SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  58
Télécharger pour lire hors ligne
การจัดการฐานข้อมูล
ฐานข้ อมูลและระบบจัดการฐานข้ อมูล



        ในปั จจุบนการจัดโครงสร้างข้อมูลให้เป็ นแบบฐานข้อมูลกาลังเป็ นที่
                 ั
นิ ยม เกือบทุกหน่วยงานที่มีการใช้ระบบสารสนเทศจะจัดทาข้อมูลให้เป็ น
แบบฐานข้อมูล เนื่ องจากปริ มาณข้อมูลมีมากถ้าจัดข้อมูลเป็ นแบบ
แฟ้ มข้อมูลจะทาให้มีแฟ้ มข้อมูลเป็ นจานวนมาก ซึ่ งจะทาให้เกิดข้อมูลที่
ซ้ าซ้อนกันได้ ข้อมูลที่ซ้ าซ้อนนี้ จะก่อให้เกิดปั ญหามากมาย
1. ความหมายของระบบฐานข้ อมูล

          ฐานข้อมูล (database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้
โดยมีความสัมพันธ์ซ่ ึ งกันและกัน โดยไม่ได้บงคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้ จะต้องเก็บไว้
                                               ั
ในแฟ้ มข้อมูลเดียวกันหรื อแยกเก็บหลาย ๆ แฟ้ มข้อมูล นันก็คือการเก็บข้อมูลใน
                                                          ่
ฐานข้อมูลนั้นเราอาจจะเก็บทั้งฐานข้อมูล โดยใช้แฟ้ มข้อมูลเพียงแฟ้ มข้อมูลเดียวกัน
ได้ หรื อจะเก็บไว้ในหลาย ๆ แฟ้ มข้อมูล ที่สาคัญคือจะต้องสร้างความสัมพันธ์
ระหว่างระเบียนและเรี ยกใช้ความสัมพันธ์น้ นได้ มีการกาจัดความซ้ าซ้อนของข้อมูล
                                            ั
ออกและเก็บแฟ้ มข้อมูลเหล่านี้ ไว้ที่ศูนย์กลาง เพื่อที่จะนาข้อมูลเหล่านี้ มาใช้ร่วมกัน
2. ความสาคัญของระบบฐานข้ อมูล



       การจัดข้อมูลให้เป็ นระบบฐานข้อมูลทาให้ขอมูลมีส่วนดีกว่าการ
                                               ้
เก็บข้อมูลในรู ปของแฟ้ มข้อมูล เพราะการจัดเก็บข้อมูลในระบบ
ฐานข้อมูล จะมีส่วนที่สาคัญกว่าการจัดเก็บข้อมูลในรู ปของแฟ้ มข้อมูล
ดังนี้
ความสาคัญของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ)


                                                        ่
       1. ลดการเก็บข้ อมูลที่ซ้าซ้ อน ข้อมูลบางชุดที่อยูในรู ปของแฟ้ มข้อมูลอาจมี
           ่
ปรากฏอยูหลาย ๆ แห่ ง เพราะมีผใช้ขอมูลชุดนี้ หลายคน เมื่อใช้ระบบฐานข้อมูลแล้ว
                                    ู้ ้
                                                             ่
จะช่วยให้ความซ้ าซ้อนของข้อมูลลดน้อยลง เช่น ข้อมูลอยูในแฟ้ มข้อมูลของผูใช้      ้
หลายคน ผูใช้แต่ละคนจะมีแฟ้ มข้อมูลเป็ นของตนเอง ระบบฐานข้อมูลจะลดการ
             ้
ซ้ าซ้อนของข้อมูลเหล่านี้ ให้มากที่สุด โดยจัดเก็บในฐานข้อมูลไว้ที่เดียวกัน ผูใช้ทุก
                                                                              ้
คนที่ตองการใช้ขอมูลชุดนี้ จะใช้โดยผ่านระบบฐานข้อมูล ทาให้ไม่เปลืองเนื้ อที่ใน
        ้        ้
การเก็บข้อมูลและลดความซ้ าซ้อนลงได้
ความสาคัญของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ)



       2.รั กษาความถูกต้ องของข้ อมูล เนื่ องจากฐานข้อมูลมีเพียง
                                                      ่
ฐานข้อมูลเดียว ในกรณี ท่ีมีขอมูลชุดเดียวกันปรากฏอยูหลายแห่ งใน
                            ้
ฐานข้อมูล ข้อมูลเหล่านี้จะต้องตรงกัน ถ้ามีการแก้ไขข้อมูลนี้ ทุก ๆ แห่ งที่
                ่
ข้อมูลปรากฏอยูจะแก้ไขให้ถูกต้องตามกันหมดโดยอัตโนมัติดวยระบบ   ้
จัดการฐานข้อมูล
ความสาคัญของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ)


     3.การป้ องกันและรั กษาความปลอดภัยให้ กับข้ อมูลทาได้ อย่ างสะดวก การ
ป้ องกันและรักษาความปลอดภัยกับข้อมูลระบบฐานข้อมูลจะให้เฉพาะผูที่เกี่ยวข้อง ้
เท่านั้นจึ งจะมีสิทธิ์ เข้าไปใช้ฐานข้อมูลได้เรี ยกว่ามีสิทธิ ส่วนบุคคล (privacy) ซึ่ ง
ก่อให้เกิดความปลอดภัย (security) ของข้อมูลด้วย ฉะนั้นผูใดจะมีสิทธิ์ ที่จะ
                                                                    ้
เข้าถึงข้อมูลได้จะต้องมีการกาหนดสิ ทธิ์ กันไว้ก่อนและเมื่อเข้าไปใช้ขอมูลนั้น ๆ
                                                                         ้
ผูใช้จะเห็นข้อมูลที่ถูกเก็บไว้ในฐานข้อมูลในรู ปแบบที่ผใช้ออกแบบไว้
   ้                                                          ู้
ความสาคัญของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ)

        4.สามารถใช้ ข้อมูลร่ วมกันได้ เนื่ องจากในระบบฐานข้อมูลจะเป็ นที่เก็บ
รวบรวมข้อมูลทุกอย่างไว้ ผูใช้แต่ละคนจึ งสามารถที่จะใช้ขอมูลในระบบได้ทุก
                               ้                            ้
ข้อมูล ซึ่ งถ้าข้อมูลไม่ได้ถูกจัดให้เป็ นระบบฐานข้อมูลแล้ว ผูใช้ก็จะใช้ได้เพียงข้อมูล
                                                              ้
ของตนเองเท่านั้น เช่น ดังภาพที่ 4.9 ข้อมูลของระบบเงินเดือน ข้อมูลของ
ระบบงานบุคคลถูกจัดไว้ในระบบแฟ้ มข้อมูลผูใช้ที่ใช้ขอมูลระบบเงินเดือน จะใช้
                                                ้      ้
ข้อมูลได้ระบบเดียว แต่ถาข้อมูลทั้ง 2 ถูกเก็บไว้เป็ นฐานข้อมูลซึ่ งถูกเก็บไว้ในที่ที่
                            ้
เดียวกัน ผูใช้ท้ ง 2 ระบบก็จะสามารถเรี ยกใช้ฐานข้อมูลเดียวกันได้ ไม่เพียงแต่
            ้ ั
ข้อมูลเท่านั้นสาหรับโปรแกรมต่าง ๆ ถ้าเก็บไว้ในฐานข้อมูลก็จะสามารถใช้ร่วมกัน
ได้
ความสาคัญของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ)


