SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  98
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและ
สมดุลเคมี(เคมี 3)
ผลการเรีย นรู้ท ี่ค าดหวัง
1. บอกความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
   และคำานวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้
2. อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
   โดยใช้ทฤษฏีจลน์และการชนกันของอนุภาค
   และการเกิดสารเชิงซ้อนกัมมันต์ได้
3. แปลความหมายกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลง
   พลังงานการดำาเนินไปของปฏิกิริยาเคมีและ
   สามารถระบุได้ว่าเป็นปฏิกิริยาดูดหรือคาย
   พลังงานได้
ผลการเรีย นรู้ท ี่ค าดหวัง
4. ระบุและอธิบายปัจจัยต่างๆที่มีผลต่ออัตราการ
   เกิดปฏิกิริยาได้
5. อธิบายความหมายของปฏิกิริยาผันกลับได้
   ภาวะสมดุล สมดุลระหว่างสถานะ สมดุลใน
   สารละลายอิ่มตัว สมดุลในปฏิกิริยาเคมี และ
   ค่าคงที่สมดุลได้
6. เขียนความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของ
   สารตั้งต้นกับผลิตภัณฑ์ ณ ภาวะสมดุลได้
7. คำานวณค่าคงที่สมดุลและความเข้มข้นของสาร
   ต่าง ๆ ณ ภาวะสมดุลได้
ผลการเรีย นรู้ท ี่ค าดหวัง
8. ระบุปจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลของระบบ พร้อม
         ั
   ทั้งอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อภาวะ
   สมดุลของระบบถูกรบกวนได้
9. อธิบายการปรับตัวของระบบเพื่อเข้าสู่ภาวะ
   สมดุลโดยใช้หลักของเลอชาเตอริเอ รวมทั้ง
   การเลือกภาวะที่เหมาะสมเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์
   สูงในอุตสาหกรรมได้
10. อธิบายการเกิดสมดุลเคมีในกระบวนการต่าง
   ๆ ของสิ่งมีชีวิต และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ใน
ผลการเรีย นรู้ท ี่ค าดหวัง
11. บอกสมบัติของสารละลายอิเล็กโทรไลต์
   สารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์ และระบุ
   ประเภทของสารอิเล็กโทรไลต์ได้
12. อธิบายการเปลี่ยนแปลงเมื่อกรดหรือเบส
   ละลายในนำ้า พร้อมทั้งระบุชนิดของไอออนที่
   ทำาให้สารละลายแสดงสมบัติเป็นกรดหรือเบส
   ได้
13. อธิบายความหมายของกรดและเบสตาม
   ทฤษฏีกรด – เบส             อาร์เรเนียส
ผลการเรีย นรู้ท ี่ค าดหวัง
 14. ระบุโมเลกุลหรือไอออนที่เป็นคูกรด
                                  ่– เบส
     ในปฏิกิริยาตามทฤษฏีกรด - เบส เบรินส
     เตด – ลาวรีได้
 15. อธิบายความสามารถในการแตกตัวของ
     กรดแก่ เบสแก่ กรดอ่อน เบสอ่อน รวม
     ทั้งคำานวณหาร้อยละของการแตกตัวและค่า
     คงที่การแตกตัวของกรดอ่อนหรือเบสอ่อน
     ได้
 16. อธิบายการเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลของนำ้า
ผลการเรีย นรู้ท ี่ค าดหวัง
17. คำานวณหา pH ของสารละลายเมื่อทราบ
   ความเข้มข้นของ H3O+ และ OH- และบอก
   ความเป็นกรด – เบสของสารละลายจากค่า
   pH ได้
18. อธิบายเหตุผลที่ทำาให้อินดิเคเตอร์เปลี่ยนสี
   และใช้ชวงของการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์
          ่
   บอก pH หรือความเป็นกรด – เบสของ
   สารละลายได้
19. มีเจตคติที่ดีต่อรายวิชาอัตราการเกิด
ข้อ ตกลงระหว่า งเรีย น
 คะแนนการเข้า เรีย น
  เข้าเรียนทุกชั่วโมงได้คะแนนเต็ม
  ขาดเรียนโดยไม่มีใบลาหักครั้งละ    1
   คะแนน
  ลาเกิน 3 ครั้ง หัก 1 คะแนน
  มาโรงเรียนแต่ไม่เข้าเรียนหักครั้งละ 3
   คะแนน
  
ข้อ ตกลงระหว่า งเรีย น
 คะแนนพฤติก รรม
 พูดคุย/ส่งเสียงดังขณะครูสอนหักครั้งละ
  2 คะแนน
 ไม่อนุญาตให้ใช้โทรศัพท์/เครื่องมือ
  สือสารในห้อง
    ่
      ฝ่าฝืนหักครั้งละ 3 คะแนน
หน่ว ยการเรีย นรู้
ที่ 6
อัต ราการเกิด
ปฏิก ิร ิย าเคมี
ความหมายของอัตราการเกิด
ปฏิกิริยาเคมี
   อัตราเร็วของรถยนต์ = ระยะทางที่รถยนต์
    เคลื่อนที่ได้
                   ระยะเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่

อัตราเร็วเฉลี่ยของรถยนต์ = ระยะทางที่เคลื่อนที่
  ได้ทั้งหมด
                    ระยะเวลาที่ใช้ไปทั้งหมด
รูปแบบการรายงานผลการทดลอง
 ชื่อ การทดลอง          : ปฏิกิริยาระหว่าง
  โลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก
 วันทีทำาการทดลอง :
         ่
  ……………………………..
 สมาชิก
  กลุม................................................
      ่
  ..............
จุด ประสงค์ก ารทดลอง
1. ทำาการทดลองเพือศึกษาการเกิด
                  ่
  ปฏิกริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับ
       ิ
  กรดไฮโดรคลอริก
2. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์
  ระหว่างปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจน
  กับเวลา และแปรผลจากกราฟได้
3. อธิบายการเกิดปฏิกริยาระหว่างโลหะ
                    ิ
  แมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกใน
 สมมติฐาน:      .................................
  ..................................
 กำาหนดตัวแปร
   ตัวแปร
     ต้น.........................................
     ....
   ตัวแปร
     ตาม........................................
     ...
 อุปกรณ์และสารเคมี
  โลหะแมกนีเซียมขนาด   0.5 cm x 10
   cm
  สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น
   0.2 mol/dm3
  กระบอกตวงขนาด 10 cm3
  บีกเกอร์ขนาด 100 cm3
  จุกก๊อกสำาหรับปิดกระบอกตวง
  นาฬิกาจับเวลาที่มีเข็มวินาที
  กระดาษทราย
 วิธีการทดลอง        (หน้า 3)
 บันทึกผลการทดลอง (เป็นตารางและ
  เขีมาตรแก๊ส...(cm )ระหว่างขีดที่
   ปริ ยนกราฟจากตาราง
                3
                                   เวลา (s)

           1-2
           2-3
           3-4
           4-5
           5-6
           6-7
           7-8
           8-9
           9 - 10
ก่อนการทดลอง
 ขัดลวดแมกนีเซียมด้วยกระดาษทราย เพื่อกำาจัด
  สารประกอบออกไซด์ที่เคลือบผิวออกให้หมด แล้ว
  ล้างลวดแมกนีเซียมให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง
 ให้เริ่มจับเวลาเมื่อปริมาตรของสารละลายใน
  กระบอกตวงลดลงมาอยู่ที่ขีดแรก ซึ่งถือว่าเป็นจุด
  เริ่มต้น
 ขณะอ่านปริมาตรของแก๊ส สายตาของผู้อ่านจะ
  ต้องอยู่ในระดับเดียวกับขีดที่อ่านและต้องจับเวลา
  อย่างต่อเนื่องกันจนถึงขีดก่อนที่แมกนีเซียมจะโผล่
  พ้นสารละลายกรด
 ในกรณีที่ทำาการทดลองซำ้า จะต้องล้างกระบอก
 อภิปรายผลการทดลอง
 สรุปผลการทดลอง
ผลการทดลอง
  ปริมาตรแก๊สไฮโดรเจน(cm3) ระหว่างขีดที่
                เวลา (s)
              1-2                   20
              2-3                   42
              3-4                   65
              4-5                   86
              5-6                   109
              6-7                   134
              7-8                   164
              8-9                   204
คำาถามเพื่ออภิปรายผลการทดลอง
 การเกิดแก๊สในแต่ละช่วงปริมาตรใช้เวลา
  เท่ากันหรือไม่อย่างไร
 จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
  ปริมาตรของแก๊สกับเวลา แล้วใช้กราฟ
  ประกอบการอธิบายการเกิดปฏิกิริยา
  ระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดร
  คลอริก
 มีวิธใดอีกบ้างที่ใช้วัดปริมาณสารใน
       ี
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี
อภิปรายผลการทดลอง
1. แก๊สทีเกิดจากปฏิกริยาระหว่างโลหะ
         ่          ิ
   แมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกคือ
   แก๊สไฮโดรเจน เขียนสมการแสดง
   ได้ดังนี้
   Mg(s) + 2HCl(aq)
   MgCl2(aq) + H2(g)
หรือ Mg(s) + 2H+(aq)          Mg2+
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

2.   การเกิดแก๊สไฮโดรเจนในแต่ละช่วง
     ปริมาตรใช้เวลาไม่เท่ากัน ในช่วง
     แรกใช้เวลาน้อยและในช่วงถัดไปใช้
     เวลามากขึ้นตามลำาดับ
3.   ลักษณะของกราฟในตอนเริ่มต้นมี
     ความชันมาก แสดงว่าปฏิกิริยาเกิด
     ขึ้นได้เร็ว เมือเวลาผ่านไปปฏิกิริยา
                    ่
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

