิ้น 3 ระดับ คือ กลยุทธ์ระดับองค์การ (Corporate Strategy) • เป็นกลยุทธ์ที่ครอบคลุมและบ่งบอกถึงกลยุทธ์โดยรวม และทิศทางในการแข่งขันขององค์การว่า องค์การ จะมีการพัฒนาไปสู่ทิศทางใด จะดาเนินงานอย่างไร และจะจัดสรรทรัพยากรไปยังแต่ละหน่วยขององค์การอย่างไร เช่น การดาเนินธุรกิจแบบครบวงจร การขยายตัวไปในธุรกิจที่ไม่เกี่ยวข้องกันเลย เป็นต้น ตัวอย่างเครื่องมือ (Tools) ที่ช่วยในการกาหนดกลยุทธ์ในระดับองค์การ เช่น Boston Consulting Group Matrix, McKinsey 7 - S Framework เป็นต้น
  • 25. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ กลยุทธ์ระดับธุรกิจ (Business Strategy) • เป็นการกาหนดกลยุทธ์ในระดับที่ย่อยลงไป จะมุ่งปรับปรุงฐานะการแข่งขันขององค์การกับคู่แข่ง และ ระบุถึงวิธีการที่องค์การจะใช้ในการแข่งขัน มุ่งปรับปรุงฐานะการแข่งขันของผลิตภัณฑ์ให้สูงขึ้น โดยอาจ รวมกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่คล้ายกันไว้ด้วยกัน ภายในหน่วยธุรกิจเชิงกลยุทธ์ (Strategic Business Unit - SBU) เดียวกัน กลยุทธ์ระดับธุรกิจของ SBU นี้จะมุ่งการเพิ่มกาไร (Improving Profitability) และขยายการเติบโต (Growth) ให้มากขึ้น บางครั้งจึงเรียกกลยุทธ์ในระดับนี้ว่ากลยุทธ์การแข่งขัน (Competitive Strategy) ซึ่ง โดยทั่วไปจะมีอยู่ 3 กลยุทธ์ คือ การเป็นผู้นาด้านต้นทุนต่า (Cost Leadership) การสร้างความแตกต่าง (Differentiation) และ การจากัดขอบเขตหรือการมุ่งเน้นหรือการรวมศูนย์ (Focus Strategy) กลยุทธ์ระดับปฏิบัติการ (Operational Strategy) • เป็นการกาหนดกลยุทธ์ที่ครอบคลุมวิธีการในการแข่งขัน แก่ผู้เกี่ยวข้องใน หน่วยงาน (Function) ต่าง ๆ มุ่งเน้นให้แผนกงานตามหน้าที่พัฒนากลยุทธ์ขึ้นมา โดยอยู่ ภายใต้กรอบของกลยุทธ์ระดับองค์การและกลยุทธ์ระดับธุรกิจ เช่น แผนการผลิต แผนการตลาด แผนการดาเนินงานทั่วไป แผนการด้านทรัพยากรบุคคล แผนการเงิน เป็นต้น
  • 26. องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ Michel Robert ได้กล่าวถึงขั้นตอนในการสร้างกลยุทธ์ไว้ในหนังสือ e-Strategy ที่ อาจแตกต่างไปจากทั่ว ๆ ไปว่า ขั้นตอนในการสร้างกลยุทธ์จะอยู่บนพื้นฐานของสิ่งที่เราทาได้ดี ที่สุด What you do best แต่ไม่ได้อยู่บนพื้นฐานของสิ่งที่คู่แข่งขันของเราทาอยู่ (Not what the others do) ซึ่งแนวคิดนี้ใช้ได้ดีทั้งธุรกิจการผลิตและธุรกิจการบริการ โดยมีขั้นตอน 4 ขั้นตอน คือ 1. ระบุแรงขับดัน (Driving Force) ขององค์การ ที่สามารถช่วยให้มีความ ได้เปรียบทางการแข่งขัน ซึ่งเกี่ยวข้องกับจุดแข็งที่องค์การมีอยู่ เช่น การที่ องค์การมีเทคโนโลยีที่แตกต่าง องค์การสามารถใช้เทคโนโลยีเป็นตัวนา สาคัญในการดาเนินงานได้ เป็นต้น 2. สร้างกรอบแนวคิดทางธุรกิจ (Business Concept) อย่าง สั้น ๆ เพื่อแสดงว่าจะใช้แรงขับดันนั้นอย่างไร เช่น จะใช้ เทคโนโลยีนั้นผลิตสินค้าอะไร จะเจาะจงขายยังภูมิภาคใด 3. ระบุความเชี่ยวชาญขององค์การ (Area of