         5.มีความเป็ นอิสระของข้ อมูล เมื่อผูใช้ตองการเปลี่ยนแปลงข้อมูล หรื อ
                                             ้ ้
นาข้อมูลมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา จะสามารถสร้าง
ข้อมูลนั้นขึ้นมาใช้ใหม่ได้ โดยไม่มีผลกระทบต่อระบบฐานข้อมูล เพราะข้อมูลที่
ผูใช้นามาประยุกต์ใช้ใหม่น้ นจะไม่กระทบต่อโครงสร้างที่แท้จริ งของการจัดเก็บ
  ้                         ั
ข้อมูล นันคือ การใช้ระบบฐานข้อมูลจะทาให้เกิดความเป็ นอิสระระหว่างการจัดเก็บ
          ่
ข้อมูลและการประยุกต์ใช้
ความสาคัญของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ)



      6.สามารถขยายงานได้ ง่าย เมื่อต้องการจัดเพิ่มเติมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
จะสามารถเพิ่มได้อย่างง่ายไม่ซบซ้อน เนื่ องจากมีความเป็ นอิสระของ
                             ั
ข้อมูล จึงไม่มี ผลกระทบต่อข้อมูลเดิมที่มีอยู่
ความสาคัญของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ)


          7.ทาให้ ข้อมูลบูรณะกลับสู่ สภาพปกติได้ เร็ วและมีมาตรฐาน เนื่ องจากการ
จัดพิมพ์ขอมูลในระบบที่ไม่ได้ใช้ฐานข้อมูล ผูเ้ ขียนโปรแกรมแต่ละคนมีแฟ้ มข้อมูล
            ้
ของตนเองเฉพาะ ฉะนั้นแต่ละคนจึ งต่างก็สร้างระบบการบูรณะข้อมูลให้กลับสู่ สภาพ
ปกติในกรณี ที่ขอมูลเสี ยหายด้วยตนเองและด้วยวิธีการของตนเอง จึงขาด
                  ้
ประสิ ทธิ ภาพและมาตรฐาน แต่เมื่อมาเป็ นระบบฐานข้อมูลแล้ว การบูรณะข้อมูลให้
กลับคืนสู่ สภาพปกติจะมีโปรแกรมชุดเดียวและมีผดูแลเพียงคนเดียวที่ดูแลทั้งระบบ
                                                     ู้
ซึ่ งย่อมต้องมีประสิ ทธิ ภาพและเป็ นมาตรฐานเดียวกันแน่ นอน
3.การบริหารฐานข้ อมูล

       ในระบบฐานข้อมูลนอกจากจะมีระบบการจัดการฐานข้อมูล ซึ่ งเป็ น
ซอฟต์แวร์ ที่สร้างขึ้นเพื่อจัดการกับข้อมูลให้เป็ นระบบ จะได้นาไปเก็บรักษา เรี ยกใช้
หรื อนามาปรับปรุ งให้ทนสมัยได้ง่ายแล้ว ในระบบฐานข้อมูลยังต้องประกอบด้วย
                          ั
บุคคลที่มีหน้าที่ควบคุมดูแลระบบฐานข้อมูล คือ ผูบริ หารฐานข้อมูล
                                                    ้
       เหตุผลสาหรับประการหนึ่ งของการจัดทาระบบจัดการฐานข้อมูล คือ การมี
ศูนย์กลางควบคุมทั้งข้อมูลและโปรแกรมที่เข้าถึงข้อมูลเหล่านั้น บุคคลที่มีอานาจ
หน้าที่ดูแลการควบคุมนี้ เรี ยกว่า ผูบริ หารฐานข้อมูล หรื อ DBA (database
                                    ้
administrator) คือ ผูมีหน้าที่ควบคุมการบริ หารงานของฐานข้อมูลทั้งหมด
                              ้
4. หน้ าทีของผู้บริหารฐานข้ อมูล
                               ่


     1. กาหนดโครงสร้ างหรื อรู ปแบบของฐานข้ อมูล โดยทาการวิเคราะห์
และตัดสิ นใจว่ าจะรวมข้ อมูลใดเข้ าไว้ ในระบบใดบ้ าง ควรจะจัดเก็บข้ อมูล
ด้ วยวิธีใด และใช้ เทคนิคใดในการเรี ยกใช้ ข้อมูลอย่ างไร
หน้ าทีของผู้บริหารฐานข้ อมูล(ต่ อ)
                            ่


      2. กาหนดโครงสร้ างของอุปกรณ์ เก็บข้ อมูลและวิธีการเข้ าถึงข้ อมูล
โดยกาหนดโครงสร้างของอุปกรณ์เก็บข้อมูลและวิธีการเข้าถึงข้อมูล
พร้อมทั้งกาหนดแผนการในการสร้างระบบข้อมูลสารองและการฟื้ น
สภาพ โดยการจัดเก็บข้อมูลสารองไว้ทุกระยะ และจะต้องเตรี ยมการไว้ว่า
ถ้าเกิดความผิดพลาดขึ้นแล้วจะทาการฟื้ นสภาพได้อย่างไร
หน้ าทีของผู้บริหารฐานข้ อมูล(ต่ อ)
                           ่

    3. มอบหมายขอบเขตอานาจหน้ าที่ของการเข้ าถึงข้ อมูลของผู้ใช้ โดย
การประสานงานกับผูใช้ ให้คาปรึ กษา ให้ความช่วยเหลือแก่ผใช้ และ
                 ้                                    ู้
ตรวจตราความต้องการของผูใช้
                         ้
5. ระบบการจัดการฐานข้ อมูล
(DATABASE MANAGEMENT SYSTEM, DBMS)


         หน้ าทีของระบบการจัดการฐานข้ อมูล
                ่
หน้ าทีของระบบการจัดการฐานข้ อมูล
                              ่


        1.ระบบจัดการฐานข้ อมูลเป็ นซอฟต์ แวร์ ที่ทาหน้ าที่ดังต่ อไปนี้ ดูแลการใช้
         ั ้
งานให้กบผูใช้ ในการติดต่อกับตัวจัดการระบบแฟ้ มข้อมูลได้ ในระบบฐานข้อมูลนี้
ข้อมูลจะมีขนาดใหญ่ ซึ่ งจะถูกจัดเก็บไว้ในหน่ วยความจาสารองเมื่อผูใช้ตองการจะ
                                                                       ้ ้
ใช้ฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะทาหน้าที่ติดต่อกับระบบแฟ้ มข้อมูลซึ่ ง
เสมือนเป็ นผูจดการแฟ้ มข้อมูล (file manager) นาข้อมูลจากหน่ วยความจา
              ้ั
สารองเข้าสู่ หน่ วยความจาหลักเฉพาะส่ วนที่ตองการใช้งาน และทาหน้าที่ประสาน
                                           ้
กับตัวจัดการระบบแฟ้ มข้อมูลในการจัดเก็บ เรี ยกใช้ และแก้ไขข้อมูล
หน้ าที่ของระบบการจัดการฐานข้ อมูล(ต่ อ)



        2.ควบคุมระบบความปลอดภัยของข้ อมูลโดยป้ องกันไม่ให้ผที่ไม่ได้รับ
                                                                  ู้
อนุ ญาตเข้ามาเรี ยกใช้หรื อแก้ไขข้อมูลในส่ วนป้ องกันเอาไว้ พร้อมทั้งสร้างฟั งก์ชน
                                                                                 ั
ในการจัดทาข้อมูลสารอง โดยเมื่อเกิดมีความขัดข้องของระบบแฟ้ มข้อมูลหรื อของ
เครื่ องคอมพิวเตอร์ เกิดการเสี ยหายนั้น ฟั งก์ชนนี้ จะสามารถทาการฟื้ นสภาพของ
                                               ั
ระบบข้อมูลกลับเข้าสู่ สภาพที่ถูกต้องสมบูรณ์ได้
หน้ าที่ของระบบการจัดการฐานข้ อมูล(ต่ อ)