4.   ปริมาณสารทีเปลียนแปลงใน
                    ่ ่
     ปฏิกริยา นอกจากจะวัดปริมาตรของ
          ิ
     แก๊สไฮโดรเจนทีเกิดขึ้นในหนึ่ง
                         ่
     หน่วยเวลาแล้ว อาจวัดจากปริมาณ
     ของผลิตภัณฑ์อนคือ Mg 2+ ทีเกิด
                      ื่         ่
     ขึ้นในหนึงหน่วยเวลา หรือวัดจาก
              ่
     ปริมาณสารตังต้นคือโลหะ Mg
                  ้
     หรือ H+ ทีลดลงในหนึ่งหน่วยเวลา
                ่
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

 อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี (Rate
   of Reaction) คือ
 จำานวนการเปลียนแปลงทางเคมีตอหนึง
                ่                 ่   ่
   หน่วยเวลา ซึ่ง
 หาได้จาก
 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี =
   ปริมาณสารตังต้นทีลดลง
              ้      ่
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = ปริมาณ
  สารผลิตภัณฑ์ทเกิดขึ้น
                ี่
                      เวลา
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี
การเขียนสัญลักษณ์แสดงอัตราการเกิด
  ปฏิกริยาเคมี
      ิ
กำาหนด [ ] = ปริมาณ/ความเข้มข้นของ
  สาร(mol/dm3          หรือ mol/l)
          = ผลต่าง/การเปลียนแปลง
                          ่
        t = เวลา
        r = อัตราการเกิดปฏิกิริยา
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

หน่ว ยของอัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย า
  เคมี
 โมลต่อลิตรต่อวินาที (mol/l.s-1)
 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตรต่อวินาที
  (mol/dm3s-1)
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

การคำานวณเกี่ยวกับอัตราการเกิด
  ปฏิกริยาเคมี มี 2 แบบ
       ิ
1. การคำานวณหาอัตราการเปลียนแปลง
                           ่
  ปริมาณสารในปฏิกริยา ิ
2. การคำานวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา
  เคมี
ตาราง 6.1 แสดงความเข้มข้นของสารตั้งต้นและ
ผลิตภัณฑ์ ณ เวลาต่าง ๆ ที่
       อุณหภูมิ 55๐C ของปฏิกิริยา 2N2O5(g)
         4NO2(g)ความเข้มข้น(mol/dm3)
                  + O2(g)
 เวลา(s)
              N2O5         NO2       O2
    0       0.0200      0.0000     0.0000
   100      0.0169      0.0063     0.0016
   200      0.0142      0.0115     0.0029
   300      0.0120      0.0160     0.0040
   400      0.0101      0.0197     0.0049
   500      0.0086      0.0229     0.0057
   600      0.0072      0.0256     0.0064
จากตารางจงตอบคำาถามต่อไปนี้
 ในช่วงเวลา  0-100 และ 500-600
  วินาที อัตราการสลายตัวของแก๊ส
  N2O5 มีคาเท่าใด และสรุปได้วา
           ่                  ่
  อย่างไร
 ในช่วงเวลา 0-100 และ 500-600
  วินาที อัตราการเกิดของแก๊ส NO2 มี
  ค่าเท่าใด และสรุปได้ว่าอย่างไร
ตาราง 6.2 แสดงอัตราการสลายตัวของ
แก๊ส N2O5 และอัตราการเกิดแก๊ส NO2
และ O2 ในช่[N2O5] าง ๆ[NO2]
           วงเวลาต่            [O2]
 ช่วงเวลา        t        t       t
    (s)     (mol/dm3 (mol/dm3 (mol/dm3
               .s) -    .s) -    .s) -
 0-100      3.1 x 10 6.3 x 10 1.6 x 10
            5         5         5
100-200
200-300 2.7 x 10- 5.2 x 10- 1.3 x 10-
            5         5         5
300-400
400-500 2.2 x 10- 4.5 x 10- 1.1 x 10-
            5         5         5
500-600         -         -         -
จากตารางจงตอบคำาถามต่อไปนี้
 ในช่วงเวลาทีเท่ากัน
              ่    อัตราการสลาย
 ตัวของแก๊ส N2O5 NO2 กับ O2 เท่ากัน
 หรือไม่ อย่างไร
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี แบ่ง ได้
   2 ชนิด คือ
 อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเฉลีย    ่
  หมายถึง ปริมาณสารตังต้นทีลดลง
                           ้     ่
  หรือ ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ทเพิมขึ้น ี่ ่
  ตังแต่เริ่มต้นปฏิกิริยาจนสินสุด
    ้                        ้
  ปฏิกริยา หรือสินสุดการทดลองใน
       ิ           ้
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี
 อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย า  ณ ขณะ
 ใดขณะหนึ่ง : อัตราการเกิดปฏิกิริยา
 แบบนี้ ทีเวลาต่างกันจะมีคาไม่เท่ากัน
          ่                 ่
  คือตอนเริ่มปฏิกิริยาอัตราการเกิด
 ปฏิกริยาจะเร็ว เมื่อดำาเนินต่อไปอัตรา
      ิ
 การเกิดปฏิกิริยาจะช้าลงตามลำาดับ
 เพราะความเข้มข้นของสารตังต้นลด้
 ลง
จากข้อมูลในตาราง 6.1 เมือนำา
                        ่
เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
ความเข้มข้นของสารกับเวลา จะได้
ดังรูป 6.2
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาทีจุดใดจุด
                             ่
หนึ่งทำาได้โดยลากเส้นสัมผัสผ่านจุดที่
ต้องการ เช่น ถ้าต้องการหาอัตราการเกิด
แก๊ส NO2 ณ วินาทีที่ 450
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 อัตราการเกิดแก๊ส   NO2 วินาทีที่ 450 450 =
 ∆ [NO2]
                                   ∆t
                              = 0.0087
 mol/dm3
                                  250 s
                              = 0.000035
 mol/dm3*s-1
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

ตัวอย่างการเขียนสัญลักษณ์แสดงอัตรา
  การเกิดปฏิกิริยา
จากสมการ aA + bB            cC +
  dD
r = - [A] = - [B] = + [C] =
  + [D]
     a t          b t    c t
จงตอบคำาถามต่อไปนี้
Ex กำาหนดสมการของปฏิกิริยา ดังนี้
 2KMnO4 + 16HCl              2KCl
 + 2MnCl2 + 8H2O + 5Cl2
 จงเขียนความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการ
 เกิดปฏิกิริยากับอัตราการลดลงของสารตั้ง
 ต้น และอัตราการเกิดสารผลิตภัณฑ์
Ex เชื้อเพลิงสะอาดชนิดหนึ่งที่สามารถใช้
 ในเครื่องยนต์ในอนาคตคือ
 2H2(g) + O2(g)
 2H2O(g)
ก. จงเขียนความสัมพันธ์แสดงการ
 เปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของ H2 O2 และ
 H2O กับเวลา
ข. เมื่อความเข้มข้นของ O2 มีอัตราการลด
 ลงเป็น 0.23 mol/dm3.s อัตราการเพิ่ม
Ex กำาหนดสมการของปฏิกิริยา ดังนี้
 Fe + 2HCl           FeCl2 +H2
 จากการทดลอง ถ้าใช้เวลา 20 วินาที
 ใช้ Fe หมดไป 5.6 g จงคำานวณ
 ก. อัตราการลดลงของ Fe และอัตราการ
 เกิดก๊าซ H2 ที่มหน่วยเป็น โมล/วินาที
                 ี
 ข. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย (มวล
 อะตอมของ Fe = 56)
แบบฝึกหัด 6.1
   สาร A ทำาปฏิกิริยากับสาร B ได้สาร C
    เมื่อวัดความเข้มข้นของสาร A ขณะเกิด
    ปฏิกิริยาได้ผลดังนี้ มข้นของ A
     เวลา (s)      ความเข้
        0           (mol/dm3)
                     1.0000
       20             0.818
       40             0.669
       60             0.548
       80             0.448
      100             0.367
อัตราการเกิดปฏิกิริยาระหว่างเวลา 0-20
     วินาที 40-60 วินาที และ 80-100
    วินาที เท่ากันหรือไม่ อย่างไร และ
    อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยมีค่าเท่าใด
   แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ได้รับความ
    ร้อนจะเกิดการสลายตัวดังสมการ
    2NO2 (g)                 2NO(g) + O2
    (g)
    เมื่อเริ่มต้นปฏิกิริยามี NO2 0.1103
    mol/dm3 หลังจากเกิด ปฏิกิริยาแล้ว
    60 วินาที มี NO2 เหลืออยู่ 0.1076
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

แนวคิด เกี่ย วกับ การเกิด ปฏิก ิร ิย า
  เคมี
 ทฤษฎีก ารชน (Collision
  Theory) กล่าวว่า “ปฏิกิริยาเคมีเกิด
  ขึ้นได้เมืออนุภาคของสารเข้าทำา
            ่
  ปฏิกริยากันจะต้องมีการชนกันเสีย
       ิ
  ก่อน” และการชนกันจะต้องมีลักษณะ
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

1.   อนุภาคของสารตั้งต้นต้องมีการชน
     กัน
2.   อนุภาคทีชนกันจะต้องมีพลังงานสูง
              ่
     พอ คือสูงพอทีจะทำาลายพันธะเดิม
                   ่
     แล้วสร้างพันธะใหม่ หรือเท่ากับหรือ
     มากกว่าพลังงานก่อกัมมันต์
3.   ต้องชนในทิศทางทีเหมาะสม
                      ่
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

