SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
7.4 การเขียนแบบท่อ สามารถเขียนได้2 วิธี คือ
7.4.1 Single line drawing เป็นการเขียนภาพของท่อที่ใช้เส้นเพียงเส้นเดียว คือเส้นผ่าศูนย์กลางท่อ และใช้
สัญลักษณ์ท่อในการเขียนทาให้เขียนง่าย และรวดเร็วสามารถเขียนได้ทั้งภาพ 2 มิติและ 3 มิติ
7.4.1.1 orthographic drawing เป็นการเขียนภาพฉายทั้ง 3 ด้านด้านบน ด้านหน้าและด้านข้าง
7.4.1.2 isometric drawing เป็นการเขียนภาพที่ใช้มุม 30 องศา เป็นตัวกาหนด
โครงสร้างและทิศทางของท่อทาให้การมองภาพเข้าใจได้ง่ายขึ้น
7.4.1.3 obliques drawing เป็นการเขียนภาพที่ใช้มุม 45 องศา เป็นตัวกาหนด
โครงสร้าง และทิศทางของท่อ
รูปที่ 7.11 แสดงการเขียนแบบท่อ แบบ Single Line Drawing
7.4.1.1 วิธีการเขียนแบบท่อ แบบ Orthographic มี 2 วิธี
- single line orthographic คือการเขียนภาพฉายทั้ง 3 ด้าน เขียนเส้นเดียว โดยใช้เส้นผ่าศูนย์กลางท่อ
เป็นหลัก และใช้สัญลักษณ์ท่อในการเขียนสามารถเขียนได้ทั้งภาพ 2 มิติและ 3 มิติขึ้อยู่กับลักษณะของงานที่เขียน
- Double lineorthographic เป็นการเขียนภาพฉายทั้ง 3ด้านและเขียนเหมือนจริง
คือการเขียนแบบเส้นคู่ทาไห้การอ่านแบบเข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น
รูปที่ 7.12 แสดงการเขียนแบบท่อแบบOrthographic
7.4.1.2 การเขียนแบบท่อ แบบ Isometric มี 2 วิธี
- single line isometric เป็นการเขียนภาพที่ใช้มุม 30 องศาเป็นตัวกาหนดโครงสร้างและทิศทางของท่อ
เขียนเส้นเดียว โดยใช้เส้นผ่าศูนย์กลางเป็นหลัก และใช้สัญลักษณ์งานท่อในการเขียนใช้เวลาน้อยและเขียนได้รวดเร็วเข้าใจ
ง่ายเพราะมีทั้งความกว้างความยาวและความสูง
- Double line isometric เป็นการเขียนภาพที่ใช้มุม 30 องศา เป็นตัวกาหนดโครงสร้างและทิศทางของ
ท่อ มีเปลือกนอกหุ้มเขียนเหมือนจริงคือเขียนแบบเส้นคู่ทาให้การอ่านแบบเข้าใจได้ง่ายขึ้น
รูปที่ 7.13 แสดงการเขียนแบบท่อ แบบ Single line isometric
7.4.2 Double line drawing เป็นการเขียนภาพของท่อที่มีเปลือกหุ้ม มีลักษณะเหมือนจริง แต่ไม่ใช้สัญลักษณ์
ของท่อ มีข้อดีและข้อเสียคือ
- เขียนเหมือนจริง
- อ่านแบบได้ง่าย
- แต่เสียเวลาเขียนมาก
- ใช้เขียนร่วมกับอุปกรณ์อื่นๆ boiler pump
รูปที่ 7.14 แสดงการเขียนแบบงานท่อ แบบ Double line drawing
การเขียนแบบท่อ แบบ Double line isometricเป็นการเขียนแบบที่ใช้โครงสร้างในการเขียนเป็นมุม 30 องศาและ
เขียนด้วยเส้นคู่ทาให้เหมือนรูปจริงเข้าใจได้ง่ายอ่านแบบได้อย่างชัดเจนเพราะรูปประกอบไปด้วยความกว้างความยาว
และความสูงดังภาพ
รูปที่ 7.15 แสดงการเขียนภาพแบบ Double line isometric
7.4.3 การเขียนแบบท่อ แบบ Development
การเขียนเพื่อต้องการทราบขนาดความยาวจริงของท่อทั้งหมด และง่ายต่อการประมาณราคาเพราะ
ชิ้นงานจะไม่มีส่วนใดส่วนหนึ่งถูกบังจะทาการเขียนแบบชิ้นงานแผ่ขยายออกทางด้านข้างทั้งหมด
ภาพ A เป็นการเขียนภาพฉายแบบ 2 มิติ(Orthographic)
ภาพ B เป็นการเขียนแบบภาพคลี่(Developed)
ภาพ C เป็นการเขียนภาพแบบ 3 มิติ(Pictorial)
รูปที่ 7.16 แสดงการเขียนภาพแบบภาพฉาย แบบคลี่ และแบบสามมิติ
7.4.4 การกาหนดขนาดแบบท่อ
- ให้ระหว่างเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อ
- ข้อต่อ และ Valve จะให้จากจุดกึ่งกลาง
- เส้นผ่าศูนย์กลางและรัศมีใช้ลูกศรชี้บอกขนาด
ในการวัดขนาดของท่อนิยมวัดเส้นผ่าศูนย์กลางภายในรูไม่วัดเส้นผ่าศูนย์กลางนอกรู เช่นท่อขนาด 1 นิ้ว หมายความว่า
ขนาดของรูในของท่อเท่ากับ 1 นิ้ว
รูปที่ 7.17 แสดงการกาหนดขนาดของการเขียนแบบงานท่อ
7.4.5 การเขียนแบบเกลียวท่อ
การเขียนแบบเกลียวท่อตามระบบ American standard pipe thread สามารถเขียนได้หลายรูปแบบ ทั้งแบบ
ง่ายทั่วไป และการทาเกลียวในของท่อ
รูปที่ 7.18 แสดงการเขียนแบบเกลียวท่อ
รูปที่ 7.19 แสดงลักษณะเกลียวเรียว (Taper pipe threat)