      3.ควบคุมการใช้ ข้อมูลในสภาพที่มีผ้ ูใช้ พร้ อมๆ กันหลาย
คน โดยจัดการเมื่อมีขอผิดพลาดของข้อมูลเกิดขึ้น
                    ้
6. องค์ ประกอบของระบบฐานข้ อมูล

      ระบบฐานข้อมูลส่ วนใหญ่ เป็ นระบบที่มีการนาคอมพิวเตอร์ เข้ามา
ช่วยในการจัดเก็บข้อมูล แบ่งออกเป็ น 5 ประเภท คือ
องค์ ประกอบของระบบฐานข้ อมูล



                 1.ฮาร์ ดแวร์ (Hardware)
   ในระบบฐานข้อมูลที่มีประสิ ทธิ ภาพควรมีฮาร์ ดแวร์ ต่าง ๆ ที่พร้อมจะ
อานวยความสะดวกในการบริ หารฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
องค์ ประกอบของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ)



                           2.โปรแกรม (Program)
    ในการประมวลผลฐานข้อมูลนั้น ต้องใช้งานหลายรู ปแบบ จึ งจาเป็ นจะต้องมี
โปรแกรมที่ทาหน้าที่ต่าง ๆ ได้ เช่น ควบคุมดูแลฐานข้อมูล สร้างฐานข้อมูล สร้าง
รายงาน จัดการรายงาน เป็ นต้น เรี ยกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database
Management System : DBMS) โดยโปรแกรมเหล่านี้ ทาหน้าที่จดการ            ั
ฐานข้อมูลและเป็ นสื่ อกลางระหว่างผูใช้และโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ
                                    ้
องค์ ประกอบของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ)

                         3.ข้ อมูล (Data)
   ฐานข้อมูลเป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลให้เป็ นศูนย์กลางข้อมูลอย่างมี
ระบบ ซึ่ งข้อมูลเหล่านี้ สามารถเรี ยกใช้ร่วมกันได้
องค์ ประกอบของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ)


                      4.บุคลากร (People)
มีดงนี้
   ั
• ผูใช้ทวไป (User)
        ้ ั่
• พนักงานปฏิบติการ (Operator)
                ั
• นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst)
• ผูเ้ ขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน (Programmer)
• ผูบริ หารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA)
      ้
องค์ ประกอบของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ)



                 5.ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedures)
     ควรมีการจัดทาเอกสารที่ระบุข้ นตอนการทางานของหน้าที่งานต่าง ๆ ไว้ ซึ่ ง
                                  ั
จะช่วยในการทางานและแก้ปัญหา
7. ข้ อดี-ข้ อเสี ยของการประมวลผลแบบฐานข้ อมูล


                      ข้ อดีของการประมวลผลแบบฐานข้ อมูล
• หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้ การจัดการฐานข้อมูลช่วยลดขั้นตอนและ
ความซับซ้อนของข้อมูลได้
• สามารถใช้ขอมูลร่ วมกันได้ การจัดการฐานข้อมูลเป็ นการเก็บข้อมูลรวมไว้
                 ้
ด้วยกัน เพื่อผูใช้จะสามารถใช้ขอมูลที่ ต้องการได้
               ้               ้
• สามารถลดความซ้ าซ้อนของข้อมูล ข้อมูลประเภทเดียวกันจะถูกเก็บไว้ในแฟ้ ม
เดียวกัน ลดปั ญหาความซ้ าซ้อนของข้อมูล อีกยังลดปั ญหาการประมวลผลที่ชาได้
                                                                       ้
ข้ อดี-ข้ อเสี ยของการประมวลผลแบบฐานข้ อมูล(ต่ อ)


                     ข้ อเสี ยของการประมวลผลแบบฐานข้ อมูล
• มีตนทุนสู ง ต้องใช้ทุนด้านต่าง ๆ เช่น ซอฟต์แวร์ บุคลากร เป็ นต้น
       ้
• มีความซับซ้อน การเริ่ มใช้ระบบฐานข้อมูลอาจทาให้เกิดความสลับซับซ้อนได้
เช่น การจัดเก็บ การออกแบบ
• การเสี่ ยงต่อการหยุดชะงักของระบบ เนื่ องจากการเก็บข้อมูลเป็ นศูนย์กลาง เมื่อ
เกิดปั ญหาขึ้นทาให้ส่วนอีกกระทบไปด้วย
8. ความสั มพันธ์
                        (RELATIONSHIP)



               ฐานข้อมูลจะประกอบด้วยแฟ้ มข้อมูลหลาย ๆ แฟ้ มข้อมูล
ซึ่ งมีการเก็บข้อมูล ที่ต่างกัน จึงต้องมีการกาหนดความสัมพันธ์ระหว่าง
ข้อมูลต่าง ๆ
ความสั มพันธ์
                      (RELATIONSHIP)(ต่ อ)


1.ความสัมพันธ์แบบหนึ่ งต่อหนึ่ ง (One-to-One Relationship)
เป็ นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนเพียง 1 ระเบียนในเอนทิต้ ี A และ B ที่มี
ความสัมพันธ์เพียง 1 ระเบียน

2.ความสัมพันธ์แบบหนึ่ งต่อกลุ่ม (One-to-Many Relationship)
เป็ นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่ งระเบียนในเอนทิต้ ี A ที่มีความสัมพันธ์หลาย
ระเบียนในเอนทิต้ ี B
ความสั มพันธ์
                   (RELATIONSHIP)(ต่ อ)


3.ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationship)
เป็ นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนในเอนทิต้ ี A และ B ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียน

4.ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ ง (Many-to-One Relationship)
เป็ นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่ งระเบียนในเอนทิต้ ี B ที่มีความสัมพันธ์หลาย
ระเบียนในเอนทิต้ ี A
9. การออกแบบระบบฐานข้ อมูล
                      (DATABASE DESIGN)


         การออกแบบฐานข้อมูล วัตถุประสงค์ของขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูล
เพื่อให้ได้ขอมูลและความสัมพันธ์ (Relationships) ของข้อมูลที่จะต้องมีใน
            ้
ระบบงาน หรื อตามที่ผูใช้กลุ่มต่าง ๆ ต้องการ การออกแบบข้อมูล (Data
                     ้
Modeling) เพื่อให้ทราบถึงความหมายของข้อมูล สามารถแบ่งออกได้เป็ น 3
ระดับคือ
การออกแบบระบบฐานข้ อมูล (DATABASE
                              DESIGN) (ต่ อ)




1.การออกแบบข้ อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual Database Design)
เป็ น 2.การออกแบบโดยไม่คานึ งปั จจัยด้านกายภาพ (Physical) และ 3.ระบบ
จัดการฐานข้อมูล (DBMS) ที่เลือกใช้ ขั้นตอนนี้ เป็ นเพียงออกแบบถึงข้อมูลที่
ต้องการ และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในฐานข้อมูลเท่านั้น กล่าวคือ ขั้นตอนนี้ ยง
                                                                             ั
ไม่คานึ งถึงระบบจัดการฐานข้อมูล
ปัจจัยด้ านกายภาพอืน ๆ (PHYSICAL)
                                      ่