พลัง งานกระตุ้น (Activition
  Energy หรือ Ea) หมายถึง
พลังงานจำานวนน้อยทีสดทีทำาให้อนุภาค
                     ่ ุ ่
  ของสารตังต้นชน
           ้
กันแล้ว จะทำาให้เกิดปฏิกิริยาได้
พลังงานกระตุ้นเป็นสมบัตเฉพาะตัวของ
                         ิ
  แต่ละปฏิกริยา
             ิ
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี
พลังงาน                              พลังงาน

                  Ea




          การดำาเนินไปของปฏิกิริยา
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

 พลัง งานและการดำา เนิน ไปของ
 ปฏิก ิร ิย า
1. ปฏิกิริยาดูดพลังงานหรือปฏิกิริยา
 ดูดความร้อน คือปฏิกิริยาที่มการ
                             ี
 ถ่ายเทพลังงานจากสิงแวดล้อมเข้าสู่
                     ่
 ระบบ ดังนันสารผลิตภัณฑ์จะมี
              ้
 พลังงานสูงกว่า     พลังงานของสาร
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี
 พลังงานศักย์                  สารเชิงซ้อนที่
 ถูกกระตุ้น

                      Ea
                                Z
                                    H
           X+Y


                การดำาเนินไปของปฏิกิริยา
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

2. ปฏิกิริยาคายพลังงานหรือปฏิกิริยา
 คายความร้อน คือปฏิกิริยาทีมการ
                           ่ ี
 ถ่ายเทพลังงานจากระบบไปสูสง ่ ิ่
 แวดล้อม ดังนั้นสารตังต้นจะมี
                     ้
 พลังงานสูงกว่าสารผลิตภัณฑ์
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี
                 สารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น

           Ea


   A+B                 H



            การดำาเนินไปของปฏิกิริยา
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าจะเร็ว
      หรือ ช้า ขึ้นอยู่กบ
                        ั
1. จำานวนความถี่ของการชนกันของ
 อนุภาคของสารตั้งต้น ซึ่งอัตราการ
 เกิดปฏิกิริยาจะแปรผันตามจำานวนครั้ง
 ของการชนกัน (ยิ่งชนกันมากชนกัน
 บ่อยอัตราการเกิดปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

   2. จำานวนโมเลกุล ต้องมีพลังงาน
    มากกว่าหรือเท่ากับ Ea อัตราการ
    เกิดปฏิกริยาเคมี จะแปรผันตาม
            ิ
    จำานวนโมเลกุลที่มพลังงาน
                     ี
   3. ค่าของพลังงานกระตุน อัตรา
                          ้
    การเกิดปฏิกริยาเคมี
                ิ
   จะแปรผัน ตาม                1
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี
   En                           En
              เร็ว
                     Pro                 ช้า

                                               Pro
     Re                    Re

          1                          2
แนวคิดเกี่ยวกับสารเชิงซ้อนกัมมันต์
 แนวคิดนี้อธิบายว่า   เมื่อสารเข้าทำา
 ปฏิกริยากันจะมีสารใหม่เกิดขึ้นเป็น
       ิ
 ผลิตภัณฑ์ และในระหว่างที่สารตังต้น   ้
 เปลียนเป็นผลิตภัณฑ์นั้น จะมีส าร
     ่
 เชิง ซ้อ นกัม มัน ต์เกิดขึ้นก่อนเพียงชั่ว
 ขณะหนึง แล้วสารเชิงซ้อนกัมมันต์ก็
          ่
 สลายเป็นผลิตภัณฑ์ต่อไป
สารเชิงซ้อนกัมมันต์อยู่ในสภาวะทีไม่
                                ่
เสถียรเพราะมีพลังงานสูงมาก สภาวะ
ดังกล่าวนีเรียกว่า สภาวะแทรนซิชน
          ้                       ั
  จึงอาจกล่าวได้ว่าพลังงานของสภา
วะแทรนซิชนจะมีคาประมาณพลังงา
            ั      ่
นก่อกัมมันต์นนเอง เพราะการที่
              ั่
ปฏิกริยาเคมีจะเกิดขึ้นได้ อนุภาคของ
     ิ
สารที่ชนกันจะต้องมีพลังงานอย่าง
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี
     กลไกของปฏิก ิร ิย า (Reaction
      Mechanism)
 กลไกของปฏิก ิร ิย า หมายถึง ขั้น
  ตอนของปฏิกิริยาซึ่งปฏิกริยาหนึงๆ
                         ิ      ่
  อาจจะเกิดเพียงขั้นตอนเดียว หรืออาจ
  จะเกิดหลายขั้นตอน ในกรณีหลายขั้น
  ตอน แต่ละขั้นตอนจะเกิดช้าเร็วไม่เท่า
  กัน เพราะมีพลังงานกระตุนต่างกัน ขั้น
                           ้
ปฏิกิริยาเคมีที่มขั้นตอนเดียว แสดงว่า
                  ี
กลไกของปฏิกริยาจะมี
                ิ
Ea ได้ค่าเดียว
               เร็ว
                      Pro            ช้า

                                           Pro
      Re                    Re

           1                     2
ปฏิกิริยาเคมีที่มหลายขั้นตอน แสดงว่า
                  ี
กลไกของปฏิกริยาจะมี
                ิ
Ea ได้หลายค่า ให้เลือกเฉพาะค่า Ea ที่
                    ขั้นที่ 2
มากทีสดเป็นขั้นตอน
      ่ ุ
กำาหนดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
                            ขั้นที่ 3
         ขั้นที่ 1                 Ea3
                         Ea2 C
           Ea1                      D E2
     A                             ∆E=(E2-E1)>0
E1
                     B
 ปฏิกริยามี
      ิ        3 ขั้นตอน โดย Ea2 > Ea1
 > Ea3
  ขั้นที่  1 เป็นปฏิกริยาคายความร้อน
                        ิ
     (A             B)
  ขั้นที่ 2 เป็นปฏิกริยาดูดความร้อน
                          ิ
     (B             C)
  ขั้นที่ 3 เป็นปฏิกริยาคายความร้อน
                            ิ
     (C             D)
 ขั้นที่ 2 เป็นขั้นกำาหนดอัตราการเกิด
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

กฎอัต ราและค่า คงที่ข องกฎอัต รา
 (Law of Mass Action.) กล่าวว่า
  “ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เป็น
 สัดส่วนโดยตรงกับผลคูณของความ
 เข้มข้นของสารตังต้น และความเข้ม
                 ้
 ข้นแต่ละค่ามีเลขยกกำาลัง ซึ่งแล้วแต่
 ปฏิกริยาหนึงปฏิกิริยาใดโดยเฉพาะ ”
      ิ     ่
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี
 ตัวอย่าง     A + B           C + D
             v           [A]n [B]m
             v =       k [A]n [B]m
  v = อัตราการเกิดปฏิกิริยา
 [ ] = ความเข้มข้น
 K = ค่าคงทีของอัตราการเกิดปฏิกริยา
               ่                      ิ
   ในปฏิกิริยาหนึ่ง ๆ ทีอณหภูมิทกำาหนด
                        ่ ุ        ี่
   ให้
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี
  ตัว อย่า งการคำา นวณ
  จากปฏิกิริยา 2A + 3B       C
  +2D เมื่อวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา
  โดยมีความเข้มข้นของ A และ B
  ต่างๆ กัน ปรากฏผลดังนี้
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

การทดลองที่ ความเข้ม ข้น (โมล / ลิต ร)
          อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี
             A                   B
(โมล/ลิต ร-วิน าที)
   1              0.1          1.1       1.50 x
 10-6
   2              0.2         0.75
1.40 x 10-6
   3              0.4          1.1       5.98 x
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

จงหา          ก. อันดับของปฏิกิริยา
 ทังปฏิกิริยา
   ้
         ข. สมการของกฎอัตราของ
     ปฏิกิริยานี้
         ค. ค่า K ของสมการใน
 ข้อ (ข)
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

จากสมการ 2A +3B              C +
  2D         v = K [A]m [B]n
 การทดลองที่ 1. = 1.50 x 10-6 =
  K(0.1)m(1.1)n    …..(1)
 การทดลองที่ 2.    = 1.40 x 10-6 =
    K(0.2)m(0.75)n ….(2)
 การทดลองที่ 3.   = 5.98 x 10-6 =
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี
      (3)   / (1) 4 = (4)m ดัง
   นัน
     ้       m = 1
      (4)   / (3) 0.25 = (0.5)n
   ดังนั้น   n = 2

       นำาค่า m , n ไปแทนสมการ
     ไหนก็ได้
       จะได้คา K = 1.24 x
              ่
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

 ก. อันดับของปฏิกิริยา          =
  (m + n)
                      = (1 + 2 )
                      =     3
             ปฏิกิริยาอันดับที่ 3
 ข. สมการกฎอัตรา                 r =
    K[A]m[B]2n
กฎอัตราทีหาได้จะทดสอบว่าถูกหรือ
            ่
  ผิด ด้วยการแทนค่า
จากการทดลองต่าง ๆ ตังแต่ 2 การ
                      ้
  ทดลองขึ้นไป ในกฎ
อัตรานั้นแล้วหาค่า K จะได้ค่าเท่ากัน
  แสดงว่ากฎอัตราทีหา
                   ่
ได้ถูกต้อง แต่ถาแทนค่าจากการ
                ้
  ทดลองต่าง ๆ ในกฎอัตรา
 สำาหรับในกฎอัตราใดทีมีความเข้มข้น
                      ่
  ของสารตังต้นยกกำาลังศูนย์
           ้
  หมายความว่า การเปลียนความเข้ม
                       ่
  ข้นของสารตังต้น ไม่ว่าจะเพิ่มขึ้น
                ้
  หรือลดลง ก็ไม่มผลต่ออัตราการเกิด
                  ี
  ปฏิกริยาทังสิ้น
      ิ      ้
 จากกฎอัตราข้างต้น    เรียกว่า
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การทดลอง 6.2 ความเข้มข้นของ
สารกับอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
                      ิ
จุดประสงค์การทดลอง
1. ทำาการทดลองเพือศึกษาผลของความ
                    ่
  เข้มข้นของสารต่ออัตราการเกิด
  ปฏิกริยาเคมีได้
       ิ
2. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์
  ระหว่างความเข้มข้นของสารกับเวลา
  ในการเกิดปฏิกริยาและสามารถแปล
                  ิ
3. สรุปผลของความเข้มข้นของสารตัง  ้
 ต้นทีมตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้
       ่ ี ่
อุปกรณ์และสารเคมี