Excellence) ที่เราต้องการ เพื่อนามาใช้สนับสนุนกลยุทธ์ เช่น อาจจาเป็นต้องปรับปรุงคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์ให้สูงขึ้น หรือการสร้างความชานาญในการขายและบริการแก่ พนักงานขาย เป็นต้น 4. ระบุประเด็นสาคัญ (Critical Issues) หรือเรื่องที่เกี่ยวข้องและมีความสาคัญ ที่อาจจะต้องถูก ปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลง เพื่อให้เอื้อต่อการนากลยุทธ์ไปดาเนินการ เช่น โครงสร้าง (Structure) กระบวนการหรือระบบ (Process/System) ทักษะและความสามารถ (Skills/Competencies) ระบบการให้ผลตอบแทน (Compensation) เป็นต้น
  • 27. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีทฤษฎีที่ว่าด้วยกลยุทธ์ที่สามารถนามาพิจารณาใช้ได้มากมาย แต่ย่อมไม่มีทฤษฎีหรือแนวทาง จัดการใดใช้ได้กับทุกสถานการณ์ ดังนั้นจึงไม่มีสูตรสาเร็จในการกาหนดกลยุทธ์และสร้างกลยุทธ์ที่สามารถใช้ได้กับ ทุกสถานการณ์ แต่อย่างน้อยในการกาหนด กลยุทธ์นั้นควรจะได้พิจารณาเกณฑ์ต่อไปนี้ประกอบด้วย เช่น * เป็นกลยุทธ์ที่ตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมภายนอก * เป็นกลยุทธ์ที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน * เป็นกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ในระยะยาว * เป็นกลยุทธ์ที่มีความยืดหยุ่น เหมาะสม * เป็นกลยุทธ์ที่เป็นไปได้
  • 28. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) 4. • การดาเนินกลยุทธ์ (Strategy Implementation) องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ คือกระบวนการที่ผู้บริหารแปลงกลยุทธ์และนโยบาย ไปสู่แผนการดาเนินงาน กาหนด รายละเอียดด้านต่าง ๆ เช่น ด้านงบประมาณ หรือวิธีการดาเนินงาน ซึ่งกระบวนการนี้อาจจะเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง ภายในด้านวัฒนธรรม โครงสร้าง หรือระบบการบริหาร เพื่อให้สามารถดาเนินการตามกลยุทธ์ได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยทั่วไปจะประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ 1. ขั้นตอนของการกาหนดแผนและการจัดสรรทรัพยากร (Resources Allocation) 2. ขั้นตอนของการปรับโครงสร้างองค์การ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของการใช้กลยุทธ์และการใช้ทรัพยากร เป็นต้น 3. ขั้นตอนของการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในส่วนของระบบและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เช่น เรื่องระบบข้อมูล ข่าวสาร ระบบบริหารบุคคล (การให้การศึกษา การให้การอบรม การกระตุ้น ส่งเสริมให้บุคลากรในองค์การทางานได้ อย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ) เป็นต้น 4. การกระจายกลยุทธ์ (Strategic Deployment) หากองค์การมีการสร้างวิสัยทัศน์ สร้างพันธกิจขึ้นมาแล้ว แต่ไม่ได้มีการ ดาเนินการก็จะทาให้เกิดการสูญเปล่า (Waste) ได้ เพราะแม้ว่าแผนเหล่านั้นจะเป็นแผนงานที่ถูกจัดทามาอย่างดี ผ่าน การระดมความคิดมาอย่างเข้มข้นเพียงใดก็ตาม หากไม่ลงมือปฏิบัติก็ย่อมไม่เกิดผลเป็นรูปธรรมขึ้น
