SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  23
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 1 
บทนา 
1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 
โคมไฟ เป็นอุปกรณ์ใช้สาหรับอ่านหนังสือ แต่ปัจจุบันคนไทยนิยมบางคนนาโคมไฟ 
มาเป็นเฟอร์นิเจอร์ตกแต่งบ้านซึ่งโคมไฟจะมีรูปที่แต่งต่างกันออกไปตามแต่วัสดุที่นามาประดิษฐ์ การผลิต โคมไฟสามารถใช้วัสดุได้หลายชนิด เช่น พลาสติก เหล็ก หรืออะลูมิเนียม ซึ่งมักจะมี ราคาแพง แต่ความเป็น จริงแล้วโคมไฟสามารถผลิตจากวัสดุอย่างอื่นได้ ไม่ว่าจะเป็น กะลามะพร้าว ไม้หรือส่วนประกอบของต้นไม้ เช่น รากไม้ กิ่งไม้ เป็นต้น ซึ่งเมล็ดมะค่า เป็นวัสดุธรรมชาติอีกชนิดหนึ่งที่น่าจะนามาประดิษฐ์เป็นโคมไฟได้ ซึ่งถ้าปล่อยให้หล่นทิ้งไปก็พุพังกลายเป็นเศษไม้เศษดินที่ไม่มีค่า 
ยุงเป็นพาหะนาโรคต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก มาลาเรีย เท้าช้าง ฯลฯ ซึ่งยุงก้นปล่อง 
เป็นพาหะนาโรค มาลาเรีย ในประเทศไทยเท่าที่พบในปัจจุบันมียุงก้นปล่องอย่างน้อย 73 ชนิด แต่มีเพียง 
3 ชนิดที่เป็นพาหะสาคัญ สังเกตยุงชนิดนี้ได้ง่ายเวลามันเกาะพัก จะยกก้นชี้เป็นปล่อง โคมไฟดักยุงจึงเป็น 
สิ่งประดิษฐ์ที่สามารถกาจัดและลดปริมาณของยุง โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพของสิ่งแวดล้อม 
จากเหตุผลดังกล่าว ผู้จัดทาโครงงานจึงคิดประดิษฐ์โคมไฟดักยุงจากเมล็ดมะค่าขึ้นมา 
เพื่อไว้ใช้เองภายในบ้านและเป็นการน้อมนาแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ 
พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาใช้ในชีวิตประจาวัน 
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 
1. เพื่อนาวัสดุเหลือธรรมชาติมาประดิษฐ์เป็นโคมไฟ 
2. พัฒนาโคมไฟจากเมล็ดมะค่าให้สามารถดักยุงได้ 
3. ทดสอบประสิทธิภาพของโคมไฟดักยุง 
1.3 ขอบเขตของโครงงาน 
1. ใช้เมล็ดมะค่า แผ่นซีดี ขวดพลาสติกประดิษฐ์โคมไฟดักยุง 
2. ใช้ยีสต์ผสมน้าตาลและน้าเป็นตัวล่อแมลงและยุง เท่านั้น 
3. ทาการทดลองในโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม และที่บ้านของผู้ทาโครงงาน 
1.4 สมมติฐานของการทดลอง 
ถ้าโคมไฟที่ประดิษฐ์ขึ้นสามารถดักยุงได้ ดังนั้นเมื่อนาโคมไฟที่ประดิษฐ์ขึ้นไปดักยุงจะต้องมียุง ตกอยู่ภายในโคมไฟดักยุงนั้น 
1.5 การกาหนดตัวแปร 
ตัวแปรต้น คือ โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง 
ตัวแปรตาม คือ จานวนยุงที่ติดภายในโคมไฟ 
ตัวแปรควบคุม คือ ขนาดและชนิดของหลอดไฟ ขนาดของขวดพลาสติก ปริมาณยีสต์ 
และน้าตาล
2 
1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ 
โคมไฟดักยุง หมายถึง โคมไฟที่ประดิษฐ์จากเมล็ดมะค่า ภายในมีขวดพลาสติก 
บรรจุสารล่อยุง 
เมล็ดมะค่า หมายถึง เมล็ดพืชชนิดหนึ่งที่ได้มาจากฝักหรือผลของต้นมะค่า 
1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 
1. ได้โคมไฟเมล็ดมะค่าที่ใช้ดักยุงได้ 
2. ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อโคมไฟและอุปกรณ์ดักยุง 
3. นักเรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 
4. นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพสุจริต
3 
บทที่ 2 
เอกสารที่เกี่ยวข้อง 
ประวัติของโคมไฟ 
นับแต่สมัยโบราณ ยามค่าคืน ไม่มีแสงสว่างจากไฟฟ้า มีเพียงแต่แสงดาว แสงจันทร์ และคบเพลิง ซึ่งจากคบเพลิงไม้ ก็ได้นาไปสู่โคมไฟ เพื่อใช้เป็นแสงสว่างยามค่าคืน โคมไฟถูกสร้างขึ้น น่าจะรับอิทธิพลมา จากประเทศจีน ซึ่งปัจจุบันโคมไฟที่ได้รับความนิยม อันดับต้นๆ เลยก็คือ โคมไฟไม้สัก ซึ่งมีความสวยงาม คงทน แข็งแรง แต่มีความคลาสสิกในตัวของโคมเอง 
ลักษณะของดวงโคม 
1. ดวงโคมไฟเพดานเป็นดวงโคมไฟที่ติดเหนือศีรษะ บริเวณฝ้าเพดาน หรือห้องลงมาจากเพดาน เช่น โคมไฟห้อยเพดานหรือไฟช่อระย้า ที่มีรูปแบบต่าง ๆ ให้เลือกมากมาย ทั้งที่ทาจากแก้ว พลาสติก โลหะ หรือเซรามิค มีทั้งแบบโคมไฟธรรมดา ราคาไม่แพงไปจนถึงโคมไหแชนเดอเลียร์ ที่ประกอบไปด้วยหลอดไฟ เล็ก ๆ มากมาย สวยงาม ให้แสงสว่างและความร้อนมาก กินไฟมาก ราคาแพง ไฟติดเพดาน มีทั้งแบบดวง โคมที่ยึดติดกับฝ้าเพดาน ประกบอไปด้วยที่ครอบ หรือโป๊ะทาจากแก้ว หรือพลาสติกคลุมหลอดไฟเพื่อช่วย ในการกระจายแสง เช่น โคมไฟโป๊ะกลมสาหรับหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ หรือโคมไฟซาลาเปาสาหรับหลอด ไส้ เป็นต้น และแบบที่ติดตั้งโดยเจาะฝ้า เพดานฝังซ่อนดวงโคมไว้ภายใน ที่เราเรียกกันว่า ไฟดาวน์ไลท์ (Down light) ซึ่งให้แสงสว่างได้ดี สามารถเลือกใช้ชนิดของหลอดไห ลักษณะของแสงที่ส่องลงมา และทิศ ทางการส่องของสาแสงได้หลายแบบเป็นได้ทั้งไฟพื้นฐานและไฟสร้างบรรยากาศ 
2. ดวงโคมไฟผนังเป็นชนิดที่ใช้ยึดติดกับผนัง มีให้เลือกหลากหลายรูปแบบเช่นกัน การกระจายแสง ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับลักษณะของโป๊ะ มีทั้งแบบให้แสงส่องออกมาตรง ๆ หรือแบบสะท้อนเข้าผนังเพื่อสร้าง บรรยากาศให้กับห้อง เป็นต้น 
3. ดวงโคมไฟตั้งพื้น ตั้งโต๊ะ เป็นดวงโคมไฟแบบลอยตัวที่ช่วยในการให้แสงสว่างตามจุดต่าง ๆ เป็น พิเศษ เช่น ในบริเวณที่นั่งอ่านหนังสือโต๊ะทางาน หรือโต๊ะหัวเตียง และยังใช้เป็นของประกอบการตกแต่งใน ห้องชุดร่วมกับชุดเฟอร์นิเจอร์อื่น ๆ อีกด้วย เช่น ชุดรับแขก ชุดทานอาหาร เป็นต้น มีรูปแบบและวัสดุให้ เลือกมากมายหลายหลายราคา 
4. ลักษณ์โคมไฟจากเมล็ดมะค่า มีลักษณะเดียวกับโคมไฟตั้งพื้น ตั้งโต๊ะแต่สามารถออกแบบ 
ได้หลายแบบ สีสันสามารถทาไดหลายสีแต่ที่นิยมคือสีเนื้อไม้ 
วิธีประดิษฐ์โคมไฟ 
1. เลือกรูปปราสาท 2-3 รูป และรูปท้องฟ้ากลางคืนแบบพาโนรามา 2 แผ่น ขนาด A4 แนวนอน 
2. ใช้คัตเตอร์กรีดรอบรูปร่างปราสาท ส่วนรูปท้องฟ้าให้ติดเข้าด้วยกันให้ความยาวพอดีกับวงกลม รอบฝากล่องซีดี 
3. ทาบรูปปราสาทกับรูปท้องฟ้า ร่างเส้นบางๆ แล้วใช้เข็มกลัดเจาะท้องฟ้าให้เป็นรูเหมือนแสงดาว ส่วนที่ใกล้กับเส้นปราสาทให้เจาะถี่เป็นพิเศษ 
4. ตัดกระดาษลังเป็นสี่เหลี่ยมเล็ก ติดกับด้านหลังของรูปปราสาทด้วยกระดาษกาวสองหน้า หลอดไฟ 
5. ประกอบขั้วหลอดไฟ หลอดไฟ และปลั๊กไฟเข้าด้วยกัน วิธีการต่อคือต่อขั้วบวกกับขั้วบวกและขั้ว ลบกับขั้วลบ 
6. เจาะช่องเล็กๆ ด้านล่างฝากล่องซีดีสาหรับสอดสายไฟ