สารเคมี
 สารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต 0.3
  mol/dm3
 สารละลายกรดไฮโดรคลอริก 2
  mol/dm3
 สารละลายกรดไฮโดรคลอริก 0.3
  mol/dm3
อุปกรณ์
 หลอดทดลองขนาดใหญ่
 กระบอกตวงขนาด 10 cm3
 นาฬิกาจับเวลาหรือนาฬิกาทีมเข็ม
                           ่ ี
  วินาที
 กระดาษสีขาว
 กระดาษกราฟ
สิ่งที่นักเรียนแต่ละกลุ่มต้องนำามา
สำาหรับ           การทดลอง 6.2 มี
ดังนี้
 นาฬิกาจับเวลาหรือนาฬิกาทีมเข็ม
                           ่ ี
  วินาที
 กระดาษทิชชู
 กระดาษสีขาว 1 แผ่น
 กระดาษกราฟ 1 แผ่น
อภิปรายก่อนการทดลอง
 ใช้หลอดทดลองทีแห้งและสะอาด
                ่
 สังเกตการเปลียนแปลงและจับเวลา
               ่
  อย่างละเอียด
 ควบคุมตัวแปรให้เหมือนกันทุกครั้ง
  ตลอดการทดลอง เช่น การเท
  สารละลายผสมกันต้องเทให้เหมือนกัน
           ทุกครั้ง และถ้าเขย่าหลอด
 ขณะทดลองจะมีแก๊ส     SO2 เกิดขึ้นซึ่ง
  เป็นพิษ จึงควรหลีกเลียงการสูดดม
                        ่
 ไม่ควรเขียนเครื่องหมายกากบาทเบา
  หรือหนักเกินไป เพราะเบาเกินไปจะ
  สังเกตยาก ถ้าหนักเกินไปจะต้องใช้
  เวลาในการสังเกตเพิมขึ้นหรืออาจยัง
                     ่
  มองเห็น           กากบาทอยู่แม้วา   ่
 ให้เริ่มจับเวลาตังแต่เทสารละลายผสม
                   ้
  กันจนกระทั่งมองไม่เห็นเครื่องหมาย
  กากบาท
 ถ้าปฏิกิริยาในหลอดใดเกิดเร็วมากจน
  จับเวลาไม่ทน ให้บันทึกว่าปฏิกิริยา
               ั
  เกิดเร็วมากหรือเกิดทันทีทนใด
                           ั
วิธีทำาการทดลอง (ตอนที่ 1) ใช้ HCl
คงที่ 10 cm3 ทุกหลอด
หลอ    ปริมาตรของสารละลาย   ปริมาตร
ดที่         Na2S2O3        ของนำ้า
             (cm3)           (cm3)
 1            10               0
 2             8               2
 3             6               4
 4             4               6
วิธีทำาการทดลอง (ตอนที่ 2)ใช้ Na2S2O3
คงที่ 10 cm3ทุกหลอด
  หลอด ปริมาตรของสารละลาย     ปริมาตร
   ที่         HCl            ของนำ้า
              (cm3)            (cm3)
   1            10               0
   2             8               2
   3             6               4
   4             4               6
   5             2               8
บันทึกผลการทดลอง (ตอนที่ 1)
      ปริมาตร             ความเข้มข้น เวล
หลอด    ของ     ปริมาตร      ของ       า
 ที่ สารละลาย   ของนำ้า    สารละลาย (s)
     Na2S2O3     (cm3)     Na2S2O3
       (cm3)              (mol/dm3)
 1
 2
 3
ตอนที่ 2
      ปริมาตร               ความเข้ม เวล
หลอ    ของ       ปริมาตร     ข้นของ   า
ดที่ สารละลาย    ของนำ้า    สารละลาย (s)
     HCl (cm3)    (cm3)       HCl
                           (mol/dm3
                                )
 1
 2
 3
กราฟตอนที่ 1
กราฟตอนที่ 2
อภิปรายผลการทดลอง
 จากการทดลองทัง
               ้    2 ตอน เมื่อความ
 เข้มข้นของ          สารละลาย
 โซเดียมไทโอซัลเฟตและสารละลายก
 รดไฮโดรคลอริกลดลง ระยะเวลาใน
 การเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น แสดงว่า
 อัตราการเกิดปฏิกิริยาลดลงเมื่อความ
      เข้มข้นของสารละลายลดลง จึง
 สรุปได้ว่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้น
 จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
 ความเข้มข้นของสารละลายกับเวลาที่
 ใช้ในการเกิดปฏิกริยาของการทดลอง
                 ิ
 ทังสองตอน สรุปได้ว่าเมือความเข้ม
   ้                    ่
 ข้นของสารตังต้น ลดลงอัตราการเกิด
             ้
 ปฏิกริยาจะลดลง
     ิ
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี

ปัจ จัย ที่ม ีผ ลต่อ ปฏิก ิร ิย าเคมี มี 5
  ปัจจัย คือ
 ธรรมชาติข องสารตั้ง ต้น : ถ้าสาร
  ตังต้นเป็นสารที่วองไวต่อปฏิกริยา
    ้                 ่              ิ
  ปฏิกริยาจะเกิดเร็ว ถ้าสารตังต้นเฉือย
       ิ                           ้     ่
  ต่อปฏิกิริยา ปฏิกิริยาจะเกิดช้า
 พื้น ที่ผ ิว
            : สารตังต้นที่มพนทีผิวสัมผัส
                     ้      ี ื้ ่
  มากปฏิกริยาจะเกิดเร็ว เนืองจาก
          ิ                     ่
  อนุภาคของสารมีโอกาสชนกันมากขึ้น
   การเพิ่มพื้นที่ผิวทำาได้โดยตีเป็นแผ่น
  แบน ๆ หรือบดให้เป็นผงละเอียด
 ความเข้มข้นของสารตังต้น
                     ้     : การเพิม่
 ความเข้มข้นของสารตังต้น ทำาให้
                      ้
 จำานวนอนุภาคของสารตังต้นในระบบ
                        ้
 เพิมขึ้น โอกาสทีอนุภาคของสารจะ
    ่             ่
 ชนกันจึงมีมากขึ้น และอนุภาคทีมี ่
 พลังงานสูงก็จะมีจำานวนมากขึ้นด้วย
 จึงมีผลทำาให้อัตราการเกิดปฏิกิริยา
 เคมีสงขึ้น
       ู
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี
 อุณหภูมิ : เมื่ออุณหภูมิสงขึ้นโมเลกุลที่
                           ู
 มีพลังงานสูงและเคลือนที่ดวยอัตราเร็ว
                        ่    ้
 สูงมีจำานวนเพิ่มขึ้น จึงมีโอกาสชนกัน
 ได้มากขึ้นและเมือชนกันแล้วทำาให้มี
                    ่
 จำานวนโมเลกุลทีมีพลังงานสูงเท่ากับ
                      ่
 หรือมากกว่าพลังงานก่อกัมมันต์มมาก  ี
 ขึ้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาจึงมีค่าสูง
 ขึ้น ดังกราฟ
จำานวนโมเลกุลของแก๊ส
             T   E         T2 > T 1
             1

                 T2
                      บริเวณที่แสดงถึงจำานวนโมเลกุล
                      ทีชนกันแล้วมีโอกาสเกิดปฏิกิริยา
                        ่




                                 พลังงานจลน์
      จากรูปทีอุณหภูมิ T2 มีจำานวน
                 ่
    อนุภาค (โมเลกุล) ทีมีพลังงานสูงพอ
                            ่
    (สูงกว่า Ea) มากกว่าทีอุณหภูมิ T1
                              ่
          ดังนั้นทีอุณหภูมิ T2 % การชน
                   ่
    ของอนุภาค (โมเลกุล) ทีเป็นผล่
    สำาเร็จ (เกิดปฏิกิริยาได้) มีมากกว่าที่
    อุณหภูมิ T1
การอธิบ ายผลของตัว คะตะไลส์ต ่อ
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย า มี
ดัง พลัง้งาน
    นี
  (E)                       กราฟทีไม่มตัวเร่ง
                                  ่   ี
                               กราฟที่มตัวเร่งปฏิกริยา
                                       ี          ิ
                 Ea
                       Ea