     การออกแบบในระดับนี้ บางครั้งเรี ยกว่าการออกแบบในระดับสู ง (High-
Level Database Design) การออกแบบฐานข้อมูลในระดับนี้ สามารถใช้
แนวทางแบบ Data Oriented ซึ่ งสามารถออกแบบข้อมูลได้ 2 ลักษณะ คือ
ปัจจัยด้ านกายภาพอืน ๆ
                                                  ่
                              (PHYSICAL)(ต่ อ)



                             1.แบบล่ างไปบน (Bottom-Up)
       วิธีการนี้ เริ่ มต้นการพิจารณาจากรายละเอียดของข้อมูล หรื อแอททริ บิวต์
(Attribute) แล้วนามาจัดกลุ่มเป็ นเอนทิต้ ี (Entity) และความสัมพันธ์
(Relationship) วิธีน้ ี เหมาะสาหรับฐานข้อมูลที่มีรายละเอียดไม่มากและไม่
ซ้ าซ้อน
ปัจจัยด้ านกายภาพอืน ๆ
                                                 ่
                             (PHYSICAL)(ต่ อ)

                          2.แบบบนมาล่ าง (Top-Down)
     วิธีการนี้ เริ่ มต้นจากการกาหนดเอนทิต้ ีว่ามีเอนทิต้ ีอะไรบ้าง (Hint-level
Entity) แล้วทาการพิจารณารายละเอียดของข้อมูลที่แต่ละเอนทิต้ ีควรจะมี รวมถึง
ความสัมพันธ์ต่างๆ วิธีการนี้ เหมาะสาหรับองค์กรที่มีฐานข้อมูลซับซ้อน และมี
รายละเอียดของข้อมูลมาก
ปัจจัยด้ านกายภาพอืน ๆ
                                             ่
                         (PHYSICAL)(ต่ อ)


       การออกแบบข้ อมูลในระดับตรรกะ (Logical Database Design)
เป็ นการนาผลจากการออกแบบในระดับแนวคิดมาวิเคราะห์และออกแบบ โดยใน
ขั้นตอนนี้ เป็ นการแปลงผลจากการออกแบบในระดับแนวคิด (Mapping) ให้อยู่
ในรู ปแบบของระบบจัดการฐานข้อมูลที่เลือกใช้ เช่น รู ปแบบเชิ งสัมพันธ์
(Relational Model)
ปัจจัยด้ านกายภาพอืน ๆ
                                                 ่
                             (PHYSICAL)(ต่ อ)



         การออกแบบฐานข้ อมูลในระดับกายภาพ (Physical Database Design)
ขั้นตอนนี้ เป็ นการนาข้อมูลที่ออกแบบในระดับตรรกะ มากาหนดโครงสร้างข้อมูลและการ
จัดเก็บวิธีการเข้าถึงข้อมูล รวมถึงการจัดการด้านระบบความปลอดภัยเพื่อในฐานข้อมูล
ทางานได้อย่างมีประสิ ทธิ ผลมาก
ข้ อ 1



ฐานข้อมูลคืออะไร
เฉลย

      กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซ่ ึ ง
กันและกัน โดยไม่ได้บงคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้ จะต้องเก็บไว้ใน
                       ั
แฟ้ มข้อมูลเดียวกัน
ข้ อ 2



ความสาคัญของระบบฐานข้อมูล มีอะไรบ้าง
เฉลย
1.ลดการเก็บข้ อมูลที่ซ้าซ้ อน
2.รักษาความถูกต้องของข้อมูล
                                           ั
3.การป้ องกันและรักษาความปลอดภัยให้กบข้อมูลทาได้อย่างสะดวก
4.สามารถใช้ขอมูลร่ วมกันได้
               ้
5.มีความเป็ นอิสระของข้ อมูล
6.สามารถขยายงานได้ ง่าย
7.ทาให้ ข้อมูลบูรณะกลับสู่ สภาพปกติได้ เร็วและมีมาตรฐาน
ข้ อ 3



หน้าที่ของระบบการจัดการฐานข้อมูล
เฉลย

1.ระบบจัดการฐานข้ อมูลเป็ นซอฟต์ แวร์
2.ควบคุมระบบความปลอดภัยของข้ อมูล
3.ควบคุมการใช้ ข้อมูลในสภาพที่มีผู้ใช้ พร้ อม ๆ กันหลายคน
ข้ อ 4


จงบอกข้อดีของการประมวลผลแบบฐานข้อมูล มา 3 ข้อ
เฉลย
1. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้ การจัดการฐานข้อมูลช่วยลด
ขั้นตอนและความซับซ้อนของข้อมูลได้
2. สามารถใช้ขอมูลร่ วมกันได้ การจัดการฐานข้อมูลเป็ นการเก็บข้อมูลรวม
                 ้
ไว้ดวยกัน เพื่อผูใช้จะสามารถใช้ขอมูลที่ ต้องการได้
     ้             ้             ้
3. สามารถลดความซ้ าซ้อนของข้อมูล ข้อมูลประเภทเดียวกันจะถูกเก็บไว้ใน
แฟ้ มเดียวกัน ลดปั ญหาความซ้ าซ้อนของข้อมูล อีกยังลดปั ญหาการ
ประมวลผลที่ชาได้
               ้
ข้ อ 5


องศ์ประกอบของฐานข้อมูล แบ่งออกเป็ น 5 ประเภท คือ
เฉลย

1.ฮาร์ ดแวร์ (Hardware)
2. โปรแกรม (Program)
3. ข้ อมูล (Data)
4. บุคลากร (People)
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedures)
ข้ อ 6



บุคลากร มีอะไรบ้าง
เฉลย

1.ผูใช้ทวไป (User)
        ้ ั่
2.พนักงานปฏิบติการ (Operator)
                ั
3.นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst)
4.ผูเ้ ขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน (Programmer)
5.ผูบริ หารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA)
      ้
ข้ อ 7



     ่
DBA ยอมาอะไร
เฉลย



Data Base Administrator
ข้ อ 8


      ่
DBMS ยอมาจากอะไร
เฉลย

Data Base Management System
ข้ อ 9

จงบอกข้อเสี ยของการประมวลผลแบบฐานข้อมูล มา 3 ข้อ
เฉลย

1.มีตนทุนสู ง ต้องใช้ทุนด้านต่างๆ เช่น ซอฟต์แวร์ บุคลากร
      ้
2. มีความซับซ้อน การเริ่ มใช้ระบบฐานข้อมูลอาจทาให้เกิดความ
สลับซับซ้อนได้ เช่น การจัดเก็บ การออกแบบ
3.การเสี่ ยงต่อการหยุดชะงักของระบบ เนื่ องจากการเก็บข้อมูล
เป็ นศูนย์กลาง เมื่อเกิดปั ญหาขึ้นทาให้ส่วนอีกกระทบไปด้วย
ข้ อ 10


ปัจจัยด้ านกายภาพอื่น ๆ แบ่งออกเป็ นข้อมูลได้ 2 ลักษณะ คือ
เฉลย

1. แบบล่ างไปบน (Bottom-Up)
2. แบบบนมาล่ าง (Top-Down)

Contenu connexe

Tendances

โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
Jiraporn
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
nokbiology
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
Pinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
dnavaroj
 
Biology bio14
 Biology bio14 Biology bio14
Biology bio14
Bios Logos
 
การใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นการใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Jaturapad Pratoom
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
dnavaroj
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
สำเร็จ นางสีคุณ
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
maerimwittayakom school
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับ
Wanlop Chimpalee
 

Tendances (20)

โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
Minibookanimalgroup10
Minibookanimalgroup10Minibookanimalgroup10
Minibookanimalgroup10
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
บทที่3เทคนิคการส่งข้อมูลดิจิตอล
บทที่3เทคนิคการส่งข้อมูลดิจิตอลบทที่3เทคนิคการส่งข้อมูลดิจิตอล
บทที่3เทคนิคการส่งข้อมูลดิจิตอล
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
Biology bio14
 Biology bio14 Biology bio14
Biology bio14
 
การใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นการใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1มเอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับ
 

En vedette

การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
techno UCH
 
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
ด.ช. ทีม น่ะจ๊ะ
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
thaweesak mahan
 
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Errorrrrr
 
คู่มือSpss
คู่มือSpssคู่มือSpss
คู่มือSpss
kuankaaw
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
skiats
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
ABELE Snvip
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
kaew393
 

En vedette (11)

การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
 
ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)
ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)
ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
 
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
 
คู่มือSpss
คู่มือSpssคู่มือSpss
คู่มือSpss
 
Spss jan2010
Spss jan2010Spss jan2010
Spss jan2010
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 

Similaire à งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล

ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
chanoot29
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
chanoot29
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
Yongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
Yongyut Nintakan
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
Watuka Wannarun
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
warathip-por
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
skiats
 
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
Patchara Wioon
 
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
Patchara Wioon
 
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
Patchara Wioon
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
hattayagif
 
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพรนาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
Ben Benben
 

Similaire à งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล (20)

ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
งานจูน
งานจูนงานจูน
งานจูน
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
 
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
 
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
 
บทที่่ 1
บทที่่ 1บทที่่ 1
บทที่่ 1
 
Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
Slide Chapter1
 
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพรนาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
 

งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล

  • 2. ฐานข้ อมูลและระบบจัดการฐานข้ อมูล ในปั จจุบนการจัดโครงสร้างข้อมูลให้เป็ นแบบฐานข้อมูลกาลังเป็ นที่ ั นิ ยม เกือบทุกหน่วยงานที่มีการใช้ระบบสารสนเทศจะจัดทาข้อมูลให้เป็ น แบบฐานข้อมูล เนื่ องจากปริ มาณข้อมูลมีมากถ้าจัดข้อมูลเป็ นแบบ แฟ้ มข้อมูลจะทาให้มีแฟ้ มข้อมูลเป็ นจานวนมาก ซึ่ งจะทาให้เกิดข้อมูลที่ ซ้ าซ้อนกันได้ ข้อมูลที่ซ้ าซ้อนนี้ จะก่อให้เกิดปั ญหามากมาย
  • 3. 1. ความหมายของระบบฐานข้ อมูล ฐานข้อมูล (database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซ่ ึ งกันและกัน โดยไม่ได้บงคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้ จะต้องเก็บไว้ ั ในแฟ้ มข้อมูลเดียวกันหรื อแยกเก็บหลาย ๆ แฟ้ มข้อมูล นันก็คือการเก็บข้อมูลใน ่ ฐานข้อมูลนั้นเราอาจจะเก็บทั้งฐานข้อมูล โดยใช้แฟ้ มข้อมูลเพียงแฟ้ มข้อมูลเดียวกัน ได้ หรื อจะเก็บไว้ในหลาย ๆ แฟ้ มข้อมูล ที่สาคัญคือจะต้องสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างระเบียนและเรี ยกใช้ความสัมพันธ์น้ นได้ มีการกาจัดความซ้ าซ้อนของข้อมูล ั ออกและเก็บแฟ้ มข้อมูลเหล่านี้ ไว้ที่ศูนย์กลาง เพื่อที่จะนาข้อมูลเหล่านี้ มาใช้ร่วมกัน
  • 4. 2. ความสาคัญของระบบฐานข้ อมูล การจัดข้อมูลให้เป็ นระบบฐานข้อมูลทาให้ขอมูลมีส่วนดีกว่าการ ้ เก็บข้อมูลในรู ปของแฟ้ มข้อมูล เพราะการจัดเก็บข้อมูลในระบบ ฐานข้อมูล จะมีส่วนที่สาคัญกว่าการจัดเก็บข้อมูลในรู ปของแฟ้ มข้อมูล ดังนี้
  • 5. ความสาคัญของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ) ่ 1. ลดการเก็บข้ อมูลที่ซ้าซ้ อน ข้อมูลบางชุดที่อยูในรู ปของแฟ้ มข้อมูลอาจมี ่ ปรากฏอยูหลาย ๆ แห่ ง เพราะมีผใช้ขอมูลชุดนี้ หลายคน เมื่อใช้ระบบฐานข้อมูลแล้ว ู้ ้ ่ จะช่วยให้ความซ้ าซ้อนของข้อมูลลดน้อยลง เช่น ข้อมูลอยูในแฟ้ มข้อมูลของผูใช้ ้ หลายคน ผูใช้แต่ละคนจะมีแฟ้ มข้อมูลเป็ นของตนเอง ระบบฐานข้อมูลจะลดการ ้ ซ้ าซ้อนของข้อมูลเหล่านี้ ให้มากที่สุด โดยจัดเก็บในฐานข้อมูลไว้ที่เดียวกัน ผูใช้ทุก ้ คนที่ตองการใช้ขอมูลชุดนี้ จะใช้โดยผ่านระบบฐานข้อมูล ทาให้ไม่เปลืองเนื้ อที่ใน ้ ้ การเก็บข้อมูลและลดความซ้ าซ้อนลงได้
  • 6. ความสาคัญของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ) 2.รั กษาความถูกต้ องของข้ อมูล เนื่ องจากฐานข้อมูลมีเพียง ่ ฐานข้อมูลเดียว ในกรณี ท่ีมีขอมูลชุดเดียวกันปรากฏอยูหลายแห่ งใน ้ ฐานข้อมูล ข้อมูลเหล่านี้จะต้องตรงกัน ถ้ามีการแก้ไขข้อมูลนี้ ทุก ๆ แห่ งที่ ่ ข้อมูลปรากฏอยูจะแก้ไขให้ถูกต้องตามกันหมดโดยอัตโนมัติดวยระบบ ้ จัดการฐานข้อมูล
  • 7. ความสาคัญของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ) 3.การป้ องกันและรั กษาความปลอดภัยให้ กับข้ อมูลทาได้ อย่ างสะดวก การ ป้ องกันและรักษาความปลอดภัยกับข้อมูลระบบฐานข้อมูลจะให้เฉพาะผูที่เกี่ยวข้อง ้ เท่านั้นจึ งจะมีสิทธิ์ เข้าไปใช้ฐานข้อมูลได้เรี ยกว่ามีสิทธิ ส่วนบุคคล (privacy) ซึ่ ง ก่อให้เกิดความปลอดภัย (security) ของข้อมูลด้วย ฉะนั้นผูใดจะมีสิทธิ์ ที่จะ ้ เข้าถึงข้อมูลได้จะต้องมีการกาหนดสิ ทธิ์ กันไว้ก่อนและเมื่อเข้าไปใช้ขอมูลนั้น ๆ ้ ผูใช้จะเห็นข้อมูลที่ถูกเก็บไว้ในฐานข้อมูลในรู ปแบบที่ผใช้ออกแบบไว้ ้ ู้
  • 8. ความสาคัญของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ) 4.สามารถใช้ ข้อมูลร่ วมกันได้ เนื่ องจากในระบบฐานข้อมูลจะเป็ นที่เก็บ รวบรวมข้อมูลทุกอย่างไว้ ผูใช้แต่ละคนจึ งสามารถที่จะใช้ขอมูลในระบบได้ทุก ้ ้ ข้อมูล ซึ่ งถ้าข้อมูลไม่ได้ถูกจัดให้เป็ นระบบฐานข้อมูลแล้ว ผูใช้ก็จะใช้ได้เพียงข้อมูล ้ ของตนเองเท่านั้น เช่น ดังภาพที่ 4.9 ข้อมูลของระบบเงินเดือน ข้อมูลของ ระบบงานบุคคลถูกจัดไว้ในระบบแฟ้ มข้อมูลผูใช้ที่ใช้ขอมูลระบบเงินเดือน จะใช้ ้ ้ ข้อมูลได้ระบบเดียว แต่ถาข้อมูลทั้ง 2 ถูกเก็บไว้เป็ นฐานข้อมูลซึ่ งถูกเก็บไว้ในที่ที่ ้ เดียวกัน ผูใช้ท้ ง 2 ระบบก็จะสามารถเรี ยกใช้ฐานข้อมูลเดียวกันได้ ไม่เพียงแต่ ้ ั ข้อมูลเท่านั้นสาหรับโปรแกรมต่าง ๆ ถ้าเก็บไว้ในฐานข้อมูลก็จะสามารถใช้ร่วมกัน ได้
  • 9. ความสาคัญของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ) 5.มีความเป็ นอิสระของข้ อมูล เมื่อผูใช้ตองการเปลี่ยนแปลงข้อมูล หรื อ ้ ้ นาข้อมูลมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา จะสามารถสร้าง ข้อมูลนั้นขึ้นมาใช้ใหม่ได้ โดยไม่มีผลกระทบต่อระบบฐานข้อมูล เพราะข้อมูลที่ ผูใช้นามาประยุกต์ใช้ใหม่น้ นจะไม่กระทบต่อโครงสร้างที่แท้จริ งของการจัดเก็บ ้ ั ข้อมูล นันคือ การใช้ระบบฐานข้อมูลจะทาให้เกิดความเป็ นอิสระระหว่างการจัดเก็บ ่ ข้อมูลและการประยุกต์ใช้
  • 10. ความสาคัญของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ) 6.สามารถขยายงานได้ ง่าย เมื่อต้องการจัดเพิ่มเติมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง จะสามารถเพิ่มได้อย่างง่ายไม่ซบซ้อน เนื่ องจากมีความเป็ นอิสระของ ั ข้อมูล จึงไม่มี ผลกระทบต่อข้อมูลเดิมที่มีอยู่
  • 11. ความสาคัญของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ) 7.ทาให้ ข้อมูลบูรณะกลับสู่ สภาพปกติได้ เร็ วและมีมาตรฐาน เนื่ องจากการ จัดพิมพ์ขอมูลในระบบที่ไม่ได้ใช้ฐานข้อมูล ผูเ้ ขียนโปรแกรมแต่ละคนมีแฟ้ มข้อมูล ้ ของตนเองเฉพาะ ฉะนั้นแต่ละคนจึ งต่างก็สร้างระบบการบูรณะข้อมูลให้กลับสู่ สภาพ ปกติในกรณี ที่ขอมูลเสี ยหายด้วยตนเองและด้วยวิธีการของตนเอง จึงขาด ้ ประสิ ทธิ ภาพและมาตรฐาน แต่เมื่อมาเป็ นระบบฐานข้อมูลแล้ว การบูรณะข้อมูลให้ กลับคืนสู่ สภาพปกติจะมีโปรแกรมชุดเดียวและมีผดูแลเพียงคนเดียวที่ดูแลทั้งระบบ ู้ ซึ่ งย่อมต้องมีประสิ ทธิ ภาพและเป็ นมาตรฐานเดียวกันแน่ นอน