4 
7. ใช้ปืนกาวหรือกาวตราช้างติดขั้วหลอดไฟที่กลางฝากล่องซีดีฐานโคมไฟ 
8. ติดกระดาษกาวสองหน้ารอบฝากล่องซีดี จากนั้นติดรูปท้องฟ้ารอบฝาให้เรียบ (ขั้นตอนนี้ต้อง ช่วยกันทา ไม่งั้นเอียงแน่ๆ) 
9. ติดปราสาทที่ด้านล่างของโคมไฟ กระดาษลังที่ติดไว้ช่วยให้รูปมีมิติ ยิ่งอยากให้มีมิติมากก็ต้องติด กระดาษซ้อนๆ กัน แล้วเสริมด้วยกระดาษลัง 
10. ตกแต่งเรียบร้อยแล้วก็ทาการเสียบหลอดไฟ ก็จะได้ปราสาทสวยๆ ไฟสีสวยๆ ไว้กล่อมนอน 
ลักษณะของเมล็ดมะค่า 
มะค่าเป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ผลัดใบ มีความสูงระหว่าง 15-20 เมตร แตกกิ่งต่าเรือนยอดเป็นพุ่ม แผ่กว้าง ตามลาต้นมักเป็นครีบและมักจะมีปุ่มปมตั้งแต่ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ เข้าใจว่าปุ่มนี้เกิดจาก เซลล์มะเร็งที่ทาให้เกิดการพัฒนาผิดไป เปลือกสีน้าตาลอ่อนหรือชมพูอมน้าตาม หรือสีเทา มีรูระบายอากาศ กระจัดกระจาย กระพี้สีขาว หรือขาวอมเหลือง กิ่งอ่อนมีขนคลุมบาง ๆ 
ใบ เป็นช่อเรียงสลับกัน ช่อใบยาว 18-29 ซม. ก้านช่อใบค่อนข้างสั้น ยาวประมาณ 2 ซม. 
บนแกนช่อใบมีใบย่อยขึ้นตรงข้ามกันเป็นคู่ ๆ 3-5 คู่ ใบย่อยรูปไข่แกมรูปขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม. 
ยาว 4-9 ซม. ก้านใบย่อยยาว 3-5 มม. ปลายใบมน มักจะเว้าตื้น ๆ ตรงกลาง โคนใบมนหรือหยักเว้าเข้า เล็กน้อย ใบคู่ล่างจะมีขนาดเล็กกว่าคู่ที่ถัดขึ้นไป ขอบใบเรียบ 
ดอก สีเขียวอ่อน แต้มสีแดงเรื่อ ๆ ออกเป็นช่อแตกแขนงที่ปลายกิ่ง ยาว 5-15 ซม. มีขนคลุม 
บาง ๆ ก้านดอกย่อยยาว 7-10 มม. ใบประดับรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 6-9 มม. มีขนประปราย 
กลีบรองกลีบดอกติดกัน ส่วนบนแยกเป็นกลีบรูปขอบขนาน 4 กลีบ แต่ละกลีบซ้อนทับกัน 
กลีบยาวประมาณ 10-12 มม. กลีบดอกมีเพียงกลีบบนสุดเพียงกลีบเดียวที่เจริญขึ้นเป็นกลีบดอก 
สีแดงเรื่อ ๆ หรือแดงอมชมพู ทรงเกือบจะเป็นแผ่นกลม ยาวประมาณ 7-9 มม. ส่วนฐานคอดเข้าหากันเป็น ก้านกลีบดอก ยาว 5-12 มม. เกสรผู้ที่สมบูรณ์มี 8-(3) อัน ก้านเกสรแยกจากกันเป็นอิสระหรือติดกัน เล็กน้อยที่ฐาน เกสรผู้ปลอม 3 อัน ค่อนข้างสั้น 
รังไข่ ยาวประมาณ 7 มม. มีขนคลุมติดอยู่บนก้านส่งยาวประมาณ 7 มม. ภายในมีช่องเดียว 
และมีไข่อ่อนมาก ออกดอกระหว่างเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ฝักแก่ประมาณเดือนมิถุนายน-สิงหาคม 
ผล เป็นฝักแบนรูปบรรทัดสั้น กว้าง 7-10 มม. ยาว 12-20 ซม. เปลือกหุ้มฝักแข็งมาก 
หนาประมาณ 5-7 มม. เมื่อฝักแก่จะแตกออกเป็น 2 ซีก กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 2.5-4 ซม. หนา 0.8-1.2 ซม. เมล็ดแก่สีดา มีเยื่อหนารูปถ้วย ยาวประมาณ 1.5 ซม. สีเหลืองสด ห่อหุ้มส่วนฐานของเมล็ด กลุ่มสมุนไพร เรียกผลของมะค่าโมงว่า “ฟันฤาษี” ใช้เป็นยาสมุนไพร 
ลักษณะเนื้อไม้ แก่นสีน้าตาลอมเหลืองอ่อนถึงเหลืองแก่ เสี้ยนค่อนข้างสน เนื้อหยาบมีริ้วแทรก แข็ง เหนียว แข็งแรง และทนทาน เลื่อยค่อนข้างยาก ถ้าแห้งแล้วตบแต่งง่าย ขัดและชักเงาได้ดี ความ ถ่วงจาเพาะประมาณ 0.85 
คุณสมบัติ เนื้อไม้มีความแข็งประมาณ 807 กก. ความแข็งแรงประมาณ 1,229 กก./ตร./ซม. ความดื้อประมาณ 101,700 กก./ตร.ซม. ความเหนียวประมาณ 3.8 กก.-ม. การผึ่งและอบ ผึ่งให้แห้งด้วย กระแสอากาศยาก ต้องใช้เวลานาน อบให้แห้งยากปานกลาง ความทนทานตามธรรมชาติตั้งแต่ 6-19 ปี เฉลี่ยประมาณ 10.7 ปี การอาบน้ายาไม้ อาบน้ายาได้ง่าย
5 
การขยายพันธุ์ การขยายพันธุ์ที่นิยมและสะดวกที่สุด มักจะขยายพันธุ์จากเมล็ด ซึ่งได้จากฝักแก่ ที่ มีสีน้าตาลแก่เกือบดา ฝักเมื่อแก่จะแตกออก วิธีการเก็บเมล็ดมาเพาะกล้า เก็บฝักโดยการเป็นต้นแล้วลิดกิ่งที่ มีฝักแก่แล้วนามาตากแดด ช่วงเวลาเก็บเมล็ด มกราคม-มีนาคม 
วิธีปฏิบัติต่อเมล็ด เมล็ดมะค่าโมงมีเปลือกหุ้มเมล็ดที่แข็งมาก จึงควรสับเปลือกเมล็ดตรงส่วนหัว 
ให้เห็นเนื้อด้านในเล็กน้อย แล้วจึงนาไปแช่น้า 1 คืน จากนั้นจึงนาไปหว่านลงในแปลงเพาะชาซึ่งเป็น 
ดินปนทราย หรือเพาะลงในถุงพลาสติกซึ่งบรรจุดินในอัตราส่วน 1:1 โดยหว่านเมล็ดให้ห่างกันประมาณ 
2-3 ซม. เสร็จแล้วโรยทรายละเอียดกลบเมล็ด โดยให้มีความหนาประมาณ 0.5-1.00 ซม. การให้น้าในแปลง เพาะนั้นในระยะแรกควรให้น้าวันละ 2 ครั้ง (เช้า-เย็น) และควรผสมยาป้องกันเชื้อราด้วย อัตราการงอก ประมาณ 95-100% จากนั้นประมาณ 7-10 วัน เมล็ดก็จะงอก ทาการย้ายชาลงถุงพลาสติก นากล้าไม้ไป เลี้ยงไว้ในเรือนเพาะชาพรางแสงประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ เป็นระยะเวลา 3-4 เดือน ก่อนทาการย้ายปลูก ก่อนการปลูกจาเป็นต้องทาให้กล้าไม้แข็งแรงแกร่งเสียก่อน อย่างน้อย 1-2 สัปดาห์ 
การใช้ประโยชน์ เนื้อไม้ ใช้ทาเสา ทาไม้หมอนรองรางรถไฟ ใช้ในการก่อสร้างต่าง ๆ ทาเป็นพื้น รอด ตรง และเครื่องบนได้ทนทานและแข็งแรงดี ทาเครื่องเรือนและไม้บุผนังที่สวยงาม ทาเรือใบเดินทะเล และไม้พื้นเรือ ทาไถ คราด ครก สาก กระเดื่อง ลูกหีบ ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเกวียน และตัวถังรถ ใช้ สาหรับกลึง แกะสลัก ทาพานท้ายและรางปืน กลอง โทน รามะนา ด้ามปากกา ปุ่มไม้มะค่ามีลวดลาย สวยงามดีและราคาแพง ใช้ทาเครื่องเรือนและเครื่องใช้ชั้นสูง เฟอร์นิเจอร์ไม้มะค่าโมงได้รับความนิยมสูง 
เปลือก ให้น้าฝาดชนิด Pyrogalool และ Catechol 
เมล็ด เนื้อในเมล็ดอ่อนใช้รับประทานเป็นอาหารได้ 
ลักษณะเมล็ดมะค่า
6 
ลักษณะภายในฝักมะค่า 
ลักษณะของยีสต์ 
ยีสต์ หรือ ส่าเหล้า (อังกฤษ: yeast) คือ รากลุ่มหนึ่งที่ส่วนใหญ่เป็นเซลล์เดี่ยว มีรูปร่างหลายแบบ เช่น รูปร่างกลม รี สามเหลี่ยม รูปร่างแบบมะนาว ฝรั่ง เป็นต้น ส่วนใหญ่มีการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ โดย วิธีการแตกหน่อ พบทั่วไปในธรรมชาติในดิน ในน้า ในส่วนต่างๆ ของพืช ยีสต์บางชนิดพบอยู่กับแมลง และ ในกระเพาะของสัตว์บางชนิด แต่แหล่งที่พบยีสต์อยู่บ่อยๆ คือแหล่งที่มีน้าตาลความเข้มข้นสูง เช่น น้าผลไม้ ที่มีรสหวาน ยีสต์ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ มักจะปนลงไปในอาหาร เป็นเหตุให้อาหารเน่าเสียได้ 
ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ที่รู้จักกันมาตั้งแต่สมัยโบราณถึงกับมีผู้กล่าวว่า ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ชนิดแรกที่ มนุษย์นามาใช้ รายงานแรกเกี่ยวกับการใช้ยีสต์ คือการผลิตเบียร์ชนิดหนึ่งที่เรียกว่า Heineken เมื่อ ประมาณ 6,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช คนไทยรู้จักใช้ประโยชน์จากยีสต์มาเป็นเวลานาน เช่นในการทาอาหาร หมักบางชนิด ได้แก่ ข้าวหมาก ปลาแจ่ว เครื่องดองของเมาหลายชนิดเช่น อุ สาโท และกระแช่ เป็นต้น ปัจจุบันมีการนายีสต์มาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมหลายประเภท เป็นต้นว่าการผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ชนิดต่างๆเช่น เบียร์ ไวน์ และวิสกี้ การผลิตเอทิลแอลกอฮอล์เพื่อใช้เป็นสารเคมี และเชื้อเพลิง การผลิต เซลล์ยีสต์ เพื่อใช้เป็นยีสต์ขนมปังและเป็นโปรตีนเซลล์เดียว 
ยีสต์ เมื่อผสมกับน้าหวานแล้ว จะคายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาในปริมาณเท่ากับ 
การหายใจออกของคนหนึ่งคน เท่ากับว่าจะมีคนเพิ่มขึ้นมาอีกหนึ่งคนนั่งหายใจออกตลอดเวลา 
เพื่อคอยดักยุงให้กับห้องของท่าน (ข้อมูลจากที่อ่านเจอในกระทู้พันทิพย์) 
การหาอาหารของยุง 
ยุงตัวเมียจะหาเหยื่อจากแก๊สคาบอนไดออกไซด์ (CO2 ) ที่คนเราหายใจออกมา ซึ่งแก๊สที่ออกมา จากปอดเรา คือ คาบอนไดออกไซด์ และยุงตัวเมียสามารถหาเหยื่อได้จากแก๊สนี้ ทาให้ยุงตัวเมียบินเข้าไป อยู่ในขวดได้
7 
โครงงานที่เกี่ยวข้อง 
วรุฑ พรหมราช และคณะ ประดิษฐ์โคมไฟไม้ไอติม มีวัตถุประสงค1. เพื่อกระตุนใหนักเรียน รูจักคิดคนควาและผลิตสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ขั้นพื้นฐาน 2. เพื่อใหเกิด ความรวมมือในการทางานและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ของสมาชิกในกลุม 3. เพื่อสงเสริมความคิดริเริ่มสร างสรรคความมีเหตุผลและใชทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรในการแกปญหา 4. ชวยลดปญหาขยะ ลนโลก อุปกรณที่ใช้ ไมไอติม กาว สายไฟ และเตาเสียบ หลอดไฟ พบว่า ไดโคมไฟที่สวยงามเอาไวใช ในการอานหนังสือหรือทาการบานไดชวยประหยัดคาใชจายในการที่จะตองไปซื้อโคมไฟราคาแพงมาใช และ เปนการใชเวลาวางใหเปนประโยชน์ 
ณัฐพล เรืองขา และคณะ ประดิษฐ์โคมไฟจากกะลามะพร้าว เพื่อความสะดวกสบายในการ ปิด-เปิด ซึ่งเป็นการสะดวกและรวดเร็วสาหรับคนที่อาศัยอยู่ในชุมชน โดยหาพันธุ์กะลามะพร้าวที่สวยและ เหมาะสมมาทาแล้วนามาประกอบเข้ากันก็เสร็จเรียบร้อย พบว่ากะลามะพร้าวสามารถประดิษฐ์เป็นโคมไฟ ที่สวยงามได้ 
ศิริวรรณ จันทร์เรือง และคณะ ประดิษฐ์โคมไฟจากขวดพลาสติก เพื่อใช้โปรแกรม Visual Basic 6.0 ในการเปิด-ปิดไฟ พบว่าสามารถประดิษฐ์โคมไฟจากขวดพลาสติกและนามาใช้ได้จริง
8 
บทที่ 3 
วัสดุอุปกรณ์และวิธีดาเนินการ 
วัสดุอุปกรณ์ 
1. เมล็ดมะค่า 
2. แผ่ซีดีที่ไม่ใช้แล้ว 
3. กระป๋องนม 
4. กาวแท่ง 
5. ปืนกาว 
6. ขวดพลาสติก 
7. หลอดไฟ 
8. เต้าเสียบ 
9. น้าตาล 
10. น้า 
11. ยีสต์ 
12. แลกเกอร์ 
13. สีน้ามัน 
วิธีทดลอง 
ตอนที่ 1 การประดิษฐ์โคมไฟเมล็ดมะค่า 
1. นาเมล็ดมะค่ามาล้างทาความสะอาด แล้วผึ่งให้แห้ง 
2. นาแผ่นซีดีที่ไม่ใช้แล้วมาตัดตามรูปทรงที่ต้องการแล้วยึดติดกันด้วยกาวเพื่อทาเป็นฐาน 
ของโคมไฟ 
3. นาเมล็ดมะค่ามาจัดเรียงรอบแผ่นซีดีเพื่อขึ้นรูปโคมไฟเมล็ดมะค่า 
4. จัดเรียงเมล็ดมะค่าเพื่อทาเป็นโคมไฟแบบสลับ เพื่อทาให้เกิดรูแสง 
5. ทาแลกเกอร์ เพื่อทาให้เมล็ดมะค่าเกิดความมันเงา 
6. นาหลอดไฟมาติดเข้ากับโคมเมล็ดมะค่า 
7. จะได้โคมไฟเมล็ดมะค่า 
8. นาขวดพลาสติกมาตัดปากขวดเพื่อใส่สารดักยุง 
9. จะได้โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง ดังภาพ
9 
ตอนที่ 2 การทดสอบประสิทธิภาพการดักยุงของโคมไฟ 
10. จากนั้นผสมน้าตาลกับน้าอุ่น แล้วนาไปผสมกับยีสต์ ใส่ไว้ในขวดพลาสติก แล้วนาไปติดตั้งไว้ ด้านใต้โคมไฟเมล็ดมะค่า 
11. นาโคมไฟเมล็ดมะค่าไปทดสอบประสิทธิภาพการดักยุงโดยทาการเปิดโคมไฟแล้วนาไปตั้งไว้ใน มุมบ้านที่มืด สวนหลังบ้าน และในบริเวณป่า เป็นเวลา 30 นาที ทาการทดลองซ้า 
จานวน 3 ครั้ง 
12. สังเกตภายในขวดพลาสติกว่ามียุงติดอยู่ข้างในขวดหรือไม่ 
13. นับจานวนยุง และบันทึกผล 
14. หาค่าเฉลี่ยของยุงที่ติดภายในขวด
10 
บทที่ 4 
ผลการทดลอง 
ตอนที่ 1 การประดิษฐ์โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง 
จะได้โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง ดังภาพ 
ภาพที่ 4.1 โครงร่างโคมไฟเมล็ดมะค่า 
ภาพที่ 4.2 โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง
11 
ตอนที่ 2 ทดสอบประสิทธิภาพของการดักยุงของโคมไฟเมล็ดมะค่า 
เมื่อประดิษฐ์โคมไฟเมล็ดมะค่า เสร็จเรียบร้อยแล้วนามาทดสอบประสิทธิภาพ 
ของการดักยุงได้ผลดังตาราง 
ตารางที่ 4.1 แสดงการดักยุงของโคมไฟ 
สถานที่ 
ครั้งที่ 
จานวนยุง (ตัว) 
ห้องมืด 
1 
3 
2 
5 
3 
3 
รวมเฉลี่ย 
3.67 
ห้องโล่งแจ้ง 
1 
2 
2 
1 
3 
1 
รวมเฉลี่ย 
1.33 
สวนหลังบ้าน 
1 
8 
2 
7 
3 
10 
รวมเฉลี่ย 
8.33 
จากผลการทดลอง เมื่อนาโคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง ไปวางไว้ในห้องมืด พบว่า ในห้องมืด สามารถดักยุงได้เฉลี่ย 3.67 ตัว ห้องโล่งแจ้ง สามารถดักยุงได้เฉลี่ย 1.33 ตัว และในสวนหลังบ้าน สามารถดักยุงได้เฉลี่ย 8.33 ตัว แสดงว่า โคมไฟเมล็ดมะค่าที่ประดิษฐ์ขึ้น นอกจากจะใช้ในการให้ 
ความสว่างในการมองเห็นแล้ว ยังสามารถใช้ดักยุงได้ด้วย เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
12 
บทที่ 5 
อภิปรายและสรุปผลการทดลอง 
อภิปรายผลการทดลอง 
จากผลการทดลอง พบว่า เมล็ดมะค่าสามารถนาใช้ในการประดิษฐ์โคมไฟได้อย่าง สวยงาม มีความแข็งแรง ทนทาน และเมื่อนาโคมไฟเมล็ดมะค่าไปวางไว้ในห้องมืด ห้องดล่งแจ้ง และสวน หลังบ้านเพื่อดักยุง พบว่า ในห้องมืด สามารถดักยุงได้เฉลี่ย 3.67 ตัว ห้องโล่งแจ้ง สามารถดักยุงได้ เฉลี่ย 3.67 ตัว และในสวนหลังบ้านสามารถดักยุงได้เฉลี่ย 8.33 ตัว แสดงว่า โคมไฟเมล็ดมะค่าที่ ประดิษฐ์ขึ้น นอกจากจะใช้ในการให้ความสว่างในการมองเห็นแล้ว ยังสามารถใช้ดัดยุงได้ด้วย เป็นไปตาม สมมติฐานที่ตั้งไว้ 
สรุปผลการทดลอง 