        A+B                              H


              การดำาเนินไปของปฏิกิริยา
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี
จากกราฟนีจะสรุปได้วา
            ้             ่
1. ปฏิกิริยาเคมีที่มการเติมตัวเร่งลงไป
                    ี
 มีผลทำาให้พลังงานกระตุนลดลง้
2. พลังงานที่ลดลงเมื่อมีการเติมตัวเร่ง
 ปฏิกริยาลงไป มีคาเท่ากับพลังงาน
     ิ                ่
 กระตุนทีไม่มีตวเร่ง ลบด้วย พลังงาน
       ้ ่     ั
 กระตุนทีมตัวเร่ง
        ้ ่ ี
3. พลังงานของปฏิกริยาไม่เกียวข้องกับ
                        ิ     ่
สมบัติของตัวเร่งปฏิกิริยา
 เมือเติมตัวเร่งปฏิกิริยาเข้าไปแล้ว
     ่                                 จน
  ทำาให้ปฏิกิริยาดำาเนินไปจนเสร็จ
  สมบูรณ์ จะได้ตวเร่งปฏิกิริยาตัวเดิม
                   ั
  กลับมา โดยทีตัวเร่งไม่ได้เข้าทำา
                 ่
  ปฏิกริยากับสารตั้งต้นด้วยเลย
      ิ
 ตัวหน่วงปฏิกิริยา คือ ตัวที่เติมลงไป
  ในปฏิกิริยาแล้วทำาให้ปฏิกิริยาเกิดได้

Contenu connexe

Tendances

แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงNawamin Wongchai
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงvanida juntapoon
 

Tendances (20)

แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียง
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 

En vedette

โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยawirut
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีgusuma
 
1แผนที่2
1แผนที่21แผนที่2
1แผนที่2yaowaluk
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 

En vedette (6)

โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
1แผนที่2
1แผนที่21แผนที่2
1แผนที่2
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 

Similaire à อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกBlovely123
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5bee255taiy
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกkamon369
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000Awirut619
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Nanmoer Tunteng
 
P57176810959
P57176810959P57176810959
P57176810959mamka
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์Gawewat Dechaapinun
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก kruannchem
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีnn ning
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ืkanya pinyo
 

Similaire à อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (20)

กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
Rate3
Rate3Rate3
Rate3
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000
 
Som
SomSom
Som
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
P57176810959
P57176810959P57176810959
P57176810959
 