  • 12. 3.การบริหารฐานข้ อมูล ในระบบฐานข้อมูลนอกจากจะมีระบบการจัดการฐานข้อมูล ซึ่ งเป็ น ซอฟต์แวร์ ที่สร้างขึ้นเพื่อจัดการกับข้อมูลให้เป็ นระบบ จะได้นาไปเก็บรักษา เรี ยกใช้ หรื อนามาปรับปรุ งให้ทนสมัยได้ง่ายแล้ว ในระบบฐานข้อมูลยังต้องประกอบด้วย ั บุคคลที่มีหน้าที่ควบคุมดูแลระบบฐานข้อมูล คือ ผูบริ หารฐานข้อมูล ้ เหตุผลสาหรับประการหนึ่ งของการจัดทาระบบจัดการฐานข้อมูล คือ การมี ศูนย์กลางควบคุมทั้งข้อมูลและโปรแกรมที่เข้าถึงข้อมูลเหล่านั้น บุคคลที่มีอานาจ หน้าที่ดูแลการควบคุมนี้ เรี ยกว่า ผูบริ หารฐานข้อมูล หรื อ DBA (database ้ administrator) คือ ผูมีหน้าที่ควบคุมการบริ หารงานของฐานข้อมูลทั้งหมด ้
  • 13. 4. หน้ าทีของผู้บริหารฐานข้ อมูล ่ 1. กาหนดโครงสร้ างหรื อรู ปแบบของฐานข้ อมูล โดยทาการวิเคราะห์ และตัดสิ นใจว่ าจะรวมข้ อมูลใดเข้ าไว้ ในระบบใดบ้ าง ควรจะจัดเก็บข้ อมูล ด้ วยวิธีใด และใช้ เทคนิคใดในการเรี ยกใช้ ข้อมูลอย่ างไร
  • 14. หน้ าทีของผู้บริหารฐานข้ อมูล(ต่ อ) ่ 2. กาหนดโครงสร้ างของอุปกรณ์ เก็บข้ อมูลและวิธีการเข้ าถึงข้ อมูล โดยกาหนดโครงสร้างของอุปกรณ์เก็บข้อมูลและวิธีการเข้าถึงข้อมูล พร้อมทั้งกาหนดแผนการในการสร้างระบบข้อมูลสารองและการฟื้ น สภาพ โดยการจัดเก็บข้อมูลสารองไว้ทุกระยะ และจะต้องเตรี ยมการไว้ว่า ถ้าเกิดความผิดพลาดขึ้นแล้วจะทาการฟื้ นสภาพได้อย่างไร
  • 15. หน้ าทีของผู้บริหารฐานข้ อมูล(ต่ อ) ่ 3. มอบหมายขอบเขตอานาจหน้ าที่ของการเข้ าถึงข้ อมูลของผู้ใช้ โดย การประสานงานกับผูใช้ ให้คาปรึ กษา ให้ความช่วยเหลือแก่ผใช้ และ ้ ู้ ตรวจตราความต้องการของผูใช้ ้
  • 16. 5. ระบบการจัดการฐานข้ อมูล (DATABASE MANAGEMENT SYSTEM, DBMS) หน้ าทีของระบบการจัดการฐานข้ อมูล ่
  • 17. หน้ าทีของระบบการจัดการฐานข้ อมูล ่ 1.ระบบจัดการฐานข้ อมูลเป็ นซอฟต์ แวร์ ที่ทาหน้ าที่ดังต่ อไปนี้ ดูแลการใช้ ั ้ งานให้กบผูใช้ ในการติดต่อกับตัวจัดการระบบแฟ้ มข้อมูลได้ ในระบบฐานข้อมูลนี้ ข้อมูลจะมีขนาดใหญ่ ซึ่ งจะถูกจัดเก็บไว้ในหน่ วยความจาสารองเมื่อผูใช้ตองการจะ ้ ้ ใช้ฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะทาหน้าที่ติดต่อกับระบบแฟ้ มข้อมูลซึ่ ง เสมือนเป็ นผูจดการแฟ้ มข้อมูล (file manager) นาข้อมูลจากหน่ วยความจา ้ั สารองเข้าสู่ หน่ วยความจาหลักเฉพาะส่ วนที่ตองการใช้งาน และทาหน้าที่ประสาน ้ กับตัวจัดการระบบแฟ้ มข้อมูลในการจัดเก็บ เรี ยกใช้ และแก้ไขข้อมูล
  • 18. หน้ าที่ของระบบการจัดการฐานข้ อมูล(ต่ อ) 2.ควบคุมระบบความปลอดภัยของข้ อมูลโดยป้ องกันไม่ให้ผที่ไม่ได้รับ ู้ อนุ ญาตเข้ามาเรี ยกใช้หรื อแก้ไขข้อมูลในส่ วนป้ องกันเอาไว้ พร้อมทั้งสร้างฟั งก์ชน ั ในการจัดทาข้อมูลสารอง โดยเมื่อเกิดมีความขัดข้องของระบบแฟ้ มข้อมูลหรื อของ เครื่ องคอมพิวเตอร์ เกิดการเสี ยหายนั้น ฟั งก์ชนนี้ จะสามารถทาการฟื้ นสภาพของ ั ระบบข้อมูลกลับเข้าสู่ สภาพที่ถูกต้องสมบูรณ์ได้
  • 19. หน้ าที่ของระบบการจัดการฐานข้ อมูล(ต่ อ) 3.ควบคุมการใช้ ข้อมูลในสภาพที่มีผ้ ูใช้ พร้ อมๆ กันหลาย คน โดยจัดการเมื่อมีขอผิดพลาดของข้อมูลเกิดขึ้น ้
  • 20. 6. องค์ ประกอบของระบบฐานข้ อมูล ระบบฐานข้อมูลส่ วนใหญ่ เป็ นระบบที่มีการนาคอมพิวเตอร์ เข้ามา ช่วยในการจัดเก็บข้อมูล แบ่งออกเป็ น 5 ประเภท คือ
  • 21. องค์ ประกอบของระบบฐานข้ อมูล 1.ฮาร์ ดแวร์ (Hardware) ในระบบฐานข้อมูลที่มีประสิ ทธิ ภาพควรมีฮาร์ ดแวร์ ต่าง ๆ ที่พร้อมจะ อานวยความสะดวกในการบริ หารฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
  • 22. องค์ ประกอบของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ) 2.โปรแกรม (Program) ในการประมวลผลฐานข้อมูลนั้น ต้องใช้งานหลายรู ปแบบ จึ งจาเป็ นจะต้องมี โปรแกรมที่ทาหน้าที่ต่าง ๆ ได้ เช่น ควบคุมดูแลฐานข้อมูล สร้างฐานข้อมูล สร้าง รายงาน จัดการรายงาน เป็ นต้น เรี ยกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) โดยโปรแกรมเหล่านี้ ทาหน้าที่จดการ ั ฐานข้อมูลและเป็ นสื่ อกลางระหว่างผูใช้และโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ้
  • 23. องค์ ประกอบของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ) 3.ข้ อมูล (Data) ฐานข้อมูลเป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลให้เป็ นศูนย์กลางข้อมูลอย่างมี ระบบ ซึ่ งข้อมูลเหล่านี้ สามารถเรี ยกใช้ร่วมกันได้
  • 24. องค์ ประกอบของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ) 4.บุคลากร (People) มีดงนี้ ั • ผูใช้ทวไป (User) ้ ั่ • พนักงานปฏิบติการ (Operator) ั • นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst) • ผูเ้ ขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน (Programmer) • ผูบริ หารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) ้
  • 25. องค์ ประกอบของระบบฐานข้ อมูล(ต่ อ) 5.ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedures) ควรมีการจัดทาเอกสารที่ระบุข้ นตอนการทางานของหน้าที่งานต่าง ๆ ไว้ ซึ่ ง ั จะช่วยในการทางานและแก้ปัญหา
  • 26. 7. ข้ อดี-ข้ อเสี ยของการประมวลผลแบบฐานข้ อมูล ข้ อดีของการประมวลผลแบบฐานข้ อมูล • หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้ การจัดการฐานข้อมูลช่วยลดขั้นตอนและ ความซับซ้อนของข้อมูลได้ • สามารถใช้ขอมูลร่ วมกันได้ การจัดการฐานข้อมูลเป็ นการเก็บข้อมูลรวมไว้ ้ ด้วยกัน เพื่อผูใช้จะสามารถใช้ขอมูลที่ ต้องการได้ ้ ้ • สามารถลดความซ้ าซ้อนของข้อมูล ข้อมูลประเภทเดียวกันจะถูกเก็บไว้ในแฟ้ ม เดียวกัน ลดปั ญหาความซ้ าซ้อนของข้อมูล อีกยังลดปั ญหาการประมวลผลที่ชาได้ ้
  • 27. ข้ อดี-ข้ อเสี ยของการประมวลผลแบบฐานข้ อมูล(ต่ อ) ข้ อเสี ยของการประมวลผลแบบฐานข้ อมูล • มีตนทุนสู ง ต้องใช้ทุนด้านต่าง ๆ เช่น ซอฟต์แวร์ บุคลากร เป็ นต้น ้ • มีความซับซ้อน การเริ่ มใช้ระบบฐานข้อมูลอาจทาให้เกิดความสลับซับซ้อนได้ เช่น การจัดเก็บ การออกแบบ • การเสี่ ยงต่อการหยุดชะงักของระบบ เนื่ องจากการเก็บข้อมูลเป็ นศูนย์กลาง เมื่อ เกิดปั ญหาขึ้นทาให้ส่วนอีกกระทบไปด้วย
  • 28. 8. ความสั มพันธ์ (RELATIONSHIP) ฐานข้อมูลจะประกอบด้วยแฟ้ มข้อมูลหลาย ๆ แฟ้ มข้อมูล ซึ่ งมีการเก็บข้อมูล ที่ต่างกัน จึงต้องมีการกาหนดความสัมพันธ์ระหว่าง ข้อมูลต่าง ๆ