เมล็ดมะค่าสามารถนาใช้ในการประดิษฐ์โคมไฟได้อย่างสวยงาม มีความแข็งแรง ทนทาน และเมื่อนาโคมไฟเมล็ดมะค่าไปวางไว้ในห้องมืด ห้องโล่งแจ้ง และสวนหลังบ้านเพื่อดักยุง พบว่า โคมไฟ เมล็ดมะค่าที่ประดิษฐ์ขึ้น เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ใช้ในการให้ความสว่างในการมองเห็น และสามารถใช้ดักยุง 
ได้จริง เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
13 
บรรณานุกรม 
ชาตรี เกิดธรรม. เทคนิคการสอนโครงงานวิทยาศาสตร์. ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์. 
เอกสารอัดสาเนา, 2548. 
จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย.โรงเรียน.ตัวอย่างบทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์.ชลบุรี. 
เอกสารอัดสาเนา, 2552. 
ณัฐพล เรืองขา และคณะ (2555). การทาโคมไฟจากกะลามะพร้าว. เขาถึงไดจาก : 
http://aphiwatadam.blogspot.com/ (วันที่ คนหาขอมูล : 23 กันยายน 57) 
วรุฑ พรหมราช และคณะ. (2556).วิธีทาโคมไฟไมไอติม.เขาถึงไดจาก : 
http://64wooden.blogspot.com/2013/02/blog-post.html. 
(วันที่ คนหาขอมูล : 23 กันยายน 57) 
ศิริวรรณ จันทร์เรือง และคณะ. (2555). การทาโคมไฟจากขวดพลาสติก. เขาถึงไดจาก : 
https://sites.google.com/site/generaleducationlove/home/kickrrm-thi-2 
(วันที่คนหาขอมูล : 23 กันยายน 57) 
สุวิทย์ วรรณศรี. (2554). เทคนิคการทาโครงงานนักเรียน.คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.มหาวิทยาลัย 
ราชภัฏเพชรบูรณ์. เอกสารอัดสาเนา. 
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ 
คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. เอกสารอัดสาเนา 
ประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ตามแนวพระราชดาริ 
เศรษฐกิจพอเพียง,2555.
14 
ภาคผนวก
15 
ขั้นตอนการประดิษฐ์โคมไฟ 
1. 2. 
3. 4. 
5. 6. 
7. 8. 
15
16 
ขั้นตอนการทดสอบประสิทธิภาพในการดักยุง 
1. 2.
17 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ 
เรื่อง โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง 
โดย 
1. นางสาวรัตน์กมล แก้วริ้ว 
2. นางสาววีรญา มีไหม 
3. นางสาวกรรณิกา อินไข 
ครูที่ปรึกษา 
1. นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล 
2. นางรัชนู บัวพันธ์ 
โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 40 
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ 
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 
เนื่องในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 64 
วันที่ 9 – 10 ตุลาคม 2557
18 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง 
โดย 
1. นางสาวรัตน์กมล แก้วริ้ว 
2. นางสาววีรญา มีไหม 
3. นางสาวกรรณิกา อินไข 
ครูที่ปรึกษา 
1. นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล 
2. นางรัชนู บัวพันธ์ 
โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 40
19 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง 
โดย 
1. นางสาวรัตน์กมล แก้วริ้ว 
2. นางสาววีรญา มีไหม 
3. นางสาวกรรณิกา อินไข 
ครูที่ปรึกษา 
นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล 
นางรัชนู บัวพันธ์ 
โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม อาเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ 
บทคัดย่อ 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง เป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ 
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิธีการประดิษฐ์โคมไฟจากวัสดุธรรมชาติ นาวัสดุธรรมชาติ มาประยุกต์เพื่อให้เกิดประโยชน์และมีมูลค่าเพิ่มขึ้น และลดค่าใช้จ่ายในการซื้อโคมไฟและอุปกรณ์ดักยุง 
การประดิษฐ์แบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 ประดิษฐ์โคมไฟดักยุงจากเมล็ดมะค่า และตกแต่งให้ มีความสวยงาม ตอนที่ 2 ทดสอบการใช้งานของโคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุงที่ประดิษฐ์ขึ้น ผลการศึกษา 
พบว่า โคมไฟเมล็ดมะค่า มีความสวยงาม และสามารถนามาใช้ดักยุงและแมลงได้จริง
20 
กิตติกรรมประกาศ 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาวิธีการประดิษฐ์โคมไฟ 
จากวัสดุธรรมชาติ โดยการนาเอาเม็ดมะค่ามาประยุกต์เพื่อให้เกิดประโยชน์และมีมูลค่า เพื่อลดค่าใช้จ่าย ในการซื้อโคมไฟและอุปกรณ์ดักยุง 
คณะผู้จัดทาโครงงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานนี้คงจะมีประโยชน์กับผู้ที่สนใจ และเป็นแนวคิดใน การประดิษฐ์โคมไฟดักยุงจากวัสดุธรรมชาติ หากการทาโครงงานนี้มีข้อบกพร่อง โปรดชี้แนะเพื่อจะได้นาไป ปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 
ขอขอบพระคุณนายเสรี เปรมปรีดิ์ ผู้อานวยการโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม นางบุศภรณ์ คาแก้ว รองผู้อานวยการโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม ที่ให้การสนับสนุนและเป็นกาลังใจในการจัดทาโครงงานในครั้งนี้ 
ขอขอบคุณ นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล และนางรัชนู บัวพันธ์ ที่ให้คาปรึกษา แนะนา 
ในการจัดทาโครงงานให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีไว้ ณ โอกาสนี้ 
คณะผู้จัดทาโครงงาน
21 
สารบัญ 
เรื่อง หน้า 
บทคัดย่อ ก 
กิตติกรรมประกาศ ข 
สารบัญ ค 
สารบัญตาราง ง 
สารบัญภาพ จ 
บทที่ 1 บทนา 
แนวคิดและที่มาของความสาคัญ 1 
วัตถุประสงค์ 1 
ขอบเขตของโครงงาน 2 
สมมติฐานการทดลอง 2 
การกาหนดตัวแปร 2 
นิยามศัพท์เฉพาะ 2 
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 
ประวัติโคมไฟ 3 
ลักษณะของเมล็ดมะค่า 4 
ลักษณะของยีสต์ 6 
การหาอาหารของยุง 6 
โครงงานที่เกี่ยวข้อง 7 
บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีดาเนินการ 8 
วัสดุอุปกรณ์ 8 
วิธีทดลอง 8 
บทที่ 4 ผลการทดลอง 10 
บทที่ 5 อภิปรายและสรุปผลการทดลอง 12 
บรรณานุกรม 13 
ภาคผนวก
22 
สารบัญตาราง 
เรื่อง หน้า 
ตาราที่ 4.1 แสดงการทดสอบประสิทธิภาพของการดักยุงของดคมไฟเมล็ดมะค่า 11
23 
สารบัญภาพ 
เรื่อง หน้า 
ภาพที่ 4.1 โครงร่างโคมไฟจากเมล็ดมะค่า 10 
ภาพที่ 4.2 โคมไฟจากเมล็ดมะค่าดักยุง 10 
ภาพแสดงขั้นตอนการทาโคมไฟจากเมล็ดมะค่า 15 
ภาพแสดงขั้นตอนการหาประสิทธิภาพการดักยุงของโคมไฟเมล็ดมะค่า 16

