SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
ครูสมศรีเป็นครูสอนวิชาสังคมศึกษา เป็นผู้มีความรู้และมีความเชี่ยวชาญใน
ด้านนี้เป็นอย่างดี โดยวิธีการสอนนักเรียนในแต่ละครั้ง ครูสมศรีมักจะสอนหรือบรรยาย
ให้นักเรียนจา และสื่อการสอนที่นามาใช้ในประกอบการสอนก็เป็นในลักษณะที่เน้น
การถ่ายทอดความรู้ด้วย ไม่ว่าจะเป็นหนังสือเรียน, การสอนบนกระดาน หรือแม้กระทั่ง
วิดีโอที่นามาเปิดให้นักเรียนได้เรียน โดยครูสมศรีมีความเชื่อที่ว่า การสอนที่ดีและมี
ประสิทธิภาพนั้น คือสามารถทาให้นักเรียนสามารถจาเนื้อหา เรื่องราวในบทเรียนให้
ได้มากที่สุด ส่วนนักเรียนของครูสมศรีก็เป็นประเภทที่ว่ารอรับเอาความรู้จากครูแต่เพียง
อย่างเดียว ดาเนินกิจกรรมการเรียนตามที่ครูกาหนดทั้งหมด เรียนไปได้ไม่นานก็เบื่อ ไม่
กระตือรือร้นที่จะหาความรู้จากที่อื่นเพิ่มเติม ครูให้ทาแค่ไหนก็ทาแค่นั้นพอ
ซึ่งจากวิธีการสอนของครูสมศรีและลักษณะของนักเรียนที่กล่าวมาทั้งหมด ได้
ส่งผลให้เกิดปัญหาขึ้นคือ เมื่อเรียนผ่านมาได้ไม่นานก็ทาให้ลืมเนื้อหาที่เคยเรียนมา ไม่
สามารถคิดได้ด้วยตนเองและไม่สามารถที่จะนามาใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้
1. วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี
ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญหรือไม่ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ
แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน
การใช้สื่อการสอนของครูสมศรี และ วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน
ครูสมศรี
วิธีการจัดการเรียนการสอน
การใช้สื่อการสอน
วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน
ครูเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้
ผ่านการบรรยาย
หนังสือเรียน กระดาน
และวิดีโอ
เน้นทักษะการจดจา ท่องจา
จากการวิเคราะห์ข้อมูลข้างต้น สรุปได้ว่า แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการ
สอน และการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ไม่
สอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
2. วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามีการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านใดบ้าง พร้อมทั้งอธิบายเหตุผลสนับสนุน
บทบาทเดิม บทบาทในยุคปฏิรูปการเรียนรู้
ผู้สอนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้
ครูยืนอยู่หน้าชั้นเรียนและถ่ายทอดเนื้อหา
ในขณะที่ผู้เรียนนั่งฟังและรอรับความรู้
จากผู้สอน
เน้นให้นักเรียนคิด แก้ไขปัญหาเป็นและ
สามารถศึกษาหาความรู้ได้ด้วยตนเอง
การเรียนการสอนมีกรอบเนื้อหาอยู่เฉพาะ
ในหนังสือ และชั้นเรียนเท่านั้น ไม่
สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้
การเรียนการสอนเป็นแบบพลวัตร
เน้นผลลัพธ์มากกว่าวิธีการ เน้นวิธีการมากกว่าผลลัพธ์
บทบาทเดิม บทบาทในยุคปฏิรูปการเรียนรู้
เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ เป็นผู้ส่งเสริม หรือชี้แนะให้ผู้เรียน
สามารถบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ได้ด้วย
ตนเอง
เป็นผู้ควบคุมการเรียนการสอนและส่ง
เนื้อหาความรู้ไปยังผู้เรียนโดยตรง
เป็นผู้จัดเตรียมสถานการณ์ให้นักเรียนได้
เรียนรู้
เป็นผู้ควบคุม วางแผนการสอนทั้งหมด
เอง
เป็นผู้วางแผนการสอน โดยให้สอดคล้อง
และเหมาะสมกับผู้เรียน
Jerome Seymour Bruner
Bruner (1993) กล่าว “ผู้เรียนต้องยกระดับการเรียนที่เพิ่มจากการจดจา ไปสู่
การเริ่มต้นที่จะคิดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์” ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
ครูผู้สอนควรจะศึกษาเทคนิค วิธีการ เทคโนโลยีต่างๆที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้
ใหม่ๆ มีทักษะในการคิดระดับสูง(คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ แก้ปัญหาได้) การเน้น
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้นั้น ผู้เรียนจะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับแหล่งข้อมูลที่มี
ศักยภาพ ได้แก่ ครู เทคโนโลยี พ่อแม่ ภูมิปัญญาชาวบ้านและบุคคลอื่นๆ เพื่อที่จะ
นามาสู่การหยั่งรู้ปัญหาและการแก้ปัญหา บทบาทของครูได้เปลี่ยนแปลงมาสู่การเป็น
ผู้แนะแนว ช่วยเหลือให้ผู้เรียนบรรลุเป้ าหมายการเรียนรู้
บทบาทเดิม บทบาทในยุคปฏิรูปการเรียนรู้
เป็นผู้รอรับความรู้จากผู้สอน เป็นผู้ร่วมเรียนรู้
เป็นผู้คัดลอกและจดจาความรู้ เป็นผู้สร้างและแลกเปลี่ยนความรู้กับ
ผู้เรียนคนอื่นๆ
ทากิจกรรมรายบุคคล ทากิจกรรมเป็นกลุ่ม
Driscoll (1994) กล่าวว่า อาจจะไม่ใช่เวลาที่จะคิดว่าผู้เรียนเป็นภาชนะที่ว่าง
เปล่าที่รอรับการเติมให้เต็ม แต่น่าจะคิดว่าผู้เรียนเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความตื่นตัว
กระฉับกระเฉงและค้นหาความหมาย ซึ่งขณะนี้ผู้เรียนได้ถูกมองว่าเป็นผู้ที่มีส่วนร่วม
ในการเรียนรู้ คิดค้น เสาะแสวงหาวิธีที่จะวิเคราะห์ ตั้งคาถาม อธิบาย ตลอดจนทาความ
เข้าใจสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
Brother John G. Driscoll
บทบาทเดิม บทบาทในยุคปฏิรูปการเรียนรู้
มีหนังสือ กระดานดา คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต โปรเจกเตอร์
อินเตอร์เน็ต เว็บไซต์ ฯลฯ
โต๊ะเรียนเป็นแถวตรง โต๊ะเรียนสามารถจัดเป็นกลุ่มได้
3. ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี ให้เหมาะสมกับยุคปฏิรูป
การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
วิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี
ครูสมศรี
วิธีการจัดการเรียนการสอน
การใช้สื่อการสอน
วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน
ครูเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้
ผ่านการบรรยาย
หนังสือเรียน กระดาน
และวิดีโอ
เน้นทักษะการจดจา ท่องจา
วิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี
การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
วิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี
การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ครูสมศรี
ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ศึกษาเทคนิค วิธีการเทคโนโลยีต่างๆ ที่จะ
นามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ใหม่
เป็นผู้ส่งเสริม เอื้ออานวย ร่วมแก้ปัญหา
โค้ช ชี้นาความรู้ และผู้ร่วมเรียนรู้
จัดเตรียมหรือให้สิ่งที่ตอบสนองต่อการ
เรียนรู้ของผู้เรียนอย่างหลากหลาย
ผู้เรียน
ทักษะการคิดในระดับสูง
(Higher-Order Thinking Skills)
รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม
นางสาวชนาทิพย์ นครังสุ รหัส 553050065-3
นางสาววิภารัตน์ ขานเกตุ รหัส 553050099-6
นางสาวช่อผกา นาค-อก รหัส 553050281-7
นายณรงค์ฤทธิ์ บัวใหญ่ รหัส 553050283-3
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
รหัสวิชา 241203 sec.2