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Version
บทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Versionบทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Version
บทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full VersionChattichai
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานNut Veron
 
Chapter 04 applied geometry
Chapter 04 applied geometry Chapter 04 applied geometry
Chapter 04 applied geometry Preeda Prakotmak
 
งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1Pannathat Champakul
 
งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3Pannathat Champakul
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมPiyaboon Nilkaew
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)Fair Kung Nattaput
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1MaloNe Wanger
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpPiyaboon Nilkaew
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาดkruood
 

Tendances (20)

6 4
6 46 4
6 4
 
9 1
9 19 1
9 1
 
บทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Version
บทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Versionบทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Version
บทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Version
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
 
01 p&id - 1
01 p&id - 101 p&id - 1
01 p&id - 1
 
305
305305
305
 
2 2
2 22 2
2 2
 
5 1
5 15 1
5 1
 
Chapter 04 applied geometry
Chapter 04 applied geometry Chapter 04 applied geometry
Chapter 04 applied geometry
 
งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1
 
ภาพฉายมุมที่1 3
ภาพฉายมุมที่1 3ภาพฉายมุมที่1 3
ภาพฉายมุมที่1 3
 
งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3
 
8 3
8 38 3
8 3
 
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิกแบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)
 
1 1
1 11 1
1 1
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
 

Plus de Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
303
303303
303
 

7 4

  • 1. 7.4 การเขียนแบบท่อ สามารถเขียนได้2 วิธี คือ 7.4.1 Single line drawing เป็นการเขียนภาพของท่อที่ใช้เส้นเพียงเส้นเดียว คือเส้นผ่าศูนย์กลางท่อ และใช้ สัญลักษณ์ท่อในการเขียนทาให้เขียนง่าย และรวดเร็วสามารถเขียนได้ทั้งภาพ 2 มิติและ 3 มิติ 7.4.1.1 orthographic drawing เป็นการเขียนภาพฉายทั้ง 3 ด้านด้านบน ด้านหน้าและด้านข้าง 7.4.1.2 isometric drawing เป็นการเขียนภาพที่ใช้มุม 30 องศา เป็นตัวกาหนด โครงสร้างและทิศทางของท่อทาให้การมองภาพเข้าใจได้ง่ายขึ้น 7.4.1.3 obliques drawing เป็นการเขียนภาพที่ใช้มุม 45 องศา เป็นตัวกาหนด โครงสร้าง และทิศทางของท่อ รูปที่ 7.11 แสดงการเขียนแบบท่อ แบบ Single Line Drawing 