Contenu connexe

Tendances

ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3Arisa Srising
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกFah Philip
 

Tendances (20)

ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
 

Similaire à โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า

แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1Fiction Lee'jslism
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินอำนาจ ศรีทิม
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวานBenjawan Punkum
 
แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์PN17
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์Yuporn Tugsila
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์Duangsuwun Lasadang
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานRachaya Smn
 
ฐานการเรียนรู้สวนถาด
ฐานการเรียนรู้สวนถาดฐานการเรียนรู้สวนถาด
ฐานการเรียนรู้สวนถาดPhonpimon Misuwan
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับWanlop Chimpalee
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305คณากรณ์ อุปปิง
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305คณากรณ์ อุปปิง
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Karnchana Duangta
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305Jiraporn
 

Similaire à โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า (20)

11 6
11 611 6
11 6
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
 
ต้นสัก
ต้นสักต้นสัก
ต้นสัก
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวาน
 
แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์
 
3.2 ornamental plant
3.2  ornamental plant3.2  ornamental plant
3.2 ornamental plant
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
 
งานบ้านถวาย
งานบ้านถวายงานบ้านถวาย
งานบ้านถวาย
 
งานบ้านถวาย
งานบ้านถวายงานบ้านถวาย
งานบ้านถวาย
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
 
ฐานการเรียนรู้สวนถาด
ฐานการเรียนรู้สวนถาดฐานการเรียนรู้สวนถาด
ฐานการเรียนรู้สวนถาด
 
ประเภทพลังงานไฟฟ้า
ประเภทพลังงานไฟฟ้าประเภทพลังงานไฟฟ้า
ประเภทพลังงานไฟฟ้า
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับ
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
 

Plus de Chok Ke

Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
Obec awords arb1 57  ล่าสุด3Obec awords arb1 57  ล่าสุด3
Obec awords arb1 57 ล่าสุด3Chok Ke
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4Chok Ke
 
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบนำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบChok Ke
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรChok Ke
 
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1Chok Ke
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรChok Ke
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
วพ.04
วพ.04วพ.04
วพ.04Chok Ke
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
ปก Obec
ปก Obecปก Obec
ปก ObecChok Ke
 
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10Chok Ke
 

Plus de Chok Ke (20)

Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
Obec awords arb1 57  ล่าสุด3Obec awords arb1 57  ล่าสุด3
Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
 
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบนำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
597 02
597 02597 02
597 02
 
วพ.04
วพ.04วพ.04
วพ.04
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
ปก Obec
ปก Obecปก Obec
ปก Obec
 