More Related Content

What's hot

chapter 2 the changing of educational technology
chapter 2 the changing of educational technologychapter 2 the changing of educational technology
chapter 2 the changing of educational technologyPacharaporn087-3
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้a35974185
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้lalidawan
 
นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9Setthawut Ruangbun
 
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์Natcha Wannakot
 
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้านวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้าLALILA226
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้Aa-bb Sangwut
 

What's hot (17)

chapter 2 the changing of educational technology
chapter 2 the changing of educational technologychapter 2 the changing of educational technology
chapter 2 the changing of educational technology
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9
 
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
 
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้านวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9
Chapter 9 Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter 9 pdf
Chapter 9 pdfChapter 9 pdf
Chapter 9 pdf
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
 

Viewers also liked

Viewers also liked (10)

Redes sociales y educación trabajo final
Redes sociales y educación   trabajo finalRedes sociales y educación   trabajo final
Redes sociales y educación trabajo final
 
Презентация для Минсельхоза России
Презентация для Минсельхоза РоссииПрезентация для Минсельхоза России
Презентация для Минсельхоза России
 
Presentación epi
Presentación epiPresentación epi
Presentación epi
 
Avestruz (1)
Avestruz (1)Avestruz (1)
Avestruz (1)
 
Crearblogpasoapaso
CrearblogpasoapasoCrearblogpasoapaso
Crearblogpasoapaso
 
Dallas Investors Forum
Dallas Investors ForumDallas Investors Forum
Dallas Investors Forum
 
Apa
ApaApa
Apa
 
Descritores prova brasil mat 2013
Descritores prova brasil mat 2013Descritores prova brasil mat 2013
Descritores prova brasil mat 2013
 
Formando Un Departamento De Ti Enfocado A ITIL
Formando Un Departamento De Ti Enfocado A ITILFormando Un Departamento De Ti Enfocado A ITIL
Formando Un Departamento De Ti Enfocado A ITIL
 
Descritores prova brasil l.port. 2013
Descritores prova brasil l.port. 2013Descritores prova brasil l.port. 2013
Descritores prova brasil l.port. 2013
 

Similar to 1 chapter2

Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Wiwat Ngamsane
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Changing of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 newChanging of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 newchatruedi
 
Changing of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kkuChanging of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kkuchatruedi
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยChaya Kunnock
 
chapter 2 introduction to technologies and educational media
chapter 2 introduction to technologies and educational mediachapter 2 introduction to technologies and educational media
chapter 2 introduction to technologies and educational mediaZhao Er
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2Bee Bie
 
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาThitaporn Chobsanchon
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาAomJi Math-ed
 

Similar to 1 chapter2 (20)

Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Changing of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 newChanging of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 new
 
Changing of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kkuChanging of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kku
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
chapter 2 introduction to technologies and educational media
chapter 2 introduction to technologies and educational mediachapter 2 introduction to technologies and educational media
chapter 2 introduction to technologies and educational media
 
Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
UNIT 2
UNIT 2UNIT 2
UNIT 2
 
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
Innovation and it for learning 1
Innovation and it for learning 1Innovation and it for learning 1
Innovation and it for learning 1
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 

1 chapter2