2
22
2
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

  • 2. ผลการเรีย นรู้ท ี่ค าดหวัง 1. บอกความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และคำานวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ 2. อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยใช้ทฤษฏีจลน์และการชนกันของอนุภาค และการเกิดสารเชิงซ้อนกัมมันต์ได้ 3. แปลความหมายกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลง พลังงานการดำาเนินไปของปฏิกิริยาเคมีและ สามารถระบุได้ว่าเป็นปฏิกิริยาดูดหรือคาย พลังงานได้
  • 3. ผลการเรีย นรู้ท ี่ค าดหวัง 4. ระบุและอธิบายปัจจัยต่างๆที่มีผลต่ออัตราการ เกิดปฏิกิริยาได้ 5. อธิบายความหมายของปฏิกิริยาผันกลับได้ ภาวะสมดุล สมดุลระหว่างสถานะ สมดุลใน สารละลายอิ่มตัว สมดุลในปฏิกิริยาเคมี และ ค่าคงที่สมดุลได้ 6. เขียนความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของ สารตั้งต้นกับผลิตภัณฑ์ ณ ภาวะสมดุลได้ 7. คำานวณค่าคงที่สมดุลและความเข้มข้นของสาร ต่าง ๆ ณ ภาวะสมดุลได้
  • 4. ผลการเรีย นรู้ท ี่ค าดหวัง 8. ระบุปจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลของระบบ พร้อม ั ทั้งอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อภาวะ สมดุลของระบบถูกรบกวนได้ 9. อธิบายการปรับตัวของระบบเพื่อเข้าสู่ภาวะ สมดุลโดยใช้หลักของเลอชาเตอริเอ รวมทั้ง การเลือกภาวะที่เหมาะสมเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ สูงในอุตสาหกรรมได้ 10. อธิบายการเกิดสมดุลเคมีในกระบวนการต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ใน
  • 5. ผลการเรีย นรู้ท ี่ค าดหวัง 11. บอกสมบัติของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ สารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์ และระบุ ประเภทของสารอิเล็กโทรไลต์ได้ 12. อธิบายการเปลี่ยนแปลงเมื่อกรดหรือเบส ละลายในนำ้า พร้อมทั้งระบุชนิดของไอออนที่ ทำาให้สารละลายแสดงสมบัติเป็นกรดหรือเบส ได้ 13. อธิบายความหมายของกรดและเบสตาม ทฤษฏีกรด – เบส อาร์เรเนียส
  • 6. ผลการเรีย นรู้ท ี่ค าดหวัง 14. ระบุโมเลกุลหรือไอออนที่เป็นคูกรด ่– เบส ในปฏิกิริยาตามทฤษฏีกรด - เบส เบรินส เตด – ลาวรีได้ 15. อธิบายความสามารถในการแตกตัวของ กรดแก่ เบสแก่ กรดอ่อน เบสอ่อน รวม ทั้งคำานวณหาร้อยละของการแตกตัวและค่า คงที่การแตกตัวของกรดอ่อนหรือเบสอ่อน ได้ 16. อธิบายการเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลของนำ้า
  • 7. ผลการเรีย นรู้ท ี่ค าดหวัง 17. คำานวณหา pH ของสารละลายเมื่อทราบ ความเข้มข้นของ H3O+ และ OH- และบอก ความเป็นกรด – เบสของสารละลายจากค่า pH ได้ 18. อธิบายเหตุผลที่ทำาให้อินดิเคเตอร์เปลี่ยนสี และใช้ชวงของการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ ่ บอก pH หรือความเป็นกรด – เบสของ สารละลายได้ 19. มีเจตคติที่ดีต่อรายวิชาอัตราการเกิด
  • 8. ข้อ ตกลงระหว่า งเรีย น  คะแนนการเข้า เรีย น เข้าเรียนทุกชั่วโมงได้คะแนนเต็ม ขาดเรียนโดยไม่มีใบลาหักครั้งละ 1 คะแนน ลาเกิน 3 ครั้ง หัก 1 คะแนน มาโรงเรียนแต่ไม่เข้าเรียนหักครั้งละ 3 คะแนน 
  • 9. ข้อ ตกลงระหว่า งเรีย น  คะแนนพฤติก รรม พูดคุย/ส่งเสียงดังขณะครูสอนหักครั้งละ 2 คะแนน ไม่อนุญาตให้ใช้โทรศัพท์/เครื่องมือ สือสารในห้อง ่ ฝ่าฝืนหักครั้งละ 3 คะแนน
  • 10. หน่ว ยการเรีย นรู้ ที่ 6 อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี
  • 11. ความหมายของอัตราการเกิด ปฏิกิริยาเคมี  อัตราเร็วของรถยนต์ = ระยะทางที่รถยนต์ เคลื่อนที่ได้ ระยะเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ อัตราเร็วเฉลี่ยของรถยนต์ = ระยะทางที่เคลื่อนที่ ได้ทั้งหมด ระยะเวลาที่ใช้ไปทั้งหมด
  • 12. รูปแบบการรายงานผลการทดลอง  ชื่อ การทดลอง : ปฏิกิริยาระหว่าง โลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก  วันทีทำาการทดลอง : ่ ……………………………..  สมาชิก กลุม................................................ ่ ..............
  • 13. จุด ประสงค์ก ารทดลอง 1. ทำาการทดลองเพือศึกษาการเกิด ่ ปฏิกริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับ ิ กรดไฮโดรคลอริก 2. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจน กับเวลา และแปรผลจากกราฟได้ 3. อธิบายการเกิดปฏิกริยาระหว่างโลหะ ิ แมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกใน
  • 14.  สมมติฐาน: ................................. ..................................  กำาหนดตัวแปร ตัวแปร ต้น......................................... .... ตัวแปร ตาม........................................ ...
  • 15.  อุปกรณ์และสารเคมี โลหะแมกนีเซียมขนาด 0.5 cm x 10 cm สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.2 mol/dm3 กระบอกตวงขนาด 10 cm3 บีกเกอร์ขนาด 100 cm3 จุกก๊อกสำาหรับปิดกระบอกตวง นาฬิกาจับเวลาที่มีเข็มวินาที กระดาษทราย
  • 16.  วิธีการทดลอง (หน้า 3)  บันทึกผลการทดลอง (เป็นตารางและ เขีมาตรแก๊ส...(cm )ระหว่างขีดที่ ปริ ยนกราฟจากตาราง 3 เวลา (s) 1-2 2-3 3-4 4-5 5-6 6-7 7-8 8-9 9 - 10
  • 17. ก่อนการทดลอง  ขัดลวดแมกนีเซียมด้วยกระดาษทราย เพื่อกำาจัด สารประกอบออกไซด์ที่เคลือบผิวออกให้หมด แล้ว ล้างลวดแมกนีเซียมให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง  ให้เริ่มจับเวลาเมื่อปริมาตรของสารละลายใน กระบอกตวงลดลงมาอยู่ที่ขีดแรก ซึ่งถือว่าเป็นจุด เริ่มต้น  ขณะอ่านปริมาตรของแก๊ส สายตาของผู้อ่านจะ ต้องอยู่ในระดับเดียวกับขีดที่อ่านและต้องจับเวลา อย่างต่อเนื่องกันจนถึงขีดก่อนที่แมกนีเซียมจะโผล่ พ้นสารละลายกรด  ในกรณีที่ทำาการทดลองซำ้า จะต้องล้างกระบอก
  • 19. ผลการทดลอง ปริมาตรแก๊สไฮโดรเจน(cm3) ระหว่างขีดที่ เวลา (s) 1-2 20 2-3 42 3-4 65 4-5 86 5-6 109 6-7 134 7-8 164 8-9 204
  • 20. คำาถามเพื่ออภิปรายผลการทดลอง  การเกิดแก๊สในแต่ละช่วงปริมาตรใช้เวลา เท่ากันหรือไม่อย่างไร  จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาตรของแก๊สกับเวลา แล้วใช้กราฟ ประกอบการอธิบายการเกิดปฏิกิริยา ระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดร คลอริก  มีวิธใดอีกบ้างที่ใช้วัดปริมาณสารใน ี
  • 21. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี อภิปรายผลการทดลอง 1. แก๊สทีเกิดจากปฏิกริยาระหว่างโลหะ ่ ิ แมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกคือ แก๊สไฮโดรเจน เขียนสมการแสดง ได้ดังนี้ Mg(s) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + H2(g) หรือ Mg(s) + 2H+(aq) Mg2+
  • 22. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี 2. การเกิดแก๊สไฮโดรเจนในแต่ละช่วง ปริมาตรใช้เวลาไม่เท่ากัน ในช่วง แรกใช้เวลาน้อยและในช่วงถัดไปใช้ เวลามากขึ้นตามลำาดับ 3. ลักษณะของกราฟในตอนเริ่มต้นมี ความชันมาก แสดงว่าปฏิกิริยาเกิด ขึ้นได้เร็ว เมือเวลาผ่านไปปฏิกิริยา ่
  • 23. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี 4. ปริมาณสารทีเปลียนแปลงใน ่ ่ ปฏิกริยา นอกจากจะวัดปริมาตรของ ิ แก๊สไฮโดรเจนทีเกิดขึ้นในหนึ่ง ่ หน่วยเวลาแล้ว อาจวัดจากปริมาณ ของผลิตภัณฑ์อนคือ Mg 2+ ทีเกิด ื่ ่ ขึ้นในหนึงหน่วยเวลา หรือวัดจาก ่ ปริมาณสารตังต้นคือโลหะ Mg ้ หรือ H+ ทีลดลงในหนึ่งหน่วยเวลา ่
  • 24. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี (Rate of Reaction) คือ จำานวนการเปลียนแปลงทางเคมีตอหนึง ่ ่ ่ หน่วยเวลา ซึ่ง หาได้จาก อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = ปริมาณสารตังต้นทีลดลง ้ ่
  • 25. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = ปริมาณ สารผลิตภัณฑ์ทเกิดขึ้น ี่ เวลา
  • 26. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี การเขียนสัญลักษณ์แสดงอัตราการเกิด ปฏิกริยาเคมี ิ กำาหนด [ ] = ปริมาณ/ความเข้มข้นของ สาร(mol/dm3 หรือ mol/l) = ผลต่าง/การเปลียนแปลง ่ t = เวลา r = อัตราการเกิดปฏิกิริยา
  • 27. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี หน่ว ยของอัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย า เคมี  โมลต่อลิตรต่อวินาที (mol/l.s-1)  โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตรต่อวินาที (mol/dm3s-1)
  • 28. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี การคำานวณเกี่ยวกับอัตราการเกิด ปฏิกริยาเคมี มี 2 แบบ ิ 1. การคำานวณหาอัตราการเปลียนแปลง ่ ปริมาณสารในปฏิกริยา ิ 2. การคำานวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา เคมี