  • 29. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ ดังนั้นเพื่อทาให้เกิดผลจึงจาเป็นต้องมีการกระจายแผนไปยังทุก ๆ ส่วนทั่วทั้งองค์การ โดยต้องสอดประสานกับบทบาท หน้าที่ของหน่วยงานต่าง ๆ อย่างชัดเจน และเข้าใจได้ ซึ่งจากเป้ าหมายเชิงกลยุทธ์ (Strategic goals) อาจถูกแปลงเป็นเป้ าหมายย่อย (Sub-goals) กาหนดเป็นเป้ าหมายประจาปี (Annual goals) จากนั้นจะแตกไปเป็นเป้ าหมายของแต่ละกลุ่ม แต่ละโครงการ เพื่อให้ทราบว่า เป้ าหมายของตนเองที่ชัดเจนนั้นคืออะไร และควรจะดาเนินการที่เรื่องใดก่อน ซึ่งนอกจากจะทาให้ ผู้ปฏิบัติงานในระดับล่างสุดเข้าใจเป้ าหมายที่ไม่คลาดเคลื่อนแล้ว ยังมีประโยชน์ต่อกระบวนการในการวัดผลที่เหมาะสมด้วย ทั้งยัง ช่วยให้มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสมพอดี เพียงเพื่อให้บรรลุผลในแต่ละกลุ่มหรือแต่ละโครงการ นั่นเอง ความสาเร็จขององค์การนั้นเกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพในการนากลยุทธ์ไปประยุกต์ปฏิบัติ ทั้งนี้ผู้บริหารควรมีการ มอบหมาย และกาหนดแนวทางหรือวิธีการในการปฏิบัติงาน สิ่งที่สาคัญในการนากลยุทธ์ไปปฏิบัติให้ประสบผลสาเร็จนั้น ผู้ปฏิบัติ จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการปฏิบัติงานอย่างถ่องแท้
  • 30. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ 5. • การประเมินผลและการควบคุม (Evaluation and Control) การควบคุมกลยุทธ์ เป็นหน้าที่สาคัญที่เกี่ยวข้องกับการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลกลยุทธ์ที่นาไปปฏิบัติ ทั้งนี้ในการ นากลยุทธ์ไปปฏิบัตินั้นมักจะเกิดข้อผิดพลาดที่ต้องการการปรับปรุง เพื่อให้แน่ใจว่ากลยุทธ์นั้นจะก่อให้เกิดผลการ ปฏิบัติงานที่ตรงตามแผนที่ได้ตั้งไว้ การตรวจสอบกลยุทธ์ (Strategic Control) จะมีการวัดผลทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีการกาหนด เกณฑ์และมาตรฐาน โดยมาตรวัดการดาเนินงานที่เหมาะสมกับแต่ละองค์การ ซึ่งในแต่ละองค์การจะมาตรฐานและ เกณฑ์การดาเนินงานของตนเอง ทั้งนี้การกาหนดมาตรฐานควรมีความระมัดระวังเพื่อให้สามารถสะท้อนผลการทางาน ได้อย่างเป็นรูปธรรม
  • 31. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) องค์ประกอบของการจัดการเชิงกลยุทธ์ ในการติดตาม ควบคุม และประเมินผลนั้น จาเป็นที่จะต้องมีการจัดตั้งหน่วยงานขึ้นมาดูแลแผนกลยุทธ์ โดยเฉพาะ ซึ่งจะต้องมีบุคลากรที่มีความรับผิดชอบเต็มเวลาที่สามารถทุ่มเทให้กับการติดตามและประเมินผลได้อย่าง เต็มที่ หน่วยงานนี้ควรอยู่กับฝ่ายวางแผนที่มีผู้บริหารในฝ่ายอยู่ในระดับผู้บริหารชั้นสูง อย่างไรก็ตามในการดาเนินกลยุทธ์ นั้น จาเป็นต้องได้รับความร่วมมือที่ดีจากทุกฝ่ายตลอดเวลา จึงอาจมีความจาเป็นในการตั้งคณะกรรมการติดตามและ ประเมินผลแผนกลยุทธ์ ที่ประกอบด้วยผู้แทนระดับบริหารจากฝ่ายต่าง ๆ ขึ้นร่วมด้วย