7.4.1.1 วิธีการเขียนแบบท่อ แบบ Orthographic มี 2 วิธี - single line orthographic คือการเขียนภาพฉายทั้ง 3 ด้าน เขียนเส้นเดียว โดยใช้เส้นผ่าศูนย์กลางท่อ เป็นหลัก และใช้สัญลักษณ์ท่อในการเขียนสามารถเขียนได้ทั้งภาพ 2 มิติและ 3 มิติขึ้อยู่กับลักษณะของงานที่เขียน - Double lineorthographic เป็นการเขียนภาพฉายทั้ง 3ด้านและเขียนเหมือนจริง คือการเขียนแบบเส้นคู่ทาไห้การอ่านแบบเข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น
  • 2. รูปที่ 7.12 แสดงการเขียนแบบท่อแบบOrthographic 7.4.1.2 การเขียนแบบท่อ แบบ Isometric มี 2 วิธี - single line isometric เป็นการเขียนภาพที่ใช้มุม 30 องศาเป็นตัวกาหนดโครงสร้างและทิศทางของท่อ เขียนเส้นเดียว โดยใช้เส้นผ่าศูนย์กลางเป็นหลัก และใช้สัญลักษณ์งานท่อในการเขียนใช้เวลาน้อยและเขียนได้รวดเร็วเข้าใจ ง่ายเพราะมีทั้งความกว้างความยาวและความสูง - Double line isometric เป็นการเขียนภาพที่ใช้มุม 30 องศา เป็นตัวกาหนดโครงสร้างและทิศทางของ ท่อ มีเปลือกนอกหุ้มเขียนเหมือนจริงคือเขียนแบบเส้นคู่ทาให้การอ่านแบบเข้าใจได้ง่ายขึ้น
  • 3. รูปที่ 7.13 แสดงการเขียนแบบท่อ แบบ Single line isometric 7.4.2 Double line drawing เป็นการเขียนภาพของท่อที่มีเปลือกหุ้ม มีลักษณะเหมือนจริง แต่ไม่ใช้สัญลักษณ์ ของท่อ มีข้อดีและข้อเสียคือ - เขียนเหมือนจริง - อ่านแบบได้ง่าย - แต่เสียเวลาเขียนมาก - ใช้เขียนร่วมกับอุปกรณ์อื่นๆ boiler pump
  • 4. รูปที่ 7.14 แสดงการเขียนแบบงานท่อ แบบ Double line drawing การเขียนแบบท่อ แบบ Double line isometricเป็นการเขียนแบบที่ใช้โครงสร้างในการเขียนเป็นมุม 30 องศาและ เขียนด้วยเส้นคู่ทาให้เหมือนรูปจริงเข้าใจได้ง่ายอ่านแบบได้อย่างชัดเจนเพราะรูปประกอบไปด้วยความกว้างความยาว และความสูงดังภาพ
  • 5. รูปที่ 7.15 แสดงการเขียนภาพแบบ Double line isometric 7.4.3 การเขียนแบบท่อ แบบ Development การเขียนเพื่อต้องการทราบขนาดความยาวจริงของท่อทั้งหมด และง่ายต่อการประมาณราคาเพราะ ชิ้นงานจะไม่มีส่วนใดส่วนหนึ่งถูกบังจะทาการเขียนแบบชิ้นงานแผ่ขยายออกทางด้านข้างทั้งหมด ภาพ A เป็นการเขียนภาพฉายแบบ 2 มิติ(Orthographic) ภาพ B เป็นการเขียนแบบภาพคลี่(Developed) ภาพ C เป็นการเขียนภาพแบบ 3 มิติ(Pictorial)
  • 6. รูปที่ 7.16 แสดงการเขียนภาพแบบภาพฉาย แบบคลี่ และแบบสามมิติ 7.4.4 การกาหนดขนาดแบบท่อ - ให้ระหว่างเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อ - ข้อต่อ และ Valve จะให้จากจุดกึ่งกลาง - เส้นผ่าศูนย์กลางและรัศมีใช้ลูกศรชี้บอกขนาด ในการวัดขนาดของท่อนิยมวัดเส้นผ่าศูนย์กลางภายในรูไม่วัดเส้นผ่าศูนย์กลางนอกรู เช่นท่อขนาด 1 นิ้ว หมายความว่า ขนาดของรูในของท่อเท่ากับ 1 นิ้ว
  • 7. รูปที่ 7.17 แสดงการกาหนดขนาดของการเขียนแบบงานท่อ 7.4.5 การเขียนแบบเกลียวท่อ การเขียนแบบเกลียวท่อตามระบบ American standard pipe thread สามารถเขียนได้หลายรูปแบบ ทั้งแบบ ง่ายทั่วไป และการทาเกลียวในของท่อ
  • 8. รูปที่ 7.18 แสดงการเขียนแบบเกลียวท่อ รูปที่ 7.19 แสดงลักษณะเกลียวเรียว (Taper pipe threat)