  • 29. ตาราง 6.1 แสดงความเข้มข้นของสารตั้งต้นและ ผลิตภัณฑ์ ณ เวลาต่าง ๆ ที่ อุณหภูมิ 55๐C ของปฏิกิริยา 2N2O5(g) 4NO2(g)ความเข้มข้น(mol/dm3) + O2(g) เวลา(s) N2O5 NO2 O2 0 0.0200 0.0000 0.0000 100 0.0169 0.0063 0.0016 200 0.0142 0.0115 0.0029 300 0.0120 0.0160 0.0040 400 0.0101 0.0197 0.0049 500 0.0086 0.0229 0.0057 600 0.0072 0.0256 0.0064
  • 30. จากตารางจงตอบคำาถามต่อไปนี้  ในช่วงเวลา 0-100 และ 500-600 วินาที อัตราการสลายตัวของแก๊ส N2O5 มีคาเท่าใด และสรุปได้วา ่ ่ อย่างไร  ในช่วงเวลา 0-100 และ 500-600 วินาที อัตราการเกิดของแก๊ส NO2 มี ค่าเท่าใด และสรุปได้ว่าอย่างไร
  • 31. ตาราง 6.2 แสดงอัตราการสลายตัวของ แก๊ส N2O5 และอัตราการเกิดแก๊ส NO2 และ O2 ในช่[N2O5] าง ๆ[NO2] วงเวลาต่ [O2] ช่วงเวลา t t t (s) (mol/dm3 (mol/dm3 (mol/dm3 .s) - .s) - .s) - 0-100 3.1 x 10 6.3 x 10 1.6 x 10 5 5 5 100-200 200-300 2.7 x 10- 5.2 x 10- 1.3 x 10- 5 5 5 300-400 400-500 2.2 x 10- 4.5 x 10- 1.1 x 10- 5 5 5 500-600 - - -
  • 32. จากตารางจงตอบคำาถามต่อไปนี้  ในช่วงเวลาทีเท่ากัน ่ อัตราการสลาย ตัวของแก๊ส N2O5 NO2 กับ O2 เท่ากัน หรือไม่ อย่างไร
  • 33. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี แบ่ง ได้ 2 ชนิด คือ  อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเฉลีย ่ หมายถึง ปริมาณสารตังต้นทีลดลง ้ ่ หรือ ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ทเพิมขึ้น ี่ ่ ตังแต่เริ่มต้นปฏิกิริยาจนสินสุด ้ ้ ปฏิกริยา หรือสินสุดการทดลองใน ิ ้
  • 34. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี  อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย า ณ ขณะ ใดขณะหนึ่ง : อัตราการเกิดปฏิกิริยา แบบนี้ ทีเวลาต่างกันจะมีคาไม่เท่ากัน ่ ่ คือตอนเริ่มปฏิกิริยาอัตราการเกิด ปฏิกริยาจะเร็ว เมื่อดำาเนินต่อไปอัตรา ิ การเกิดปฏิกิริยาจะช้าลงตามลำาดับ เพราะความเข้มข้นของสารตังต้นลด้ ลง
  • 35. จากข้อมูลในตาราง 6.1 เมือนำา ่ เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความเข้มข้นของสารกับเวลา จะได้ ดังรูป 6.2
  • 37. การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาทีจุดใดจุด ่ หนึ่งทำาได้โดยลากเส้นสัมผัสผ่านจุดที่ ต้องการ เช่น ถ้าต้องการหาอัตราการเกิด แก๊ส NO2 ณ วินาทีที่ 450
  • 39.  อัตราการเกิดแก๊ส NO2 วินาทีที่ 450 450 = ∆ [NO2] ∆t = 0.0087 mol/dm3 250 s = 0.000035 mol/dm3*s-1
  • 40. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี ตัวอย่างการเขียนสัญลักษณ์แสดงอัตรา การเกิดปฏิกิริยา จากสมการ aA + bB cC + dD r = - [A] = - [B] = + [C] = + [D] a t b t c t
  • 41. จงตอบคำาถามต่อไปนี้ Ex กำาหนดสมการของปฏิกิริยา ดังนี้ 2KMnO4 + 16HCl 2KCl + 2MnCl2 + 8H2O + 5Cl2 จงเขียนความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการ เกิดปฏิกิริยากับอัตราการลดลงของสารตั้ง ต้น และอัตราการเกิดสารผลิตภัณฑ์
  • 42. Ex เชื้อเพลิงสะอาดชนิดหนึ่งที่สามารถใช้ ในเครื่องยนต์ในอนาคตคือ 2H2(g) + O2(g) 2H2O(g) ก. จงเขียนความสัมพันธ์แสดงการ เปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของ H2 O2 และ H2O กับเวลา ข. เมื่อความเข้มข้นของ O2 มีอัตราการลด ลงเป็น 0.23 mol/dm3.s อัตราการเพิ่ม
  • 43. Ex กำาหนดสมการของปฏิกิริยา ดังนี้ Fe + 2HCl FeCl2 +H2 จากการทดลอง ถ้าใช้เวลา 20 วินาที ใช้ Fe หมดไป 5.6 g จงคำานวณ ก. อัตราการลดลงของ Fe และอัตราการ เกิดก๊าซ H2 ที่มหน่วยเป็น โมล/วินาที ี ข. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย (มวล อะตอมของ Fe = 56)
  • 44. แบบฝึกหัด 6.1  สาร A ทำาปฏิกิริยากับสาร B ได้สาร C เมื่อวัดความเข้มข้นของสาร A ขณะเกิด ปฏิกิริยาได้ผลดังนี้ มข้นของ A เวลา (s) ความเข้ 0 (mol/dm3) 1.0000 20 0.818 40 0.669 60 0.548 80 0.448 100 0.367
  • 45. อัตราการเกิดปฏิกิริยาระหว่างเวลา 0-20 วินาที 40-60 วินาที และ 80-100 วินาที เท่ากันหรือไม่ อย่างไร และ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยมีค่าเท่าใด  แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ได้รับความ ร้อนจะเกิดการสลายตัวดังสมการ 2NO2 (g) 2NO(g) + O2 (g) เมื่อเริ่มต้นปฏิกิริยามี NO2 0.1103 mol/dm3 หลังจากเกิด ปฏิกิริยาแล้ว 60 วินาที มี NO2 เหลืออยู่ 0.1076
  • 46. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี แนวคิด เกี่ย วกับ การเกิด ปฏิก ิร ิย า เคมี  ทฤษฎีก ารชน (Collision Theory) กล่าวว่า “ปฏิกิริยาเคมีเกิด ขึ้นได้เมืออนุภาคของสารเข้าทำา ่ ปฏิกริยากันจะต้องมีการชนกันเสีย ิ ก่อน” และการชนกันจะต้องมีลักษณะ
  • 47. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี 1. อนุภาคของสารตั้งต้นต้องมีการชน กัน 2. อนุภาคทีชนกันจะต้องมีพลังงานสูง ่ พอ คือสูงพอทีจะทำาลายพันธะเดิม ่ แล้วสร้างพันธะใหม่ หรือเท่ากับหรือ มากกว่าพลังงานก่อกัมมันต์ 3. ต้องชนในทิศทางทีเหมาะสม ่
  • 48. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี พลัง งานกระตุ้น (Activition Energy หรือ Ea) หมายถึง พลังงานจำานวนน้อยทีสดทีทำาให้อนุภาค ่ ุ ่ ของสารตังต้นชน ้ กันแล้ว จะทำาให้เกิดปฏิกิริยาได้ พลังงานกระตุ้นเป็นสมบัตเฉพาะตัวของ ิ แต่ละปฏิกริยา ิ
  • 49. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี พลังงาน พลังงาน Ea การดำาเนินไปของปฏิกิริยา
  • 50. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี พลัง งานและการดำา เนิน ไปของ ปฏิก ิร ิย า 1. ปฏิกิริยาดูดพลังงานหรือปฏิกิริยา ดูดความร้อน คือปฏิกิริยาที่มการ ี ถ่ายเทพลังงานจากสิงแวดล้อมเข้าสู่ ่ ระบบ ดังนันสารผลิตภัณฑ์จะมี ้ พลังงานสูงกว่า พลังงานของสาร
  • 51. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี พลังงานศักย์ สารเชิงซ้อนที่ ถูกกระตุ้น Ea Z H X+Y การดำาเนินไปของปฏิกิริยา
  • 52. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี 2. ปฏิกิริยาคายพลังงานหรือปฏิกิริยา คายความร้อน คือปฏิกิริยาทีมการ ่ ี ถ่ายเทพลังงานจากระบบไปสูสง ่ ิ่ แวดล้อม ดังนั้นสารตังต้นจะมี ้ พลังงานสูงกว่าสารผลิตภัณฑ์
  • 53. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี สารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น Ea A+B H การดำาเนินไปของปฏิกิริยา
  • 54. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าจะเร็ว หรือ ช้า ขึ้นอยู่กบ ั 1. จำานวนความถี่ของการชนกันของ อนุภาคของสารตั้งต้น ซึ่งอัตราการ เกิดปฏิกิริยาจะแปรผันตามจำานวนครั้ง ของการชนกัน (ยิ่งชนกันมากชนกัน บ่อยอัตราการเกิดปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้
  • 55. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี 2. จำานวนโมเลกุล ต้องมีพลังงาน มากกว่าหรือเท่ากับ Ea อัตราการ เกิดปฏิกริยาเคมี จะแปรผันตาม ิ จำานวนโมเลกุลที่มพลังงาน ี 3. ค่าของพลังงานกระตุน อัตรา ้ การเกิดปฏิกริยาเคมี ิ จะแปรผัน ตาม 1
  • 56. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี En En เร็ว Pro ช้า Pro Re Re 1 2
  • 57. แนวคิดเกี่ยวกับสารเชิงซ้อนกัมมันต์  แนวคิดนี้อธิบายว่า เมื่อสารเข้าทำา ปฏิกริยากันจะมีสารใหม่เกิดขึ้นเป็น ิ ผลิตภัณฑ์ และในระหว่างที่สารตังต้น ้ เปลียนเป็นผลิตภัณฑ์นั้น จะมีส าร ่ เชิง ซ้อ นกัม มัน ต์เกิดขึ้นก่อนเพียงชั่ว ขณะหนึง แล้วสารเชิงซ้อนกัมมันต์ก็ ่ สลายเป็นผลิตภัณฑ์ต่อไป
  • 58. สารเชิงซ้อนกัมมันต์อยู่ในสภาวะทีไม่ ่ เสถียรเพราะมีพลังงานสูงมาก สภาวะ ดังกล่าวนีเรียกว่า สภาวะแทรนซิชน ้ ั จึงอาจกล่าวได้ว่าพลังงานของสภา วะแทรนซิชนจะมีคาประมาณพลังงา ั ่ นก่อกัมมันต์นนเอง เพราะการที่ ั่ ปฏิกริยาเคมีจะเกิดขึ้นได้ อนุภาคของ ิ สารที่ชนกันจะต้องมีพลังงานอย่าง
  • 59. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี กลไกของปฏิก ิร ิย า (Reaction Mechanism)  กลไกของปฏิก ิร ิย า หมายถึง ขั้น ตอนของปฏิกิริยาซึ่งปฏิกริยาหนึงๆ ิ ่ อาจจะเกิดเพียงขั้นตอนเดียว หรืออาจ จะเกิดหลายขั้นตอน ในกรณีหลายขั้น ตอน แต่ละขั้นตอนจะเกิดช้าเร็วไม่เท่า กัน เพราะมีพลังงานกระตุนต่างกัน ขั้น ้
  • 60. ปฏิกิริยาเคมีที่มขั้นตอนเดียว แสดงว่า ี กลไกของปฏิกริยาจะมี ิ Ea ได้ค่าเดียว เร็ว Pro ช้า Pro Re Re 1 2
  • 61. ปฏิกิริยาเคมีที่มหลายขั้นตอน แสดงว่า ี กลไกของปฏิกริยาจะมี ิ Ea ได้หลายค่า ให้เลือกเฉพาะค่า Ea ที่ ขั้นที่ 2 มากทีสดเป็นขั้นตอน ่ ุ กำาหนดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 1 Ea3 Ea2 C Ea1 D E2 A ∆E=(E2-E1)>0 E1 B
  • 62.  ปฏิกริยามี ิ 3 ขั้นตอน โดย Ea2 > Ea1 > Ea3 ขั้นที่ 1 เป็นปฏิกริยาคายความร้อน ิ (A B) ขั้นที่ 2 เป็นปฏิกริยาดูดความร้อน ิ (B C) ขั้นที่ 3 เป็นปฏิกริยาคายความร้อน ิ (C D)  ขั้นที่ 2 เป็นขั้นกำาหนดอัตราการเกิด