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
 

โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า

  • 1. บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน โคมไฟ เป็นอุปกรณ์ใช้สาหรับอ่านหนังสือ แต่ปัจจุบันคนไทยนิยมบางคนนาโคมไฟ มาเป็นเฟอร์นิเจอร์ตกแต่งบ้านซึ่งโคมไฟจะมีรูปที่แต่งต่างกันออกไปตามแต่วัสดุที่นามาประดิษฐ์ การผลิต โคมไฟสามารถใช้วัสดุได้หลายชนิด เช่น พลาสติก เหล็ก หรืออะลูมิเนียม ซึ่งมักจะมี ราคาแพง แต่ความเป็น จริงแล้วโคมไฟสามารถผลิตจากวัสดุอย่างอื่นได้ ไม่ว่าจะเป็น กะลามะพร้าว ไม้หรือส่วนประกอบของต้นไม้ เช่น รากไม้ กิ่งไม้ เป็นต้น ซึ่งเมล็ดมะค่า เป็นวัสดุธรรมชาติอีกชนิดหนึ่งที่น่าจะนามาประดิษฐ์เป็นโคมไฟได้ ซึ่งถ้าปล่อยให้หล่นทิ้งไปก็พุพังกลายเป็นเศษไม้เศษดินที่ไม่มีค่า ยุงเป็นพาหะนาโรคต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก มาลาเรีย เท้าช้าง ฯลฯ ซึ่งยุงก้นปล่อง เป็นพาหะนาโรค มาลาเรีย ในประเทศไทยเท่าที่พบในปัจจุบันมียุงก้นปล่องอย่างน้อย 73 ชนิด แต่มีเพียง 3 ชนิดที่เป็นพาหะสาคัญ สังเกตยุงชนิดนี้ได้ง่ายเวลามันเกาะพัก จะยกก้นชี้เป็นปล่อง โคมไฟดักยุงจึงเป็น สิ่งประดิษฐ์ที่สามารถกาจัดและลดปริมาณของยุง โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพของสิ่งแวดล้อม จากเหตุผลดังกล่าว ผู้จัดทาโครงงานจึงคิดประดิษฐ์โคมไฟดักยุงจากเมล็ดมะค่าขึ้นมา เพื่อไว้ใช้เองภายในบ้านและเป็นการน้อมนาแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมาใช้ในชีวิตประจาวัน 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อนาวัสดุเหลือธรรมชาติมาประดิษฐ์เป็นโคมไฟ 2. พัฒนาโคมไฟจากเมล็ดมะค่าให้สามารถดักยุงได้ 3. ทดสอบประสิทธิภาพของโคมไฟดักยุง 1.3 ขอบเขตของโครงงาน 1. ใช้เมล็ดมะค่า แผ่นซีดี ขวดพลาสติกประดิษฐ์โคมไฟดักยุง 2. ใช้ยีสต์ผสมน้าตาลและน้าเป็นตัวล่อแมลงและยุง เท่านั้น 3. ทาการทดลองในโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม และที่บ้านของผู้ทาโครงงาน 1.4 สมมติฐานของการทดลอง ถ้าโคมไฟที่ประดิษฐ์ขึ้นสามารถดักยุงได้ ดังนั้นเมื่อนาโคมไฟที่ประดิษฐ์ขึ้นไปดักยุงจะต้องมียุง ตกอยู่ภายในโคมไฟดักยุงนั้น 1.5 การกาหนดตัวแปร ตัวแปรต้น คือ โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง ตัวแปรตาม คือ จานวนยุงที่ติดภายในโคมไฟ ตัวแปรควบคุม คือ ขนาดและชนิดของหลอดไฟ ขนาดของขวดพลาสติก ปริมาณยีสต์ และน้าตาล
  • 2. 2 1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ โคมไฟดักยุง หมายถึง โคมไฟที่ประดิษฐ์จากเมล็ดมะค่า ภายในมีขวดพลาสติก บรรจุสารล่อยุง เมล็ดมะค่า หมายถึง เมล็ดพืชชนิดหนึ่งที่ได้มาจากฝักหรือผลของต้นมะค่า 1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้โคมไฟเมล็ดมะค่าที่ใช้ดักยุงได้ 2. ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อโคมไฟและอุปกรณ์ดักยุง 3. นักเรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 4. นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพสุจริต
  • 3. 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ประวัติของโคมไฟ นับแต่สมัยโบราณ ยามค่าคืน ไม่มีแสงสว่างจากไฟฟ้า มีเพียงแต่แสงดาว แสงจันทร์ และคบเพลิง ซึ่งจากคบเพลิงไม้ ก็ได้นาไปสู่โคมไฟ เพื่อใช้เป็นแสงสว่างยามค่าคืน โคมไฟถูกสร้างขึ้น น่าจะรับอิทธิพลมา จากประเทศจีน ซึ่งปัจจุบันโคมไฟที่ได้รับความนิยม อันดับต้นๆ เลยก็คือ โคมไฟไม้สัก ซึ่งมีความสวยงาม คงทน แข็งแรง แต่มีความคลาสสิกในตัวของโคมเอง ลักษณะของดวงโคม 1. ดวงโคมไฟเพดานเป็นดวงโคมไฟที่ติดเหนือศีรษะ บริเวณฝ้าเพดาน หรือห้องลงมาจากเพดาน เช่น โคมไฟห้อยเพดานหรือไฟช่อระย้า ที่มีรูปแบบต่าง ๆ ให้เลือกมากมาย ทั้งที่ทาจากแก้ว พลาสติก โลหะ หรือเซรามิค มีทั้งแบบโคมไฟธรรมดา ราคาไม่แพงไปจนถึงโคมไหแชนเดอเลียร์ ที่ประกอบไปด้วยหลอดไฟ เล็ก ๆ มากมาย สวยงาม ให้แสงสว่างและความร้อนมาก กินไฟมาก ราคาแพง ไฟติดเพดาน มีทั้งแบบดวง โคมที่ยึดติดกับฝ้าเพดาน ประกบอไปด้วยที่ครอบ หรือโป๊ะทาจากแก้ว หรือพลาสติกคลุมหลอดไฟเพื่อช่วย ในการกระจายแสง เช่น โคมไฟโป๊ะกลมสาหรับหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ หรือโคมไฟซาลาเปาสาหรับหลอด ไส้ เป็นต้น และแบบที่ติดตั้งโดยเจาะฝ้า เพดานฝังซ่อนดวงโคมไว้ภายใน ที่เราเรียกกันว่า ไฟดาวน์ไลท์ (Down light) ซึ่งให้แสงสว่างได้ดี สามารถเลือกใช้ชนิดของหลอดไห ลักษณะของแสงที่ส่องลงมา และทิศ ทางการส่องของสาแสงได้หลายแบบเป็นได้ทั้งไฟพื้นฐานและไฟสร้างบรรยากาศ 2. ดวงโคมไฟผนังเป็นชนิดที่ใช้ยึดติดกับผนัง มีให้เลือกหลากหลายรูปแบบเช่นกัน การกระจายแสง ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับลักษณะของโป๊ะ มีทั้งแบบให้แสงส่องออกมาตรง ๆ หรือแบบสะท้อนเข้าผนังเพื่อสร้าง บรรยากาศให้กับห้อง เป็นต้น 3. ดวงโคมไฟตั้งพื้น ตั้งโต๊ะ เป็นดวงโคมไฟแบบลอยตัวที่ช่วยในการให้แสงสว่างตามจุดต่าง ๆ เป็น พิเศษ เช่น ในบริเวณที่นั่งอ่านหนังสือโต๊ะทางาน หรือโต๊ะหัวเตียง และยังใช้เป็นของประกอบการตกแต่งใน ห้องชุดร่วมกับชุดเฟอร์นิเจอร์อื่น ๆ อีกด้วย เช่น ชุดรับแขก ชุดทานอาหาร เป็นต้น มีรูปแบบและวัสดุให้ เลือกมากมายหลายหลายราคา 4. ลักษณ์โคมไฟจากเมล็ดมะค่า มีลักษณะเดียวกับโคมไฟตั้งพื้น ตั้งโต๊ะแต่สามารถออกแบบ ได้หลายแบบ สีสันสามารถทาไดหลายสีแต่ที่นิยมคือสีเนื้อไม้ วิธีประดิษฐ์โคมไฟ 1. เลือกรูปปราสาท 2-3 รูป และรูปท้องฟ้ากลางคืนแบบพาโนรามา 2 แผ่น ขนาด A4 แนวนอน 2. ใช้คัตเตอร์กรีดรอบรูปร่างปราสาท ส่วนรูปท้องฟ้าให้ติดเข้าด้วยกันให้ความยาวพอดีกับวงกลม รอบฝากล่องซีดี 3. ทาบรูปปราสาทกับรูปท้องฟ้า ร่างเส้นบางๆ แล้วใช้เข็มกลัดเจาะท้องฟ้าให้เป็นรูเหมือนแสงดาว ส่วนที่ใกล้กับเส้นปราสาทให้เจาะถี่เป็นพิเศษ 4. ตัดกระดาษลังเป็นสี่เหลี่ยมเล็ก ติดกับด้านหลังของรูปปราสาทด้วยกระดาษกาวสองหน้า หลอดไฟ 5. ประกอบขั้วหลอดไฟ หลอดไฟ และปลั๊กไฟเข้าด้วยกัน วิธีการต่อคือต่อขั้วบวกกับขั้วบวกและขั้ว ลบกับขั้วลบ 6. เจาะช่องเล็กๆ ด้านล่างฝากล่องซีดีสาหรับสอดสายไฟ
  • 4. 4 7. ใช้ปืนกาวหรือกาวตราช้างติดขั้วหลอดไฟที่กลางฝากล่องซีดีฐานโคมไฟ 8. ติดกระดาษกาวสองหน้ารอบฝากล่องซีดี จากนั้นติดรูปท้องฟ้ารอบฝาให้เรียบ (ขั้นตอนนี้ต้อง ช่วยกันทา ไม่งั้นเอียงแน่ๆ) 9. ติดปราสาทที่ด้านล่างของโคมไฟ กระดาษลังที่ติดไว้ช่วยให้รูปมีมิติ ยิ่งอยากให้มีมิติมากก็ต้องติด กระดาษซ้อนๆ กัน แล้วเสริมด้วยกระดาษลัง 10. ตกแต่งเรียบร้อยแล้วก็ทาการเสียบหลอดไฟ ก็จะได้ปราสาทสวยๆ ไฟสีสวยๆ ไว้กล่อมนอน ลักษณะของเมล็ดมะค่า มะค่าเป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ผลัดใบ มีความสูงระหว่าง 15-20 เมตร แตกกิ่งต่าเรือนยอดเป็นพุ่ม แผ่กว้าง ตามลาต้นมักเป็นครีบและมักจะมีปุ่มปมตั้งแต่ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ เข้าใจว่าปุ่มนี้เกิดจาก เซลล์มะเร็งที่ทาให้เกิดการพัฒนาผิดไป เปลือกสีน้าตาลอ่อนหรือชมพูอมน้าตาม หรือสีเทา มีรูระบายอากาศ กระจัดกระจาย กระพี้สีขาว หรือขาวอมเหลือง กิ่งอ่อนมีขนคลุมบาง ๆ ใบ เป็นช่อเรียงสลับกัน ช่อใบยาว 18-29 ซม. ก้านช่อใบค่อนข้างสั้น ยาวประมาณ 2 ซม. บนแกนช่อใบมีใบย่อยขึ้นตรงข้ามกันเป็นคู่ ๆ 3-5 คู่ ใบย่อยรูปไข่แกมรูปขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม. ยาว 4-9 ซม. ก้านใบย่อยยาว 3-5 มม. ปลายใบมน มักจะเว้าตื้น ๆ ตรงกลาง โคนใบมนหรือหยักเว้าเข้า เล็กน้อย ใบคู่ล่างจะมีขนาดเล็กกว่าคู่ที่ถัดขึ้นไป ขอบใบเรียบ ดอก สีเขียวอ่อน แต้มสีแดงเรื่อ ๆ ออกเป็นช่อแตกแขนงที่ปลายกิ่ง ยาว 5-15 ซม. มีขนคลุม บาง ๆ ก้านดอกย่อยยาว 7-10 มม. ใบประดับรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 6-9 มม. มีขนประปราย กลีบรองกลีบดอกติดกัน ส่วนบนแยกเป็นกลีบรูปขอบขนาน 4 กลีบ แต่ละกลีบซ้อนทับกัน กลีบยาวประมาณ 10-12 มม. กลีบดอกมีเพียงกลีบบนสุดเพียงกลีบเดียวที่เจริญขึ้นเป็นกลีบดอก สีแดงเรื่อ ๆ หรือแดงอมชมพู ทรงเกือบจะเป็นแผ่นกลม ยาวประมาณ 7-9 มม. ส่วนฐานคอดเข้าหากันเป็น ก้านกลีบดอก ยาว 5-12 มม. เกสรผู้ที่สมบูรณ์มี 8-(3) อัน ก้านเกสรแยกจากกันเป็นอิสระหรือติดกัน เล็กน้อยที่ฐาน เกสรผู้ปลอม 3 อัน ค่อนข้างสั้น รังไข่ ยาวประมาณ 7 มม. มีขนคลุมติดอยู่บนก้านส่งยาวประมาณ 7 มม. ภายในมีช่องเดียว และมีไข่อ่อนมาก ออกดอกระหว่างเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ฝักแก่ประมาณเดือนมิถุนายน-สิงหาคม ผล เป็นฝักแบนรูปบรรทัดสั้น กว้าง 7-10 มม. ยาว 12-20 ซม. เปลือกหุ้มฝักแข็งมาก หนาประมาณ 5-7 มม. เมื่อฝักแก่จะแตกออกเป็น 2 ซีก กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 2.5-4 ซม. หนา 0.8-1.2 ซม. เมล็ดแก่สีดา มีเยื่อหนารูปถ้วย ยาวประมาณ 1.5 ซม. สีเหลืองสด ห่อหุ้มส่วนฐานของเมล็ด กลุ่มสมุนไพร เรียกผลของมะค่าโมงว่า “ฟันฤาษี” ใช้เป็นยาสมุนไพร ลักษณะเนื้อไม้ แก่นสีน้าตาลอมเหลืองอ่อนถึงเหลืองแก่ เสี้ยนค่อนข้างสน เนื้อหยาบมีริ้วแทรก แข็ง เหนียว แข็งแรง และทนทาน เลื่อยค่อนข้างยาก ถ้าแห้งแล้วตบแต่งง่าย ขัดและชักเงาได้ดี ความ ถ่วงจาเพาะประมาณ 0.85 คุณสมบัติ เนื้อไม้มีความแข็งประมาณ 807 กก. ความแข็งแรงประมาณ 1,229 กก./ตร./ซม. ความดื้อประมาณ 101,700 กก./ตร.