  • 29. ความสั มพันธ์ (RELATIONSHIP)(ต่ อ) 1.ความสัมพันธ์แบบหนึ่ งต่อหนึ่ ง (One-to-One Relationship) เป็ นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนเพียง 1 ระเบียนในเอนทิต้ ี A และ B ที่มี ความสัมพันธ์เพียง 1 ระเบียน 2.ความสัมพันธ์แบบหนึ่ งต่อกลุ่ม (One-to-Many Relationship) เป็ นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่ งระเบียนในเอนทิต้ ี A ที่มีความสัมพันธ์หลาย ระเบียนในเอนทิต้ ี B
  • 30. ความสั มพันธ์ (RELATIONSHIP)(ต่ อ) 3.ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationship) เป็ นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนในเอนทิต้ ี A และ B ที่มีความสัมพันธ์หลายระเบียน 4.ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ ง (Many-to-One Relationship) เป็ นความสัมพันธ์ที่มีระเบียนหนึ่ งระเบียนในเอนทิต้ ี B ที่มีความสัมพันธ์หลาย ระเบียนในเอนทิต้ ี A
  • 31. 9. การออกแบบระบบฐานข้ อมูล (DATABASE DESIGN) การออกแบบฐานข้อมูล วัตถุประสงค์ของขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูล เพื่อให้ได้ขอมูลและความสัมพันธ์ (Relationships) ของข้อมูลที่จะต้องมีใน ้ ระบบงาน หรื อตามที่ผูใช้กลุ่มต่าง ๆ ต้องการ การออกแบบข้อมูล (Data ้ Modeling) เพื่อให้ทราบถึงความหมายของข้อมูล สามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 ระดับคือ
  • 32. การออกแบบระบบฐานข้ อมูล (DATABASE DESIGN) (ต่ อ) 1.การออกแบบข้ อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual Database Design) เป็ น 2.การออกแบบโดยไม่คานึ งปั จจัยด้านกายภาพ (Physical) และ 3.ระบบ จัดการฐานข้อมูล (DBMS) ที่เลือกใช้ ขั้นตอนนี้ เป็ นเพียงออกแบบถึงข้อมูลที่ ต้องการ และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในฐานข้อมูลเท่านั้น กล่าวคือ ขั้นตอนนี้ ยง ั ไม่คานึ งถึงระบบจัดการฐานข้อมูล
  • 33. ปัจจัยด้ านกายภาพอืน ๆ (PHYSICAL) ่ การออกแบบในระดับนี้ บางครั้งเรี ยกว่าการออกแบบในระดับสู ง (High- Level Database Design) การออกแบบฐานข้อมูลในระดับนี้ สามารถใช้ แนวทางแบบ Data Oriented ซึ่ งสามารถออกแบบข้อมูลได้ 2 ลักษณะ คือ
  • 34. ปัจจัยด้ านกายภาพอืน ๆ ่ (PHYSICAL)(ต่ อ) 1.แบบล่ างไปบน (Bottom-Up) วิธีการนี้ เริ่ มต้นการพิจารณาจากรายละเอียดของข้อมูล หรื อแอททริ บิวต์ (Attribute) แล้วนามาจัดกลุ่มเป็ นเอนทิต้ ี (Entity) และความสัมพันธ์ (Relationship) วิธีน้ ี เหมาะสาหรับฐานข้อมูลที่มีรายละเอียดไม่มากและไม่ ซ้ าซ้อน
  • 35. ปัจจัยด้ านกายภาพอืน ๆ ่ (PHYSICAL)(ต่ อ) 2.แบบบนมาล่ าง (Top-Down) วิธีการนี้ เริ่ มต้นจากการกาหนดเอนทิต้ ีว่ามีเอนทิต้ ีอะไรบ้าง (Hint-level Entity) แล้วทาการพิจารณารายละเอียดของข้อมูลที่แต่ละเอนทิต้ ีควรจะมี รวมถึง ความสัมพันธ์ต่างๆ วิธีการนี้ เหมาะสาหรับองค์กรที่มีฐานข้อมูลซับซ้อน และมี รายละเอียดของข้อมูลมาก
  • 36. ปัจจัยด้ านกายภาพอืน ๆ ่ (PHYSICAL)(ต่ อ) การออกแบบข้ อมูลในระดับตรรกะ (Logical Database Design) เป็ นการนาผลจากการออกแบบในระดับแนวคิดมาวิเคราะห์และออกแบบ โดยใน ขั้นตอนนี้ เป็ นการแปลงผลจากการออกแบบในระดับแนวคิด (Mapping) ให้อยู่ ในรู ปแบบของระบบจัดการฐานข้อมูลที่เลือกใช้ เช่น รู ปแบบเชิ งสัมพันธ์ (Relational Model)
  • 37. ปัจจัยด้ านกายภาพอืน ๆ ่ (PHYSICAL)(ต่ อ) การออกแบบฐานข้ อมูลในระดับกายภาพ (Physical Database Design) ขั้นตอนนี้ เป็ นการนาข้อมูลที่ออกแบบในระดับตรรกะ มากาหนดโครงสร้างข้อมูลและการ จัดเก็บวิธีการเข้าถึงข้อมูล รวมถึงการจัดการด้านระบบความปลอดภัยเพื่อในฐานข้อมูล ทางานได้อย่างมีประสิ ทธิ ผลมาก
  • 38.
  • 40. เฉลย กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซ่ ึ ง กันและกัน โดยไม่ได้บงคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้ จะต้องเก็บไว้ใน ั แฟ้ มข้อมูลเดียวกัน
  • 42. เฉลย 1.ลดการเก็บข้ อมูลที่ซ้าซ้ อน 2.รักษาความถูกต้องของข้อมูล ั 3.การป้ องกันและรักษาความปลอดภัยให้กบข้อมูลทาได้อย่างสะดวก 4.สามารถใช้ขอมูลร่ วมกันได้ ้ 5.มีความเป็ นอิสระของข้ อมูล 6.สามารถขยายงานได้ ง่าย 7.ทาให้ ข้อมูลบูรณะกลับสู่ สภาพปกติได้ เร็วและมีมาตรฐาน
  • 44. เฉลย 1.ระบบจัดการฐานข้ อมูลเป็ นซอฟต์ แวร์ 2.ควบคุมระบบความปลอดภัยของข้ อมูล 3.ควบคุมการใช้ ข้อมูลในสภาพที่มีผู้ใช้ พร้ อม ๆ กันหลายคน
  • 46. เฉลย 1. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้ การจัดการฐานข้อมูลช่วยลด ขั้นตอนและความซับซ้อนของข้อมูลได้ 2. สามารถใช้ขอมูลร่ วมกันได้ การจัดการฐานข้อมูลเป็ นการเก็บข้อมูลรวม ้ ไว้ดวยกัน เพื่อผูใช้จะสามารถใช้ขอมูลที่ ต้องการได้ ้ ้ ้ 3. สามารถลดความซ้ าซ้อนของข้อมูล ข้อมูลประเภทเดียวกันจะถูกเก็บไว้ใน แฟ้ มเดียวกัน ลดปั ญหาความซ้ าซ้อนของข้อมูล อีกยังลดปั ญหาการ ประมวลผลที่ชาได้ ้
  • 47. ข้ อ 5 องศ์ประกอบของฐานข้อมูล แบ่งออกเป็ น 5 ประเภท คือ
  • 48. เฉลย 1.ฮาร์ ดแวร์ (Hardware) 2. โปรแกรม (Program) 3. ข้ อมูล (Data) 4. บุคลากร (People) 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedures)
  • 49. ข้ อ 6 บุคลากร มีอะไรบ้าง
  • 50. เฉลย 1.ผูใช้ทวไป (User) ้ ั่ 2.พนักงานปฏิบติการ (Operator) ั 3.นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst) 4.ผูเ้ ขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน (Programmer) 5.ผูบริ หารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) ้
  • 51. ข้ อ 7 ่ DBA ยอมาอะไร
  • 53. ข้ อ 8 ่ DBMS ยอมาจากอะไร
  • 55. ข้ อ 9 จงบอกข้อเสี ยของการประมวลผลแบบฐานข้อมูล มา 3 ข้อ
  • 56. เฉลย 1.มีตนทุนสู ง ต้องใช้ทุนด้านต่างๆ เช่น ซอฟต์แวร์ บุคลากร ้ 2. มีความซับซ้อน การเริ่ มใช้ระบบฐานข้อมูลอาจทาให้เกิดความ สลับซับซ้อนได้ เช่น การจัดเก็บ การออกแบบ 3.การเสี่ ยงต่อการหยุดชะงักของระบบ เนื่ องจากการเก็บข้อมูล เป็ นศูนย์กลาง เมื่อเกิดปั ญหาขึ้นทาให้ส่วนอีกกระทบไปด้วย
  • 57. ข้ อ 10 ปัจจัยด้ านกายภาพอื่น ๆ แบ่งออกเป็ นข้อมูลได้ 2 ลักษณะ คือ
  • 58. เฉลย 1. แบบล่ างไปบน (Bottom-Up) 2. แบบบนมาล่ าง (Top-Down)