  • 63. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี กฎอัต ราและค่า คงที่ข องกฎอัต รา (Law of Mass Action.) กล่าวว่า “ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เป็น สัดส่วนโดยตรงกับผลคูณของความ เข้มข้นของสารตังต้น และความเข้ม ้ ข้นแต่ละค่ามีเลขยกกำาลัง ซึ่งแล้วแต่ ปฏิกริยาหนึงปฏิกิริยาใดโดยเฉพาะ ” ิ ่
  • 64. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี ตัวอย่าง A + B C + D v [A]n [B]m v = k [A]n [B]m v = อัตราการเกิดปฏิกิริยา [ ] = ความเข้มข้น K = ค่าคงทีของอัตราการเกิดปฏิกริยา ่ ิ ในปฏิกิริยาหนึ่ง ๆ ทีอณหภูมิทกำาหนด ่ ุ ี่ ให้
  • 65. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี ตัว อย่า งการคำา นวณ จากปฏิกิริยา 2A + 3B C +2D เมื่อวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา โดยมีความเข้มข้นของ A และ B ต่างๆ กัน ปรากฏผลดังนี้
  • 66. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี การทดลองที่ ความเข้ม ข้น (โมล / ลิต ร) อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี A B (โมล/ลิต ร-วิน าที) 1 0.1 1.1 1.50 x 10-6 2 0.2 0.75 1.40 x 10-6 3 0.4 1.1 5.98 x
  • 67. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี จงหา ก. อันดับของปฏิกิริยา ทังปฏิกิริยา ้ ข. สมการของกฎอัตราของ ปฏิกิริยานี้ ค. ค่า K ของสมการใน ข้อ (ข)
  • 68. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี จากสมการ 2A +3B C + 2D v = K [A]m [B]n  การทดลองที่ 1. = 1.50 x 10-6 = K(0.1)m(1.1)n …..(1)  การทดลองที่ 2. = 1.40 x 10-6 = K(0.2)m(0.75)n ….(2)  การทดลองที่ 3. = 5.98 x 10-6 =
  • 69. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี  (3) / (1) 4 = (4)m ดัง นัน ้ m = 1  (4) / (3) 0.25 = (0.5)n ดังนั้น n = 2 นำาค่า m , n ไปแทนสมการ ไหนก็ได้ จะได้คา K = 1.24 x ่
  • 70. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี ก. อันดับของปฏิกิริยา = (m + n) = (1 + 2 ) = 3 ปฏิกิริยาอันดับที่ 3 ข. สมการกฎอัตรา r = K[A]m[B]2n
  • 71. กฎอัตราทีหาได้จะทดสอบว่าถูกหรือ ่ ผิด ด้วยการแทนค่า จากการทดลองต่าง ๆ ตังแต่ 2 การ ้ ทดลองขึ้นไป ในกฎ อัตรานั้นแล้วหาค่า K จะได้ค่าเท่ากัน แสดงว่ากฎอัตราทีหา ่ ได้ถูกต้อง แต่ถาแทนค่าจากการ ้ ทดลองต่าง ๆ ในกฎอัตรา
  • 72.  สำาหรับในกฎอัตราใดทีมีความเข้มข้น ่ ของสารตังต้นยกกำาลังศูนย์ ้ หมายความว่า การเปลียนความเข้ม ่ ข้นของสารตังต้น ไม่ว่าจะเพิ่มขึ้น ้ หรือลดลง ก็ไม่มผลต่ออัตราการเกิด ี ปฏิกริยาทังสิ้น ิ ้  จากกฎอัตราข้างต้น เรียกว่า
  • 74. การทดลอง 6.2 ความเข้มข้นของ สารกับอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี ิ จุดประสงค์การทดลอง 1. ทำาการทดลองเพือศึกษาผลของความ ่ เข้มข้นของสารต่ออัตราการเกิด ปฏิกริยาเคมีได้ ิ 2. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างความเข้มข้นของสารกับเวลา ในการเกิดปฏิกริยาและสามารถแปล ิ
  • 75. 3. สรุปผลของความเข้มข้นของสารตัง ้ ต้นทีมตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ ่ ี ่
  • 76. อุปกรณ์และสารเคมี สารเคมี  สารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต 0.3 mol/dm3  สารละลายกรดไฮโดรคลอริก 2 mol/dm3  สารละลายกรดไฮโดรคลอริก 0.3 mol/dm3
  • 77. อุปกรณ์  หลอดทดลองขนาดใหญ่  กระบอกตวงขนาด 10 cm3  นาฬิกาจับเวลาหรือนาฬิกาทีมเข็ม ่ ี วินาที  กระดาษสีขาว  กระดาษกราฟ
  • 78. สิ่งที่นักเรียนแต่ละกลุ่มต้องนำามา สำาหรับ การทดลอง 6.2 มี ดังนี้  นาฬิกาจับเวลาหรือนาฬิกาทีมเข็ม ่ ี วินาที  กระดาษทิชชู  กระดาษสีขาว 1 แผ่น  กระดาษกราฟ 1 แผ่น
  • 79. อภิปรายก่อนการทดลอง  ใช้หลอดทดลองทีแห้งและสะอาด ่  สังเกตการเปลียนแปลงและจับเวลา ่ อย่างละเอียด  ควบคุมตัวแปรให้เหมือนกันทุกครั้ง ตลอดการทดลอง เช่น การเท สารละลายผสมกันต้องเทให้เหมือนกัน ทุกครั้ง และถ้าเขย่าหลอด
  • 80.  ขณะทดลองจะมีแก๊ส SO2 เกิดขึ้นซึ่ง เป็นพิษ จึงควรหลีกเลียงการสูดดม ่  ไม่ควรเขียนเครื่องหมายกากบาทเบา หรือหนักเกินไป เพราะเบาเกินไปจะ สังเกตยาก ถ้าหนักเกินไปจะต้องใช้ เวลาในการสังเกตเพิมขึ้นหรืออาจยัง ่ มองเห็น กากบาทอยู่แม้วา ่
  • 81.  ให้เริ่มจับเวลาตังแต่เทสารละลายผสม ้ กันจนกระทั่งมองไม่เห็นเครื่องหมาย กากบาท  ถ้าปฏิกิริยาในหลอดใดเกิดเร็วมากจน จับเวลาไม่ทน ให้บันทึกว่าปฏิกิริยา ั เกิดเร็วมากหรือเกิดทันทีทนใด ั
  • 82. วิธีทำาการทดลอง (ตอนที่ 1) ใช้ HCl คงที่ 10 cm3 ทุกหลอด หลอ ปริมาตรของสารละลาย ปริมาตร ดที่ Na2S2O3 ของนำ้า (cm3) (cm3) 1 10 0 2 8 2 3 6 4 4 4 6
  • 83. วิธีทำาการทดลอง (ตอนที่ 2)ใช้ Na2S2O3 คงที่ 10 cm3ทุกหลอด หลอด ปริมาตรของสารละลาย ปริมาตร ที่ HCl ของนำ้า (cm3) (cm3) 1 10 0 2 8 2 3 6 4 4 4 6 5 2 8
  • 84. บันทึกผลการทดลอง (ตอนที่ 1) ปริมาตร ความเข้มข้น เวล หลอด ของ ปริมาตร ของ า ที่ สารละลาย ของนำ้า สารละลาย (s) Na2S2O3 (cm3) Na2S2O3 (cm3) (mol/dm3) 1 2 3
  • 85. ตอนที่ 2 ปริมาตร ความเข้ม เวล หลอ ของ ปริมาตร ข้นของ า ดที่ สารละลาย ของนำ้า สารละลาย (s) HCl (cm3) (cm3) HCl (mol/dm3 ) 1 2 3
  • 88. อภิปรายผลการทดลอง  จากการทดลองทัง ้ 2 ตอน เมื่อความ เข้มข้นของ สารละลาย โซเดียมไทโอซัลเฟตและสารละลายก รดไฮโดรคลอริกลดลง ระยะเวลาใน การเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น แสดงว่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาลดลงเมื่อความ เข้มข้นของสารละลายลดลง จึง สรุปได้ว่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้น
  • 89.  จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความเข้มข้นของสารละลายกับเวลาที่ ใช้ในการเกิดปฏิกริยาของการทดลอง ิ ทังสองตอน สรุปได้ว่าเมือความเข้ม ้ ่ ข้นของสารตังต้น ลดลงอัตราการเกิด ้ ปฏิกริยาจะลดลง ิ
  • 90. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี ปัจ จัย ที่ม ีผ ลต่อ ปฏิก ิร ิย าเคมี มี 5 ปัจจัย คือ  ธรรมชาติข องสารตั้ง ต้น : ถ้าสาร ตังต้นเป็นสารที่วองไวต่อปฏิกริยา ้ ่ ิ ปฏิกริยาจะเกิดเร็ว ถ้าสารตังต้นเฉือย ิ ้ ่ ต่อปฏิกิริยา ปฏิกิริยาจะเกิดช้า
  • 91.  พื้น ที่ผ ิว : สารตังต้นที่มพนทีผิวสัมผัส ้ ี ื้ ่ มากปฏิกริยาจะเกิดเร็ว เนืองจาก ิ ่ อนุภาคของสารมีโอกาสชนกันมากขึ้น การเพิ่มพื้นที่ผิวทำาได้โดยตีเป็นแผ่น แบน ๆ หรือบดให้เป็นผงละเอียด
  • 92.  ความเข้มข้นของสารตังต้น ้ : การเพิม่ ความเข้มข้นของสารตังต้น ทำาให้ ้ จำานวนอนุภาคของสารตังต้นในระบบ ้ เพิมขึ้น โอกาสทีอนุภาคของสารจะ ่ ่ ชนกันจึงมีมากขึ้น และอนุภาคทีมี ่ พลังงานสูงก็จะมีจำานวนมากขึ้นด้วย จึงมีผลทำาให้อัตราการเกิดปฏิกิริยา เคมีสงขึ้น ู
  • 93. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี  อุณหภูมิ : เมื่ออุณหภูมิสงขึ้นโมเลกุลที่ ู มีพลังงานสูงและเคลือนที่ดวยอัตราเร็ว ่ ้ สูงมีจำานวนเพิ่มขึ้น จึงมีโอกาสชนกัน ได้มากขึ้นและเมือชนกันแล้วทำาให้มี ่ จำานวนโมเลกุลทีมีพลังงานสูงเท่ากับ ่ หรือมากกว่าพลังงานก่อกัมมันต์มมาก ี ขึ้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาจึงมีค่าสูง ขึ้น ดังกราฟ
  • 94. จำานวนโมเลกุลของแก๊ส T E T2 > T 1 1 T2 บริเวณที่แสดงถึงจำานวนโมเลกุล ทีชนกันแล้วมีโอกาสเกิดปฏิกิริยา ่ พลังงานจลน์
  • 95. จากรูปทีอุณหภูมิ T2 มีจำานวน ่ อนุภาค (โมเลกุล) ทีมีพลังงานสูงพอ ่ (สูงกว่า Ea) มากกว่าทีอุณหภูมิ T1 ่ ดังนั้นทีอุณหภูมิ T2 % การชน ่ ของอนุภาค (โมเลกุล) ทีเป็นผล่ สำาเร็จ (เกิดปฏิกิริยาได้) มีมากกว่าที่ อุณหภูมิ T1
  • 96. การอธิบ ายผลของตัว คะตะไลส์ต ่อ อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย า มี ดัง พลัง้งาน นี (E) กราฟทีไม่มตัวเร่ง ่ ี กราฟที่มตัวเร่งปฏิกริยา ี ิ Ea Ea A+B H การดำาเนินไปของปฏิกิริยา
  • 97. อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย าเคมี จากกราฟนีจะสรุปได้วา ้ ่ 1. ปฏิกิริยาเคมีที่มการเติมตัวเร่งลงไป ี มีผลทำาให้พลังงานกระตุนลดลง้ 2. พลังงานที่ลดลงเมื่อมีการเติมตัวเร่ง ปฏิกริยาลงไป มีคาเท่ากับพลังงาน ิ ่ กระตุนทีไม่มีตวเร่ง ลบด้วย พลังงาน ้ ่ ั กระตุนทีมตัวเร่ง ้ ่ ี 3. พลังงานของปฏิกริยาไม่เกียวข้องกับ ิ ่
  • 98. สมบัติของตัวเร่งปฏิกิริยา  เมือเติมตัวเร่งปฏิกิริยาเข้าไปแล้ว ่ จน ทำาให้ปฏิกิริยาดำาเนินไปจนเสร็จ สมบูรณ์ จะได้ตวเร่งปฏิกิริยาตัวเดิม ั กลับมา โดยทีตัวเร่งไม่ได้เข้าทำา ่ ปฏิกริยากับสารตั้งต้นด้วยเลย ิ  ตัวหน่วงปฏิกิริยา คือ ตัวที่เติมลงไป ในปฏิกิริยาแล้วทำาให้ปฏิกิริยาเกิดได้