ซม. ความเหนียวประมาณ 3.8 กก.-ม. การผึ่งและอบ ผึ่งให้แห้งด้วย กระแสอากาศยาก ต้องใช้เวลานาน อบให้แห้งยากปานกลาง ความทนทานตามธรรมชาติตั้งแต่ 6-19 ปี เฉลี่ยประมาณ 10.7 ปี การอาบน้ายาไม้ อาบน้ายาได้ง่าย
  • 5. 5 การขยายพันธุ์ การขยายพันธุ์ที่นิยมและสะดวกที่สุด มักจะขยายพันธุ์จากเมล็ด ซึ่งได้จากฝักแก่ ที่ มีสีน้าตาลแก่เกือบดา ฝักเมื่อแก่จะแตกออก วิธีการเก็บเมล็ดมาเพาะกล้า เก็บฝักโดยการเป็นต้นแล้วลิดกิ่งที่ มีฝักแก่แล้วนามาตากแดด ช่วงเวลาเก็บเมล็ด มกราคม-มีนาคม วิธีปฏิบัติต่อเมล็ด เมล็ดมะค่าโมงมีเปลือกหุ้มเมล็ดที่แข็งมาก จึงควรสับเปลือกเมล็ดตรงส่วนหัว ให้เห็นเนื้อด้านในเล็กน้อย แล้วจึงนาไปแช่น้า 1 คืน จากนั้นจึงนาไปหว่านลงในแปลงเพาะชาซึ่งเป็น ดินปนทราย หรือเพาะลงในถุงพลาสติกซึ่งบรรจุดินในอัตราส่วน 1:1 โดยหว่านเมล็ดให้ห่างกันประมาณ 2-3 ซม. เสร็จแล้วโรยทรายละเอียดกลบเมล็ด โดยให้มีความหนาประมาณ 0.5-1.00 ซม. การให้น้าในแปลง เพาะนั้นในระยะแรกควรให้น้าวันละ 2 ครั้ง (เช้า-เย็น) และควรผสมยาป้องกันเชื้อราด้วย อัตราการงอก ประมาณ 95-100% จากนั้นประมาณ 7-10 วัน เมล็ดก็จะงอก ทาการย้ายชาลงถุงพลาสติก นากล้าไม้ไป เลี้ยงไว้ในเรือนเพาะชาพรางแสงประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ เป็นระยะเวลา 3-4 เดือน ก่อนทาการย้ายปลูก ก่อนการปลูกจาเป็นต้องทาให้กล้าไม้แข็งแรงแกร่งเสียก่อน อย่างน้อย 1-2 สัปดาห์ การใช้ประโยชน์ เนื้อไม้ ใช้ทาเสา ทาไม้หมอนรองรางรถไฟ ใช้ในการก่อสร้างต่าง ๆ ทาเป็นพื้น รอด ตรง และเครื่องบนได้ทนทานและแข็งแรงดี ทาเครื่องเรือนและไม้บุผนังที่สวยงาม ทาเรือใบเดินทะเล และไม้พื้นเรือ ทาไถ คราด ครก สาก กระเดื่อง ลูกหีบ ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเกวียน และตัวถังรถ ใช้ สาหรับกลึง แกะสลัก ทาพานท้ายและรางปืน กลอง โทน รามะนา ด้ามปากกา ปุ่มไม้มะค่ามีลวดลาย สวยงามดีและราคาแพง ใช้ทาเครื่องเรือนและเครื่องใช้ชั้นสูง เฟอร์นิเจอร์ไม้มะค่าโมงได้รับความนิยมสูง เปลือก ให้น้าฝาดชนิด Pyrogalool และ Catechol เมล็ด เนื้อในเมล็ดอ่อนใช้รับประทานเป็นอาหารได้ ลักษณะเมล็ดมะค่า
  • 6. 6 ลักษณะภายในฝักมะค่า ลักษณะของยีสต์ ยีสต์ หรือ ส่าเหล้า (อังกฤษ: yeast) คือ รากลุ่มหนึ่งที่ส่วนใหญ่เป็นเซลล์เดี่ยว มีรูปร่างหลายแบบ เช่น รูปร่างกลม รี สามเหลี่ยม รูปร่างแบบมะนาว ฝรั่ง เป็นต้น ส่วนใหญ่มีการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ โดย วิธีการแตกหน่อ พบทั่วไปในธรรมชาติในดิน ในน้า ในส่วนต่างๆ ของพืช ยีสต์บางชนิดพบอยู่กับแมลง และ ในกระเพาะของสัตว์บางชนิด แต่แหล่งที่พบยีสต์อยู่บ่อยๆ คือแหล่งที่มีน้าตาลความเข้มข้นสูง เช่น น้าผลไม้ ที่มีรสหวาน ยีสต์ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ มักจะปนลงไปในอาหาร เป็นเหตุให้อาหารเน่าเสียได้ ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ที่รู้จักกันมาตั้งแต่สมัยโบราณถึงกับมีผู้กล่าวว่า ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ชนิดแรกที่ มนุษย์นามาใช้ รายงานแรกเกี่ยวกับการใช้ยีสต์ คือการผลิตเบียร์ชนิดหนึ่งที่เรียกว่า Heineken เมื่อ ประมาณ 6,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช คนไทยรู้จักใช้ประโยชน์จากยีสต์มาเป็นเวลานาน เช่นในการทาอาหาร หมักบางชนิด ได้แก่ ข้าวหมาก ปลาแจ่ว เครื่องดองของเมาหลายชนิดเช่น อุ สาโท และกระแช่ เป็นต้น ปัจจุบันมีการนายีสต์มาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมหลายประเภท เป็นต้นว่าการผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ชนิดต่างๆเช่น เบียร์ ไวน์ และวิสกี้ การผลิตเอทิลแอลกอฮอล์เพื่อใช้เป็นสารเคมี และเชื้อเพลิง การผลิต เซลล์ยีสต์ เพื่อใช้เป็นยีสต์ขนมปังและเป็นโปรตีนเซลล์เดียว ยีสต์ เมื่อผสมกับน้าหวานแล้ว จะคายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาในปริมาณเท่ากับ การหายใจออกของคนหนึ่งคน เท่ากับว่าจะมีคนเพิ่มขึ้นมาอีกหนึ่งคนนั่งหายใจออกตลอดเวลา เพื่อคอยดักยุงให้กับห้องของท่าน (ข้อมูลจากที่อ่านเจอในกระทู้พันทิพย์) การหาอาหารของยุง ยุงตัวเมียจะหาเหยื่อจากแก๊สคาบอนไดออกไซด์ (CO2 ) ที่คนเราหายใจออกมา ซึ่งแก๊สที่ออกมา จากปอดเรา คือ คาบอนไดออกไซด์ และยุงตัวเมียสามารถหาเหยื่อได้จากแก๊สนี้ ทาให้ยุงตัวเมียบินเข้าไป อยู่ในขวดได้
  • 7. 7 โครงงานที่เกี่ยวข้อง วรุฑ พรหมราช และคณะ ประดิษฐ์โคมไฟไม้ไอติม มีวัตถุประสงค1. เพื่อกระตุนใหนักเรียน รูจักคิดคนควาและผลิตสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ขั้นพื้นฐาน 2. เพื่อใหเกิด ความรวมมือในการทางานและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ของสมาชิกในกลุม 3. เพื่อสงเสริมความคิดริเริ่มสร างสรรคความมีเหตุผลและใชทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรในการแกปญหา 4. ชวยลดปญหาขยะ ลนโลก อุปกรณที่ใช้ ไมไอติม กาว สายไฟ และเตาเสียบ หลอดไฟ พบว่า ไดโคมไฟที่สวยงามเอาไวใช ในการอานหนังสือหรือทาการบานไดชวยประหยัดคาใชจายในการที่จะตองไปซื้อโคมไฟราคาแพงมาใช และ เปนการใชเวลาวางใหเปนประโยชน์ ณัฐพล เรืองขา และคณะ ประดิษฐ์โคมไฟจากกะลามะพร้าว เพื่อความสะดวกสบายในการ ปิด-เปิด ซึ่งเป็นการสะดวกและรวดเร็วสาหรับคนที่อาศัยอยู่ในชุมชน โดยหาพันธุ์กะลามะพร้าวที่สวยและ เหมาะสมมาทาแล้วนามาประกอบเข้ากันก็เสร็จเรียบร้อย พบว่ากะลามะพร้าวสามารถประดิษฐ์เป็นโคมไฟ ที่สวยงามได้ ศิริวรรณ จันทร์เรือง และคณะ ประดิษฐ์โคมไฟจากขวดพลาสติก เพื่อใช้โปรแกรม Visual Basic 6.0 ในการเปิด-ปิดไฟ พบว่าสามารถประดิษฐ์โคมไฟจากขวดพลาสติกและนามาใช้ได้จริง
  • 8. 8 บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีดาเนินการ วัสดุอุปกรณ์ 1. เมล็ดมะค่า 2. แผ่ซีดีที่ไม่ใช้แล้ว 3. กระป๋องนม 4. กาวแท่ง 5. ปืนกาว 6. ขวดพลาสติก 7. หลอดไฟ 8. เต้าเสียบ 9. น้าตาล 10. น้า 11. ยีสต์ 12. แลกเกอร์ 13. สีน้ามัน วิธีทดลอง ตอนที่ 1 การประดิษฐ์โคมไฟเมล็ดมะค่า 1. นาเมล็ดมะค่ามาล้างทาความสะอาด แล้วผึ่งให้แห้ง 2. นาแผ่นซีดีที่ไม่ใช้แล้วมาตัดตามรูปทรงที่ต้องการแล้วยึดติดกันด้วยกาวเพื่อทาเป็นฐาน ของโคมไฟ 3. นาเมล็ดมะค่ามาจัดเรียงรอบแผ่นซีดีเพื่อขึ้นรูปโคมไฟเมล็ดมะค่า 4. จัดเรียงเมล็ดมะค่าเพื่อทาเป็นโคมไฟแบบสลับ เพื่อทาให้เกิดรูแสง 5. ทาแลกเกอร์ เพื่อทาให้เมล็ดมะค่าเกิดความมันเงา 6. นาหลอดไฟมาติดเข้ากับโคมเมล็ดมะค่า 7. จะได้โคมไฟเมล็ดมะค่า 8. นาขวดพลาสติกมาตัดปากขวดเพื่อใส่สารดักยุง 9. จะได้โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง ดังภาพ
  • 9. 9 ตอนที่ 2 การทดสอบประสิทธิภาพการดักยุงของโคมไฟ 10. จากนั้นผสมน้าตาลกับน้าอุ่น แล้วนาไปผสมกับยีสต์ ใส่ไว้ในขวดพลาสติก แล้วนาไปติดตั้งไว้ ด้านใต้โคมไฟเมล็ดมะค่า 11. นาโคมไฟเมล็ดมะค่าไปทดสอบประสิทธิภาพการดักยุงโดยทาการเปิดโคมไฟแล้วนาไปตั้งไว้ใน มุมบ้านที่มืด สวนหลังบ้าน และในบริเวณป่า เป็นเวลา 30 นาที ทาการทดลองซ้า จานวน 3 ครั้ง 12. สังเกตภายในขวดพลาสติกว่ามียุงติดอยู่ข้างในขวดหรือไม่ 13. นับจานวนยุง และบันทึกผล 14. หาค่าเฉลี่ยของยุงที่ติดภายในขวด
  • 10. 10 บทที่ 4 ผลการทดลอง ตอนที่ 1 การประดิษฐ์โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง จะได้โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง ดังภาพ ภาพที่ 4.1 โครงร่างโคมไฟเมล็ดมะค่า ภาพที่ 4.2 โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง
  • 11. 11 ตอนที่ 2 ทดสอบประสิทธิภาพของการดักยุงของโคมไฟเมล็ดมะค่า เมื่อประดิษฐ์โคมไฟเมล็ดมะค่า เสร็จเรียบร้อยแล้วนามาทดสอบประสิทธิภาพ ของการดักยุงได้ผลดังตาราง ตารางที่ 4.1 แสดงการดักยุงของโคมไฟ สถานที่ ครั้งที่ จานวนยุง (ตัว) ห้องมืด 1 3 2 5 3 3 รวมเฉลี่ย 3.67 ห้องโล่งแจ้ง 1 2 2 1 3 1 รวมเฉลี่ย 1.33 สวนหลังบ้าน 1 8 2 7 3 10 รวมเฉลี่ย 8.33 จากผลการทดลอง เมื่อนาโคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง ไปวางไว้ในห้องมืด พบว่า ในห้องมืด สามารถดักยุงได้เฉลี่ย 3.67 ตัว ห้องโล่งแจ้ง สามารถดักยุงได้เฉลี่ย 1.33 ตัว และในสวนหลังบ้าน สามารถดักยุงได้เฉลี่ย 8.33 ตัว แสดงว่า โคมไฟเมล็ดมะค่าที่ประดิษฐ์ขึ้น นอกจากจะใช้ในการให้ ความสว่างในการมองเห็นแล้ว ยังสามารถใช้ดักยุงได้ด้วย เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
  • 12. 12 บทที่ 5 อภิปรายและสรุปผลการทดลอง อภิปรายผลการทดลอง จากผลการทดลอง พบว่า เมล็ดมะค่าสามารถนาใช้ในการประดิษฐ์โคมไฟได้อย่าง สวยงาม มีความแข็งแรง ทนทาน และเมื่อนาโคมไฟเมล็ดมะค่าไปวางไว้ในห้องมืด ห้องดล่งแจ้ง และสวน หลังบ้านเพื่อดักยุง พบว่า ในห้องมืด สามารถดักยุงได้เฉลี่ย 3.67 ตัว ห้องโล่งแจ้ง สามารถดักยุงได้ เฉลี่ย 3.67 ตัว และในสวนหลังบ้านสามารถดักยุงได้เฉลี่ย 8.33 ตัว แสดงว่า โคมไฟเมล็ดมะค่าที่ ประดิษฐ์ขึ้น นอกจากจะใช้ในการให้ความสว่างในการมองเห็นแล้ว ยังสามารถใช้ดัดยุงได้ด้วย เป็นไปตาม สมมติฐานที่ตั้งไว้ สรุปผลการทดลอง เมล็ดมะค่าสามารถนาใช้ในการประดิษฐ์โคมไฟได้อย่างสวยงาม มีความแข็งแรง ทนทาน และเมื่อนาโคมไฟเมล็ดมะค่าไปวางไว้ในห้องมืด ห้องโล่งแจ้ง และสวนหลังบ้านเพื่อดักยุง พบว่า โคมไฟ เมล็ดมะค่าที่ประดิษฐ์ขึ้น เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ใช้ในการให้ความสว่างในการมองเห็น และสามารถใช้ดักยุง ได้จริง เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
  • 13. 13 บรรณานุกรม ชาตรี เกิดธรรม. เทคนิคการสอนโครงงานวิทยาศาสตร์. ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์. เอกสารอัดสาเนา, 2548. จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย.โรงเรียน.ตัวอย่างบทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์.ชลบุรี. เอกสารอัดสาเนา, 2552. ณัฐพล เรืองขา และคณะ (2555). การทาโคมไฟจากกะลามะพร้าว. เขาถึงไดจาก : http://aphiwatadam.blogspot.com/ (วันที่ คนหาขอมูล : 23 กันยายน 57) วรุฑ พรหมราช และคณะ. (2556).วิธีทาโคมไฟไมไอติม.เขาถึงไดจาก : http://64wooden.blogspot.com/2013/02/blog-post.html. (วันที่ คนหาขอมูล : 23 กันยายน 57) ศิริวรรณ จันทร์เรือง และคณะ. (2555). การทาโคมไฟจากขวดพลาสติก. เขาถึงไดจาก : https://sites.google.com/site/generaleducationlove/home/kickrrm-thi-2 (วันที่คนหาขอมูล : 23 กันยายน 57) สุวิทย์ วรรณศรี. (2554). เทคนิคการทาโครงงานนักเรียน.คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพชรบูรณ์. เอกสารอัดสาเนา. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. เอกสารอัดสาเนา ประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ตามแนวพระราชดาริ เศรษฐกิจพอเพียง,2555.
  • 17. 17 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ เรื่อง โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง โดย 1. นางสาวรัตน์กมล แก้วริ้ว 2. นางสาววีรญา มีไหม 3. นางสาวกรรณิกา อินไข ครูที่ปรึกษา 1. นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล 2. นางรัชนู บัวพันธ์ โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 40 รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เนื่องในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 64 วันที่ 9 – 10 ตุลาคม 2557
  • 18. 18 โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง โดย 1. นางสาวรัตน์กมล แก้วริ้ว 2. นางสาววีรญา มีไหม 3. นางสาวกรรณิกา อินไข ครูที่ปรึกษา 1. นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล 2. นางรัชนู บัวพันธ์ โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 40
  • 19. 19 โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง โดย 1. นางสาวรัตน์กมล แก้วริ้ว 2. นางสาววีรญา มีไหม 3. นางสาวกรรณิกา อินไข ครูที่ปรึกษา นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล นางรัชนู บัวพันธ์ โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม อาเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง เป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิธีการประดิษฐ์โคมไฟจากวัสดุธรรมชาติ นาวัสดุธรรมชาติ มาประยุกต์เพื่อให้เกิดประโยชน์และมีมูลค่าเพิ่มขึ้น และลดค่าใช้จ่ายในการซื้อโคมไฟและอุปกรณ์ดักยุง การประดิษฐ์แบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 ประดิษฐ์โคมไฟดักยุงจากเมล็ดมะค่า และตกแต่งให้ มีความสวยงาม ตอนที่ 2 ทดสอบการใช้งานของโคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุงที่ประดิษฐ์ขึ้น ผลการศึกษา พบว่า โคมไฟเมล็ดมะค่า มีความสวยงาม และสามารถนามาใช้ดักยุงและแมลงได้จริง
  • 20. 20 กิตติกรรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง โคมไฟเมล็ดมะค่าดักยุง จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาวิธีการประดิษฐ์โคมไฟ จากวัสดุธรรมชาติ โดยการนาเอาเม็ดมะค่ามาประยุกต์เพื่อให้เกิดประโยชน์และมีมูลค่า เพื่อลดค่าใช้จ่าย ในการซื้อโคมไฟและอุปกรณ์ดักยุง คณะผู้จัดทาโครงงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานนี้คงจะมีประโยชน์กับผู้ที่สนใจ และเป็นแนวคิดใน การประดิษฐ์โคมไฟดักยุงจากวัสดุธรรมชาติ หากการทาโครงงานนี้มีข้อบกพร่อง โปรดชี้แนะเพื่อจะได้นาไป ปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ขอขอบพระคุณนายเสรี เปรมปรีดิ์ ผู้อานวยการโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม นางบุศภรณ์ คาแก้ว รองผู้อานวยการโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม ที่ให้การสนับสนุนและเป็นกาลังใจในการจัดทาโครงงานในครั้งนี้ ขอขอบคุณ นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล และนางรัชนู บัวพันธ์ ที่ให้คาปรึกษา แนะนา ในการจัดทาโครงงานให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทาโครงงาน
  • 21. 21 สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญตาราง ง สารบัญภาพ จ บทที่ 1 บทนา แนวคิดและที่มาของความสาคัญ 1 วัตถุประสงค์ 1 ขอบเขตของโครงงาน 2 สมมติฐานการทดลอง 2 การกาหนดตัวแปร 2 นิยามศัพท์เฉพาะ 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ประวัติโคมไฟ 3 ลักษณะของเมล็ดมะค่า 4 ลักษณะของยีสต์ 6 การหาอาหารของยุง 6 โครงงานที่เกี่ยวข้อง 7 บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีดาเนินการ 8 วัสดุอุปกรณ์ 8 วิธีทดลอง 8 บทที่ 4 ผลการทดลอง 10 บทที่ 5 อภิปรายและสรุปผลการทดลอง 12 บรรณานุกรม 13 ภาคผนวก
  • 22. 22 สารบัญตาราง เรื่อง หน้า ตาราที่ 4.1 แสดงการทดสอบประสิทธิภาพของการดักยุงของดคมไฟเมล็ดมะค่า 11
  • 23. 23 สารบัญภาพ เรื่อง หน้า ภาพที่ 4.1 โครงร่างโคมไฟจากเมล็ดมะค่า 10 ภาพที่ 4.2 โคมไฟจากเมล็ดมะค่าดักยุง 10 ภาพแสดงขั้นตอนการทาโคมไฟจากเมล็ดมะค่า 15 ภาพแสดงขั้นตอนการหาประสิทธิภาพการดักยุงของโคมไฟเมล็ดมะค่า 16